1 / 24

Lecture 8

Lecture 8. ประเภทของปัจจัยการผลิต. ปัจจัยคงที่ (fixed factor) ปริมาณการใช้ไม่ได้แปรผันตามปริมาณผลผลิต ปัจจัยแปรผัน (variable factor) ปริมาณการใช้แปรผันตามปริมาณผลผลิต ช่วงเวลาการผลิต ระยะสั้น (short run): เปลี่ยนปริมาณปัจจัยคงที่ไม่ได้

dreama
Download Presentation

Lecture 8

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Lecture 8

  2. ประเภทของปัจจัยการผลิตประเภทของปัจจัยการผลิต • ปัจจัยคงที่(fixed factor) • ปริมาณการใช้ไม่ได้แปรผันตามปริมาณผลผลิต • ปัจจัยแปรผัน(variable factor) • ปริมาณการใช้แปรผันตามปริมาณผลผลิต • ช่วงเวลาการผลิต • ระยะสั้น(short run): เปลี่ยนปริมาณปัจจัยคงที่ไม่ได้ • ระยะยาว(long run) : เปลี่ยนปริมาณปัจจัยคงที่ได้

  3. สมการการผลิต(production function) • สมการทางคณิตศาสตร์ที่แสดงปริมาณผลผลิตสูงสุดของสินค้าชนิดหนึ่ง ที่สามารถผลิตได้จากปัจจัยการผลิตที่กำหนดจากเทคโนโลยี • ตัวอย่างของสมการการผลิต • Q = AKaLb ---Cobb-Douglas

  4. ความเข้มในการผลิต(factor intensity) • สัดส่วน K ต่อ L เป็นตัวชี้วัดความเข้มในการใช้ปัจจัยการผลิต • วิธีผลิต 1 จะเป็นวิธีผลิตที่มีความเข้มในปัจจัยทุน(capital intensive) • เปรียบเทียบกับวิธีผลิต 2 และวิธีผลิต 3 • วิธีผลิต 2 เป็นวิธีผลิตที่มีความเข้มในปัจจัยทุน • เมื่อเปรียบเทียบกับวิธีผลิต 3 • ที่มีความเข้มในแรงงานเมื่อเปรียบเทียบกับวิธีผลิต 1

  5. ผลตอบแทนการผลิต • อัตราคงที่(constant returns to scale) • ผลผลิตเพิ่มขึ้นในสัดส่วนเดียวกับปริมาณปัจจัยการผลิต • ผลตอบแทนที่มีอัตราเพิ่มขึ้น(increasing returns to scale) • ผลผลิตเพิ่มขึ้นในอัตราที่สูงกว่าการเพิ่มของปัจจัยการผลิต • ผลตอบแทนที่มีอัตราลดลง(decreasing returns to scale) • ผลผลิตเพิ่มขึ้นในอัตราที่ต่ำกว่าการเพิ่มของปัจจัยการผลิต

  6. เส้นผลผลิตเท่ากัน(isoquant)เส้นผลผลิตเท่ากัน(isoquant) • ตัวอย่าง:ทางเลือกในการผลิต Y ในปริมาณ 10 หน่วย

  7. อัตราการทดแทนส่วนเพิ่มทางเทคนิค(marginal rate of technical substitution) • ปริมาณ K ที่สามารถทดแทนได้ด้วย L 1 หน่วย • ความลาดชันของเส้นผลผลิตเท่ากัน • MRTS ลดลงเมื่อมีการใช้ L ทดแทน K • การทดแทน K ด้วย L ไปเรื่อยๆทำให้ความสามารถในการทำงานของ L ลดลง mrts จึงลดลง • เด็ก 5 คนกับพลั่ว 5 ตัว ขุดทรายได้รวมกัน 10 กิโลกรัม • การลดจำนวนพลั่วแต่เพิ่มจำนวนเด็กทำให้เด็กบางคนต้องขุดทรายด้วยมือ เขาจึงขุดทรายได้น้อยลง • ในที่สุดต้องเพิ่มเด็กในจำนวนที่เพิ่มขึ้น เมื่อลดพลั่วลง 1 ตัว เพราะมีคนใช้มือเพิ่มขึ้น

  8. ความต่อเนื่องของเส้นผลผลิตเท่ากันความต่อเนื่องของเส้นผลผลิตเท่ากัน

  9. การผลิตในระยะสั้น APL = ผลผลิตเฉลี่ยของ LMPL = ผลผลิตส่วนเพิ่มของ LAPK = ผลผลิตเฉลี่ยของ K

  10. การเลือกวิธีผลิตเพื่อใช้ L 15 หน่วย • วิธี 1 K1/L1 = 3 • วิธี 2 K2/L2 = 1 • ข้อจำกัดของ K K1+K2=30 • ข้อจำกัดของ LL1+L2 = 15 • K1 = 22.5 L1 = 7.5 K2 = 7.5 L2 = 7.5

  11. เส้นผลผลิตรวม • ทำไมไม่ใช้วิธี 1 และวิธี 3?

  12. เส้นผลผลิตรวมเมื่อการผลิตมีความต่อเนื่องเส้นผลผลิตรวมเมื่อการผลิตมีความต่อเนื่อง

  13. ผลผลิตรวม ผลผลิตเฉลี่ย และผลผลิตส่วนเพิ่ม • ผลผลิตเฉลี่ย(average product) • ผลผลิตต่อหน่วยของปัจจัยการผลิต • ตัวอย่าง: การผลิต Y 20 หน่วยจาก L 10 หน่วยและ K 30 หน่วย • APL= Y/L = 2 • APK =Y/K = 2/3 • ผลผลิตส่วนเพิ่ม(marginal product) • ผลผลิตที่เพิ่มขึ้นจากการใช้ปัจจัยการผลิตอีก 1 หน่วย • MPLของ L หน่วยที่ 30 หรือ Y/L= 0.5

  14. กฏการลดน้อยถอยลงในการผลิต(law of diminishing returns) • แนวคิดในระยะสั้น

  15. ช่วงการผลิต(stages of production) • ไม่ผลิตในช่วงที่ 3 • ไม่ผลิตในช่วงที่ 1

  16. Lecture 9

  17. การเลือกส่วนผสมของปัจจัยการผลิตการเลือกส่วนผสมของปัจจัยการผลิต • เส้นต้นทุนเท่ากัน isocost • ความลาดชันของเส้น isocost กับเส้น isoquant

  18. ส่วนผสมของปัจจัยการผลิตและปริมาณผลผลิตในระยะสั้นและระยะยาว • Expansion path

  19. ส่วนผสมของปัจจัยการผลิตและราคาปัจจัยการผลิตส่วนผสมของปัจจัยการผลิตและราคาปัจจัยการผลิต • ผลของการทดแทนและผลของปริมาณการผลิต(substitution and output effect)

  20. ระดับการทดแทนระหว่างปัจจัยการผลิต • ปัจจัยการผลิตที่ทดแทนกันไม่ได้เลย

  21. ปัจจัยการผลิตที่ทดแทนกันได้อย่างสมบูรณ์

  22. ความยืดหยุ่นของการทดแทน(elasticity of substitution) • เปอร์เซ็นต์การเปลี่ยนแปลงในสัดส่วนการใช้ K ต่อ L เมื่อมีการเปลี่ยนแปลง 1 เปอร์เซ็นต์ใน MRTS หรือ Pl/Pk • มีค่าตั้งแต่ 0 ถึง อนันต์

  23. ประสิทธิภาพในการผลิต (production efficiency)

  24. เส้นการจัดสรรทรัพยากรและเส้นผลผลิตสูงสุด(ppc)เส้นการจัดสรรทรัพยากรและเส้นผลผลิตสูงสุด(ppc) • marginal rate of transformation(mrt) • ความลาดชันของเส้น ppc • ลดน้ำแร่ dr หน่วย • งบประมาณลดลงdr.MCr บาท • เพิ่มน้ำประปา dp หน่วย • งบประมาณเพิ่ม dp.MCp • dp.MCp = - dr.MCr • -dr/dp=MCp/MCr • ลักษณะของความชัน r dr dp p

More Related