1 / 46

กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาเกษตรกร

แนวทางการดำเนินงาน. และสนับสนุนการปฏิบัติงานส่งเสริมการเกษตร. ปี 2554. กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาเกษตรกร. กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาเกษตรกร. วิสัยทัศน์. “เป็นเลิศทางวิชาการ เพื่อสนับสนุนการพัฒนาเกษตรกร และองค์กรเกษตรกร ให้พึ่งพาตนเองได้อย่างยั่งยืน”. โดย นาง วรา รัตน์ ฤาชา

eamon
Download Presentation

กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาเกษตรกร

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. แนวทางการดำเนินงาน และสนับสนุนการปฏิบัติงานส่งเสริมการเกษตร ปี 2554 กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาเกษตรกร

  2. กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาเกษตรกรกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาเกษตรกร วิสัยทัศน์ “เป็นเลิศทางวิชาการ เพื่อสนับสนุนการพัฒนาเกษตรกร และองค์กรเกษตรกร ให้พึ่งพาตนเองได้อย่างยั่งยืน” โดย นางวรารัตน์ ฤาชา ผู้อำนวยการกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาเกษตรกร

  3. พันธกิจ • สนับสนุนส่วนกลางกำหนดทิศทางการพัฒนาเกษตรกรและองค์กรเกษตรกร • สร้างและจัดการองค์ความรู้ การพัฒนาเกษตรกรและองค์กรเกษตรกร • เสริมสร้างกระบวนทัศน์ การทำงานร่วมกันแบบบูรณาการ • สนับสนุนและพัฒนาทักษะบุคลากรจังหวัด อำเภอและเกษตรกร • บริการวิชาการและข้อมูล ตลอดจนสนับสนุนการดำเนินงานส่วนกลาง และจังหวัด

  4. แนวทางการดำเนินงาน • อาชีพ • การบริหารจัดการ • พึ่งพาตนเองได้ เกษตรกรมีความพร้อม • สมาคม, ชมรม • เครือข่าย ส่งเสริมการรวมกลุ่ม • โครงการสายใยรักแห่งครอบครัว • โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการแปรรูปผลผลิตเกษตร • โครงการส่งเสริมและพัฒนาองค์กรเกษตรกร • โครงการส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน • โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการงานส่งเสริมการเกษตร (ขับเคลื่อนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง) • โครงการสร้างและพัฒนาเกษตรกรรุ่นใหม่ • โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการงานส่งเสริมการเกษตร (เกษตรหมู่บ้าน) พัฒนา พัฒนา เกษตรกร ครอบครัวเกษตรกร องค์กรเกษตรกร มีความเข้มแข็งและสามารถพึงพาตนเองได้ • กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร • กลุ่มแม่บ้านเกษตรกร • กลุ่มยุวเกษตรกร • สมาคม, วิสาหกิจชุมชน อาสาสมัครเกษตร, เกษตรหมู่บ้าน, เกษตรกรรุ่นใหม่, เกษตรกรคลื่นลูกใหม่ ส่งเสริมรายบุคคล ส่งเสริมการรวมกลุ่ม เกษตรกร

  5. โครงการสายใยรักแห่งครอบครัวโครงการสายใยรักแห่งครอบครัว

  6. กิจกรรม 1.ส่งเสริมการตลาดผลิตภัณฑ์โครงการฯ 1. งาน 5 ปีสายใยรักแห่งครอบครัวฯ 1 ครั้ง ดำเนินการ เมื่อวันที่ 7-12 ธันวาคม2553 ณ เมืองทองธานี จ.นนทบุรี กลุ่มแม่บ้านสายใยรักแห่งครอบครัวฯเขตที่ 1 เข้าร่วมจำหน่าย สินค้า จำนวน 103 กลุ่ม รายได้รวม 5,045,746 บาท 2. ตลาดนัดโครงการสายใยรักแห่งครอบครัวฯ สถานที่ตลาด อ.ต.ก. จำนวน 12 ครั้ง ๆ ครั้งละ 7 วัน (ทุกวันที่ 28 ของเดือน)

  7. 2. พัฒนาการดำเนินงานโครงการฯ กิจกรรม สัมมนาสมาชิกผู้นำ เป้าหมาย จำนวน 36 คน • การดำเนินงาน • *จังหวัด คัดเลือกสมาชิกผู้นำสายใยรักแห่งครอบครัวฯ จังหวัดละ 4 คน ประกอบด้วย • แม่บ้านสายใยรักแห่งครอบครัวฯ • พ่อบ้านสายใยรักแห่งครอบครัวฯ • ยุวเกษตรกรสายใยรักแห่งครอบครัว *สสข. ดำเนินการสัมมนา จำนวน 2 วัน วันที่ 23-24 ก.พ. 54

  8. โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการแปรรูปโครงการเพิ่มประสิทธิภาพการแปรรูป วัตถุประสงค์ เพื่อเพิ่มช่องทางการจำหน่ายและเชื่อมโยงตลาดสินค้าแปรรูป กิจกรรม การจัดตลาดจำหน่ายสินค้า จำนวน 1 ครั้ง เป้าหมาย กลุ่มแม่บ้านเกษตรกร 9 จังหวัดในเขตที่ 1 การดำเนินงาน จังหวัด คัดเลือกกลุ่มแม่บ้านที่ได้รับมาตรฐาน มผช. อย. ฮาลาล เข้าร่วมจำหน่ายสินค้า แจ้งรายชื่อกลุ่มให้ สสข. สสข. * คัดเลือกกลุ่มเข้าร่วมโครงการ * จัดตลาดจำหน่ายสินค้า จำนวน 5 วัน วันที่ 10-14 มี.ค. 54

  9. โครงการสร้างและพัฒนาเกษตรกรรุ่นใหม่โครงการสร้างและพัฒนาเกษตรกรรุ่นใหม่ วัตถุประสงค์ • เพื่อส่งเสริมและพัฒนาเกษตรกรไทยรุ่นใหม่ให้มีความเข้มแข็งและมีศักยภาพการแข่งขันในการผลิตด้านเกษตรกรรม • เพื่อส่งเสริมและพัฒนาการสร้างเครือข่ายเกษตรกรรุ่นใหม่และเชื่อมโยงเครือข่ายในการพัฒนาด้านเกษตรกรรม

  10. เป้าหมาย แบ่งเป็น 3 ระดับ ได้แก่ • ขั้นพื้นฐาน ประกอบด้วย ทายาทเกษตรกร เยาวชน เยาวชนเกษตร หรือผู้ที่สนใจทำอาชีพเกษตร จังหวัดดำเนินการ • ขั้นกลาง ประกอบด้วย ผู้เริ่มต้นประกอบอาชีพเกษตร นักศึกษาระดับ ปวช. ปวส. หรือปริญญาตรีด้านการเกษตร เขตดำเนินการ วันที่ 5-8 ก.ค. 54 • ขั้นก้าวหน้า ประกอบด้วยเกษตรกรคลื่นลูกใหม่ที่ต้องการดำเนินธุรกิจด้านการเกษตร กรมฯ ดำเนินการ

  11. การดำเนินงาน • กรมจะดำเนินการจัดสัมมนา เดือนมกราคม 2554 เพื่อสร้างหลักสูตรสำหรับการพัฒนาเกษตรกรรุ่นใหม่แบบบูรณาการ จำนวน 3 หลักสูตร • ผู้เข้าร่วมสัมมนา :- กรมส่งเสริมการเกษตร กรมส่งเสริมสหกรณ์ กรมตรวจบัญชีสหกรณ์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช และเกษตรกรรุ่นใหม่ • ติดตาม นิเทศงาน และประเมินผลการดำเนินงาน จังหวัด โดย ส่วนกลาง และสสข.

  12. การสร้างและพัฒนาเกษตรกรรุ่นใหม่การสร้างและพัฒนาเกษตรกรรุ่นใหม่ สัมมนาเชิงปฏิบัติการเพื่อจัดทำหลักสูตรสำหรับการสร้างและพัฒนาเกษตรกรรุ่นใหม่ จัดการฝึกอบรมเกษตรกรรุ่นใหม่ คือ 1) ขั้นพื้นฐาน 2) ขั้นกลาง 3) ขั้นก้าวหน้า ติดตามความก้าวหน้า และรายงานผลดำเนินงาน สมุดบันทึกกิจกรรมฟาร์ม สัมมนาสรุปผลการดำเนินงานการสร้างและพัฒนาเกษตรกรรุ่นใหม่

  13. โครงการส่งเสริมและพัฒนากลุ่มแม่บ้านเกษตรกรโครงการส่งเสริมและพัฒนากลุ่มแม่บ้านเกษตรกร กิจกรรม จัดเวทีเครือข่ายกลุ่มแม่บ้านเกษตรกร จำนวน 9 คน บุคคลเป้าหมาย ประธานกลุ่มแม่บ้านเกษตรกรระดับจังหวัด 9 จังหวัด ในพื้นที่เขตที่ 1 การดำเนินงาน * ประสานงานจังหวัด แจ้งให้บุคคลเป้าหมายเข้าร่วมโครงการ * สสข.จัดเวทีเครือข่าย จำนวน 2 ครั้ง ครั้งละ 1 วัน ครั้งที่ 1 วันที่ 10 ก.พ. 54 ครั้งที่ 2 วันที่ 25 ส.ค. 54

  14. การบริหารจัดการธุรกิจของกลุ่มแม่บ้านเกษตรกรการบริหารจัดการธุรกิจของกลุ่มแม่บ้านเกษตรกร แบบเศรษฐกิจสร้างสรรค์

  15. วัตถุประสงค์ 1. เพื่อพัฒนาความรู้ ความเข้าใจ และทักษะการบริหารจัดการธุรกิจกลุ่มแม่บ้านเกษตรกรแบบเศรษฐกิจสร้างสรรค์ 2. เพื่อเสริมสร้างความรู้ ความสามารถจัดทำแผนกลยุทธ์ทางด้านการตลาดท่องเที่ยวเชิงเกษตร 3. เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และสร้างองค์กรเครือข่ายเชื่อมโยงธุรกิจการท่องเที่ยวเชิงเกษตรของกลุ่มแม่บ้านเกษตรกร

  16. เป้าหมาย เกษตรกร/สมาชิกกลุ่มแม่บ้านเกษตรกร โดยมีสมาชิกกลุ่มไม่ต่ำกว่า 20 คน

  17. วิธีการดำเนินงาน ระดับจังหวัด • จังหวัด/อำเภอ คัดเลือกกลุ่มแม่บ้านเกษตรกรที่มีศักยภาพ เพื่อพัฒนาเป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตร • จังหวัด/อำเภอ ร่วมกับชุมชน และคณะกรรมการกลุ่มแม่บ้านเกษตรกร เลือกคณะกรรมการบริหารแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตร

  18. วิธีการดำเนินงาน ระดับเขต • จัดอบรมให้แก่เจ้าหน้าที่ระดับจังหวัด/อำเภอ และคณะกรรมการบริหารแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตร จำนวน 3 รุ่น รุ่นที่ 1 ได้แก่ ชน. อย. ลพ. สห. สสข. วันที่ 15-16 มี.ค. 54 รุ่นที่ 2 ได้แก่ สบ. อท. วันที่ 19-20 เม.ย. 54 รุ่นที่ 3 ได้แก่ นบ. ปท. กทม. วันที่ 19-20 พ.ค. 54

  19. บุคคลเป้าหมาย

  20. กลุ่มเป้าหมาย

  21. โครงการการส่งเสริมและพัฒนากลุ่มยุวเกษตรกรโครงการการส่งเสริมและพัฒนากลุ่มยุวเกษตรกร

  22. กิจกรรม • พัฒนากลุ่มยุวเกษตรกร • เป้าหมาย 1 อำเภอ 1 กลุ่มยุวเกษตรกร • การดำเนินงาน จังหวัด/อำเภอดำเนินการฝึกกระบวนการกลุ่มยุวเกษตรกร การบริหารกลุ่ม ถ่ายทอดความรู้ และฝึกทักษะด้านการเกษตร/เคหกิจเกษตร และทักษะชีวิต

  23. 2. ส่งเสริมการดำเนินงานคณะกรรมการสภายุวเกษตรกร วัตถุประสงค์ • เพื่อส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้การบริหารจัดการองค์กร (กลุ่มยุวเกษตรกร) • พัฒนาศักยภาพผู้นำองค์กรและสร้างเครือข่ายความร่วมมือ • เพื่อจัดทำแผนการดำเนินการของคณะกรรมการสภายุวเกษตรกรทุกระดับ

  24. การดำเนินงาน 1. การประชุมคณะกรรมการสภายุวเกษตรกร ระดับจังหวัด ผู้เข้าร่วมประชุมเป็นผู้แทนคณะกรรมการกลุ่มยุวเกษตรกร ระดับอำเภอ ๆ ละ 2 ราย • ประกอบด้วยประธานกรรมการ • เลขานุการหรือกรรมการ

  25. การดำเนินงาน 2. การประชุมคณะกรรมการสภายุวเกษตรกร ระดับเขต ผู้เข้าร่วมประชุมประกอบด้วย ผู้แทนคณะกรรมการสภายุวเกษตรกรระดับจังหวัดในเขตพื้นที่จังหวัดละ 3 ราย ได้แก่ • ประธานสภายุวเกษตรกรระดับจังหวัด • ที่ปรึกษายุวเกษตรกร • เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานยุวเกษตรกรระดับจังหวัด สสข.1 กำหนดจัดประชุม จำนวน 2 ครั้ง ดังนี้ ครั้งที่ 1 วันที่ 15 ก.พ. 54 ครั้งที่ 2 วันที่ 16 มิ.ย. 54 3. การประชุมคณะกรรมการสภายุวเกษตรกร ระดับประเทศ

  26. กิจกรรมประกอบด้วย • การบรรยายความรู้ด้านการบริหารจัดการกลุ่มและเครือข่าย • การแลกเปลี่ยนข้อมูลและระดมความคิดเห็นในการการพัฒนากลุ่ม • การเลือกตั้งคณะกรรมการสภายุวเกษตรกร • การวางแผนกิจกรรมการดำเนินงานของกรรมการสภายุวเกษตรกร

  27. โครงการการส่งเสริมองค์กรยุวเกษตรกรกับต่างประเทศโครงการการส่งเสริมองค์กรยุวเกษตรกรกับต่างประเทศ

  28. 1. โครงการฝึกงานยุวเกษตรกรไทยในครอบครัวเกษตรกรญี่ปุ่น ปี 2554 เป้าหมาย(JAEC) 10 คน การดำเนินงาน • จังหวัด ประชาสัมพันธ์ และรับสมัครเยาวชนเกษตร ส่งใบสมัครให้ สสข. ดำเนินการ 30 พ.ย. 2553 • สสข. ดำเนินการคัดเลือก ส่งผลการคัดเลือกให้กรมฯ 2 ธ.ค.2554 • ส่วนกลางสอบสัมภาษณ์และสอบปฏิบัติ 15-17 ธ.ค. 2553 • ผลการสอบคัดเลือก ตัวแทนเยาวชนเกษตรจาก สสข.1 ไม่มีผู้ผ่านการคัดเลือก

  29. 2. โครงการแลกเปลี่ยนยุวเกษตรกรระหว่างประเทศระยะสั้น ปี 2554 ประเทศ(เป้าหมาย) • เกาหลีใต้ - ทีมยุวเกษตรกร 3 สัปดาห์ (จนท. 1 คน ทปษ 1 คน ยุวฯ 2 คน) - ทีมผู้บริหาร 6 วัน (ผู้บริหาร 1 คน จนท. 3 คน) • ญี่ปุ่น - ทีมยุวเกษตรกร 1 เดือน (จนท. 1 คน ทปษ 1 คน ยุวฯ 4 คน - ทีมผู้บริหาร 6 วัน (ผู้บริหาร 1 คน จนท. 3 คน)

  30. วิธีดำเนินการ • สำนักงานเกษตรอำเภอหรือจังหวัด ประชาสัมพันธ์และรับสมัคร เดือนกุมภาพันธ์ - มีนาคม 2554 คัดเลือก (ส่ง สสข.) • สำนักงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร คัดเลือก (ส่งกรมฯ) • กรมส่งเสริมการเกษตร ดำเนินการสอบ • เดินทางเข้าร่วมโครงการ • เกาหลีใต้ กรกฎาคม 2554 • ญี่ปุ่น มิถุนายน 2554

  31. 3. Winter Camp in Korea 2011 การดำเนินงาน • จังหวัดเสนอชื่อยุวเกษตรกร จังหวัดละ 1 คน คุณสมบัติ สุขภาพแข็งแรง สามารถอยู่ในสถานที่อุณหภูมิต่ำกว่า 0 องศาเซลเซียส อยู่ในกลุ่มที่ชนะเลิศระดับประเทศ/เขต • สสข. คัดเลือก เจ้าหน้าที่ เขตละ 1 คน • กรมฯ สอบคัดเลือก วันที่ 30 ธันวาคม 2553

  32. โครงการส่งเสริมและพัฒนาวิสาหกิจชุมชนโครงการส่งเสริมและพัฒนาวิสาหกิจชุมชน ปี 2554

  33. ประชุมคณะกรรมการ/อนุกรรมการ ระดับประเทศ จังหวัด อำเภอ ประชุมคณะกรรมการ/อนุกรรมการ เพิ่มทักษะการฏิบัติงานและบูรณาการ ส.นายทะเบียนฯส.ปรับปรุงระบบประเมินส.บูรณาการฯ สนับสนุนการปฏิบัติงานฯ จัดเวทีเรียนรู้สมาชิก วสช. -ค่าใช้จ่ายในการเก็บข้อมูล-ระบบสารสนเทศ-ติดตาม ประเมินผล Output สมาชิกวิสาหกิจชุมชนผ่านกระบวน การเรียนรู้ 17,600 ราย ส่งเสริมการจัดทำแผน&พัฒนาทักษะการผลิตและตลาด Outcome -สมาชิก วสช.ที่ผ่านกระบวนการเรียนรู้สามารถนำความรู้ไปใช้ในกิจการได้ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 65 -กรรมการ อนุฯ บูรณาการส่งเสริมได้อย่างมี ปสภ.

  34. ประชุมคณะกรรมการ/อนุกรรมการประชุมคณะกรรมการ/อนุกรรมการ

  35. การประชุมกรรมการ/อนุกรรมการการประชุมกรรมการ/อนุกรรมการ วัตถุประสงค์ เพื่อให้เป็นกลไกสนับสนุนการบูรณาการส่งเสริมวิสาหกิจชุมชนอย่างมีประสิทธิภาพ 1.1 ประชุมคณะกรรมการส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน 2 ครั้ง 1.2 ประชุมคณะกรรมการประสานนโยบายกองทุน เพื่อพัฒนากิจการวิสาหกิจชุมชน 1 ครั้ง 1.3 ประชุมคณะอนุกรรมการส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน ระดับประเทศ6 ครั้ง ส่วนกลาง

  36. การประชุมกรรมการ/อนุกรรมการการประชุมกรรมการ/อนุกรรมการ วัตถุประสงค์ เพื่อให้เป็นกลไกสนับสนุนการบูรณาการส่งเสริมวิสาหกิจชุมชนอย่างมีประสิทธิภาพ 1.4 ประชุมคณะกรรมการส่งเสริมวิสาหกิจชุมชนจังหวัด จังหวัดละ 2 ครั้ง 1.5 ประชุมคณะอนุกรรมการส่งเสริมวิสาหกิจชุมชนจังหวัด จังหวัดละ 2 ครั้ง 1.6 ประชุมคณะอนุกรรมการส่งเสริมวิสาหกิจชุมชนอำเภอ อำเภอละ 2 ครั้ง 1.7 ประชุมคณะกรรมการส่งเสริมและพัฒนาวิสาหกิจ ชุมชน ส่วนกลาง 3 ครั้ง / เขต 3 ครั้ง จังหวัด/เขต

  37. เพิ่มทักษะการปฏิบัติงานและบูรณาการเพิ่มทักษะการปฏิบัติงานและบูรณาการ

  38. 1.8 สัมมนาบูรณาการงานส่งเสริม วสช. ดำเนินการโดย สลคช. จำนวน 1 ครั้ง วัตถุประสงค์ เพื่อบูรณาการงานส่งเสริม วสช.ระหว่างหน่วยงานภาคี และเสนอแนวทางต่อคณะกรรมการฯ 1.9 สัมมนาปรับปรุงระบบการประเมินฯ ดำเนินการโดย สลคช. จำนวน 1 ครั้ง วัตถุประสงค์ เพื่อระดมความคิดเห็นในการปรับปรุงระบบและแบบประเมินศักยภาพ วสช.

  39. 1.10 สัมมนาเพิ่มทักษะการปฏิบัติงาน นายทะเบียนวิสาหกิจชุมชน ดำเนินการโดย สสข. 1 - 6 วัตถุประสงค์ เพื่อให้เกษตรอำเภอมีทักษะในการทำหน้าที่นายทะเบียนวิสาหกิจชุมชน ให้สามารถขับเคลื่อน ประสานการส่งเสริมวิสาหกิจชุมชนในพื้นที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ วิธีการดำเนินงาน - เกษตรอำเภอ/รักษาการ เตรียมประเด็นปัญหาอุปสรรค ข้อเสนอแนะ ข้อกฎหมาย/ระเบียบ การจดทะเบียน การบูรณาการส่งเสริมวิสาหกิจชุมชนในพื้นที่ เพื่อร่วมอภิปรายและแลกเปลี่ยนประสบการณ์

  40. สนับสนุนการปฏิบัติงานส่งเสริมวิสาหกิจชุมชนสนับสนุนการปฏิบัติงานส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน

  41. 1.11 ค่าใช้จ่ายในการเก็บข้อมูลระบบสารสนเทศวิสาหกิจชุมชน วัตถุประสงค์ เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานการจัดเก็บข้อมูลระบบสารสนเทศวิสาหกิจชุมชนของสำนักงานเกษตรอำเภอ 1.12 ค่าดูแลระบบและพัฒนาโปรแกรมสารสนเทศวิสาหกิจชุมชน 1.2 ติดตามและประเมินผลโครงการ รวมอยู่ในระบบติดตามประเมินผลของกรมฯ

  42. พัฒนากระบวนการเรียนรู้สมาชิกวิสาหกิจชุมชนพัฒนากระบวนการเรียนรู้สมาชิกวิสาหกิจชุมชน

  43. ส่งเสริมการจัดทำแผนพัฒนาวิสาหกิจชุมชน และพัฒนาทักษะด้านการผลิตและการตลาดแก่สมาชิก วสช. วัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมการจัดเวทีเรียนรู้ของสมาชิก วสช.ให้สามารถค้นหาศักยภาพและจัดทำแผนพัฒนากิจการวิสาหกิจชุมชน ดำเนินการโดย สำนักงานเกษตรจังหวัด/อำเภอ วิธีการดำเนินงาน -เป้าหมาย 1,760 วสช. (1,760 วสช. x 10 ราย x 1 ครั้ง x 2 วัน x 200 บาท)

  44. วิธีการดำเนินงาน - การจัดสรรเป้าหมาย 1) เป้าหมายขั้นต้น อำเภอ/เขต ละ 1 แห่ง และ 2) อำเภอ ซี 8 เพิ่มอีกอำเภอละ 1 แห่ง และ 3) จัดสรรตามจำนวน วสช.ที่จดทะเบียน โดยให้จังหวัดพิจารณาจัดสรรให้แต่ละอำเภอเพิ่มเติมตามความเหมาะสม - การคัดเลือกเป้าหมาย ใช้หลักเกณฑ์ตามคู่มือโครงการและประสานกับ สนง.ตรวจบัญชีสหกรณ์จังหวัด เพื่อกำหนดเป้าหมายการทำงานร่วมกันด้วย - จังหวัดแจ้งรายชื่อ วสช. เป้าหมายให้ สลคช.ภายใน 31 ม.ค.54 ( E-mail : sceb10@doae.go.th)

  45. วิธีการดำเนินงาน - ให้เชิญหน่วยงานภาคีที่เกี่ยวข้องมีส่วนร่วมในการจัดเวทีการเรียนรู้ ฯ - อำเภอ จังหวัด เสนอแผนการพัฒนาประสานภาคีที่เกี่ยวข้อง โดยใช้การประสานโดยตรง หรือกลไกอนุกรรมการ/กรรมการ - บันทึกผลการดำเนินงานในระบบสารสนเทศ และรายงานผลการดำเนินงานต่ออนุกรรมการ/กรรมการตามลำดับ

  46. สวัสดี

More Related