1 / 45

ประธานกรรมการศึกษาระบบการเตือนภัยล่วงหน้า ประธานกรรมการอำนวยการเตือนภัยพิบัติแห่งชาติ

แผนรับมือวิบัติน้ำท่วม กรุงเทพ และ ปริมณฑล. โดย ดร.สมิทธ ธรรมสโรช. ประธานกรรมการศึกษาระบบการเตือนภัยล่วงหน้า ประธานกรรมการอำนวยการเตือนภัยพิบัติแห่งชาติ. GLOBAL WARMING. &. STORM SURGE. STORM SURGE. MAXIMUM STORM SURGE. OFF SHORE WINDS.

dudley
Download Presentation

ประธานกรรมการศึกษาระบบการเตือนภัยล่วงหน้า ประธานกรรมการอำนวยการเตือนภัยพิบัติแห่งชาติ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. แผนรับมือวิบัติน้ำท่วม กรุงเทพ และ ปริมณฑล โดย ดร.สมิทธ ธรรมสโรช ประธานกรรมการศึกษาระบบการเตือนภัยล่วงหน้า ประธานกรรมการอำนวยการเตือนภัยพิบัติแห่งชาติ GLOBAL WARMING & STORM SURGE

  2. STORM SURGE

  3. MAXIMUM STORM SURGE OFF SHORE WINDS

  4. การเกิด Storm Surge หรือพายุที่พัดคลื่นยักษ์ขึ้นสู่ชายฝั่งซึ่งไม่ใช่สึนามิ แต่มีความรุนแรงเกือบเท่ากัน เพราะมีความสูงคลื่น ได้ถึง 5-7 เมตร อาจพัดกวาดเอาผู้คนและบ้านเรือนจำนวนมากลงทะเลไปได้ง่ายดาย ที่เกิดขึ้นที่อ่าวเบงของบังกลาเทศทำให้ผู้คนตายไปแล้วหลายร้อยคน คลื่นยักษ์นี้มักเกิดขึ้นพร้อมพายุหมุน ซึ่งก่อตัวขึ้นในท้องทะเลเขตร้อน มีแนวโน้มว่า Storm Surge จะเกิดขึ้นได้บ่อยครั้งขึ้นและรุนแรงขึ้นเมื่ออุณหภูมิของน้ำทะเลสูงขึ้นน้ำระเหยเป็นไอเหนือท้องทะเลมากขึ้น ทำให้เกิดความกดอากาศสูง ทุกวันนี้มีพลเมืองทั่วโลกถึง1,200 พันล้านคนอาศัยอยู่ในเมืองใหญ่ตามพื้นที่ ชายฝั่งและเกาะเล็กเกาะน้อยต่างๆ ต้องเสี่ยงต่อภัยจากระดับน้ำทะเลที่สูงขึ้นบางส่วนอาจจะเลวลง ถึงขั้นที่อาศัยอยู่ไม่ได้ ต้องมีการอพยพครั้งใหญ่ นอกจากนี้ที่ได้กล่าวไปแล้วยังมีผลพวงต่างๆ เกิดขึ้นตามมาซึ่งจะคุกคามความเป็นอยู่หลายด้านอย่างช้าๆ ได้แก่ การกัดเซาะชายฝั่ง การรุกล้ำของน้ำทะเลเข้าไปในแหล่งน้ำใต้ดินและน้ำจืด การประมงการท่องเที่ยว ชาวกรุงเทพฯ สมุทรปราการ นนทบุรี ปทุมธานี สมุทรสาคร ก็เป็นหนึ่งในจำนวนนั้นด้วย เพราะเมืองเหล่านี้ของไทยตั้งอยู่บนพื้นที่ลุ่มต่ำสามเหลี่ยมปากแม่น้ำ นอกจากจะมีประชากรหนาแน่นแล้ว ยังเป็นหัวใจทางเศรษฐกิจทุกรูปแบบอีกด้วย มีข้อเท็จจริงที่ควรคำนึงถึงคือ ระดับน้ำทะเลที่สูงขึ้น ลมแรงหรือลมที่มีการพัดยาวนานมีความสัมพันธ์กับพายุ สามารถทำให้เกิดคลื่นที่มีขนาดใหญ่และเคลื่อนที่ช้าเรียกว่า Storm Surge ทำให้เกิดน้ำท่วมในบริเวณชายฝั่งที่เป็นที่ลุ่มเราสามารถดึงพลังงานออกจากคลื่นได้

  5. ข้อมูลการทรุดตัวของพื้นดินบริเวณกรุงเทพมหานครและปริมณฑล จากการตรวจสอบของกรมแผนที่ทหารบก

  6. ปริมาณน้ำในกรุงเทพมหานครจะเพิ่มสูงขึ้นจากการเกิดฝนตกหนัก และการเพิ่มของระดับน้ำทะเล

  7. พ.ศ. 2485

  8. พ.ศ. 2485

  9. พ.ศ. 2538

  10. แนวทางและวิธี ป้องกันน้ำท่วมกรุงเทพมหานคร และปริมณฑลในอนาคต

  11. การป้องกันน้ำท่วมบริเวณที่ลุ่มตามชายฝั่งทะเลของประเทศไทยรวมทั้งพื้นที่ของกรุงเทพมหานครและปริมณฑล โดยการสร้างเขื่อนขนาดใหญ่ป้องกันระดับน้ำทะเลที่จะสูงขึ้นเนื่องจากสภาวะโลกร้อนในอนาคต

  12. การป้องกันน้ำท่วมบริเวณที่ลุ่มตามชายฝั่งทะเลของประเทศไทยรวมทั้งพื้นที่ของกรุงเทพมหานครและปริมณฑล โดยการสร้างเขื่อนขนาดใหญ่ป้องกันระดับน้ำทะเลที่จะสูงขึ้นเนื่องจากสภาวะโลกร้อนในอนาคต

  13. สภาพการพังทะลายของการสร้างเขื่อนชั่วคราว ทำให้น้ำท่วมเมือง

  14. สภาพการพังทะลายของการสร้างเขื่อนชั่วคราว ทำให้น้ำท่วมเมือง

  15. สภาพการพังทะลายของการสร้างเขื่อนชั่วคราว ทำให้น้ำท่วมเมือง

  16. สภาพการพังทะลายของการสร้างเขื่อนชั่วคราว ทำให้น้ำท่วมเมือง

  17. สิงคโปร์เล็งศึกษาน้ำท่วมเกาะสิงคโปร์เล็งศึกษาน้ำท่วมเกาะ • สิงคโปร์ – นักวิจัยสิงคโปร์เตรียมศึกษาเหตุน้ำท่วมเกาะหลังรายงานโลกร้อนเตือนน้ำทะเลจะท่วมที่ลุ่มชายฝั่งทั่วโลก หนังสือพิมพ์สเตรท ไทม์ส ของสิงคโปร์ ฉบับบวันเสาร์(7 เม.ย.) รายงานว่าศาสตราจารย์เหลียง ซีอุย และคณะนักวิจัยจากสถาบันวิทยาศาสตร์สัตว์น้ำเขตร้อนของมหาวิทยาลัยแห่งชาติสิงคโปร์ จะใช้เวลาในช่วง 2 ปีข้างหน้าศึกษาผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงสภาพบรรยากาศโลก หลังจากที่รายงานขององค์การสหประชาชาติทำนายว่าจะเกิดเหตุน้ำท่วมบ่อยขึ้น และรุนแรงขึ้นอันเป็นผลจากภัยโลกร้อน โดยจะศึกษาปริมาณฝนตก อุณหภูมิ และทิศทางของกระแสลม พร้อมตรวจสอบข้อมูลย้อนหลังไปปี 2503 เพื่อศึกษาสิ่งที่จะเกิดขึ้นในอนาคต นอกเหนือจากตรวจสอบความมั่นคงแข็งแรงของพื้นที่ลาดบนเกาะทั้งที่อยู่บนฝั่ง และแนวชายฝั่งเพื่อให้เข้าใจถ่องแท้ถึงผลกระทบที่จะเกิดขึ้นกับสิงคโปร์และภูมิภาคนี้อย่างไม่อาจหลีกเลี่ยงได้

  18. คำนำ บรรยากาศที่ห่อหุ้มผิวโลกของเรานั้น เพิ่มความร้อนให้โลกอยู่ทุกขณะ เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงองค์ประกอบในบรรยากาศโดยฝีมือมนุษย์ และการกระทำของมนุษย์ที่ทำให้องค์ประกอบในบรรยากาศเปลี่ยนแปลงไป ซึ่งเห็นชัดได้อยู่ 2 ประการ คือ การตัดไม้ทำลายป่าและการใช้เชื้อเพลิงประเภทฟอสซิลเพิ่มขึ้นอย่างไร้ขอบเขตและขาดโครงสร้างที่ดี ในอนาคตข้างหน้า มนุษย์มีแนวโน้มที่จะเผาผลาญเชื้อเพลิงต่าง ๆ มากขึ้น ซึ่งเป็นสาเหตุให้ก๊าซคาร์บอนไดออกไซค์ในบรรยากาศเพิ่มขึ้นกว่าเดิมเป็นสองเท่าของปัจจุบัน และจะมีผลให้อุณหภูมิของโลกเพิ่มขึ้นอีก 20C มีผลกระทบต่อชีวิต ระบบนิเวศน์ การเกษตร การเกิดอุทกภัย ฯลฯ ขอให้พวกเราพร้อมใจกันงด/หรือลดกิจกรรมดังกล่าวข้างต้น มิฉะนั้น ลูก หลาน เหลน ของเราจะได้รับผลกรรม เสมือนดังตกอยู่ในเตาถ่านมหึมาตลอดชีวิตของพวกเขา (นายสมิทธ ธรรมสโรช)

More Related