1 / 38

รูปแบบการวิเคราะห์และการจัดการความเสี่ยง จากการทำงานในการบริการด้านสูติกรรม โรงพยาบาลโพธาราม

รูปแบบการวิเคราะห์และการจัดการความเสี่ยง จากการทำงานในการบริการด้านสูติกรรม โรงพยาบาลโพธาราม. โดย น.พ.พงษ์พจน์ ธีรานันตชัย นายแพทย์ 7 กลุ่มงานสูติ - นรีเวชกรรม. สืบเนื่องจาก …. ระบบการจัดการอาชีวอนามัย และความปลอดภัย : มอก 18001 ผนวกกับ...

Download Presentation

รูปแบบการวิเคราะห์และการจัดการความเสี่ยง จากการทำงานในการบริการด้านสูติกรรม โรงพยาบาลโพธาราม

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. รูปแบบการวิเคราะห์และการจัดการความเสี่ยง จากการทำงานในการบริการด้านสูติกรรมโรงพยาบาลโพธาราม โดย น.พ.พงษ์พจน์ ธีรานันตชัย นายแพทย์ 7 กลุ่มงานสูติ - นรีเวชกรรม

  2. สืบเนื่องจาก ….. • ระบบการจัดการอาชีวอนามัย และความปลอดภัย : มอก 18001 ผนวกกับ... • ระบบพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาล : Hospital Accreditation :HA

  3. การจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย(มอก.18001)การจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย(มอก.18001) • 1. เพื่อลดความเสี่ยง อันตรายของผู้ปฏิบัติงานและผู้เกี่ยวข้อง ทำให้เกิดความปลอดภัยในการทำงาน • 2. เพิ่มประสิทธิภาพการดำเนินงานของโรงพยาบาล • 3. แสดงความรับผิดชอบของชาวโรงพยาบาลที่มีต่อสังคม

  4. ผู้อำนวยการ ประกาศนโยบายอา ชีวอนามัยและความปลอดภัย (ฉบับ 27 ธค.43) ทีมงานทบทวนสถานะเริ่มต้นและทบทวนกฏหมายทีเกี่ยวข้อง หน่วยงานบ่งชี้อันตรายและความเสี่ยงจากการทำงานของทุกงาน จัดทำแผนลดความเสี่ยงที่สำคัญ คือ ระดับ3 ปฏิบัติตามแผนงาน ควบคุมการปฏิบัติ และเฝ้าระวังวัดผลการทำงาน ในทุกกลุ่มที่เกี่ยวข้อง ทบทวน ปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง ขั้นตอนดำเนินการ

  5. องค์ประกอบของระบบการจัดการอาชีวอนามัย และความปลอดภัย การปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง การทบทวน สถานะเริ่มต้น การกำหนดนโยบายอาชีว อนามัยและความปลอดภัย การทบทวนการจัดการ การวางแผน การตรวจสอบและแก้ไข การนำไปใช้และการปฏิบัติ

  6. วัตถุประสงค์ของการศึกษาวัตถุประสงค์ของการศึกษา • เพื่อประเมินความเสี่ยงจากการทำงานและหารูปแบบการจัดการความเสี่ยงจากการทำงานในงานบริการสูติกรรม • เพื่อประเมินผลการดำเนินงานและสรุปรูปแบบการจัดการความเสี่ยงจากการทำงานในงานบริการสูติกรรม

  7. ขอบเขตการศึกษา ศึกษาครอบคลุมงานบริการสูติกรรมตั้งแต่งานฝากครรภ์ วางแผนครอบครัว งานห้องคลอด และหลังคลอด วิธีดำเนินการ รูปแบบการศึกษา เป็นการศึกษาวิจัยและพัฒนา Research and Development

  8. ขั้นตอนการดำเนินงาน 1.การสร้างความตระหนักด้านความปลอดภัยและรับทราบนโยบาย หน่วยงาน 2.การวิเคราะห์และประเมินความเสี่ยงจากกิจกรรมการบริการด้านสูติกรรมและจากการสำรวจพื้นที่ปฏิบัติงานเพื่อพิจารณาการแก้ไข 3.การจัดการความเสี่ยง 4.การศึกษาผลการดำเนินการ 5.สรุปรูปแบบการจัดการความเสี่ยง ดำเนินการศึกษาเป็น 5 ระยะ ตามลำดับ - จัดทำแผน/โครงการปฏิบัติงานควบคุมความเสี่ยง - ดำเนินการตามแผน/โครงการที่กำหนด - ประเมินผลจัดการความเสี่ยง - จัดทำรูปแบบ (Model)การดำเนินงานการจัดการความเสี่ยง - การจำแนกกิจกรรมของงานและสำรวจพื้นที่ - การชี้บ่งอันตรายและความเสี่ยง ประมาณระดับความเสี่ยง - การจัดลำดับระดับความเสี่ยงเพื่อพิจารณาการแก้ไข - ประกาศนโยบาย - สื่อสารในองค์กร - อบรมกระตุ้นจิต สำนึก

  9. การเก็บรวบรวมข้อมูลและเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยการเก็บรวบรวมข้อมูลและเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เก็บรวบรวมข้อมูลจาก 2 ส่วน ได้แก่ 1. การวิเคราะห์ รวบรวมความเสี่ยง ตามขั้นตอนการดำเนินระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัยโดยใช้การจำแนกกิจกรรมและใช้การเดินสำรวจพื้นที่ (Walk through survey) ในการชี้บ่งอันตรายด้านสถานที่ปฏิบัติงาน(FR-RIS-01) รวมทั้งเกณฑ์การจัดลำดับระดับความเสี่ยง ส่วนการจัดการความเสี่ยงใช้แนวคิดการพัฒนาคุณภาพตามกระบวนการพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาลร่วมกับแนวคิดตามระบบ มอก. 18001 ต่อการจัดการความเสี่ยง

  10. 2.ใช้แบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น เป็นแบบสอบถามปลายปิดชนิดมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ จำนวน 15 ข้อ และคำถามปลายเปิด ให้แสดงความคิดเห็นเพิ่มเติม 1 ข้อ แบบสอบถาม พิจารณาความเที่ยงตรง โดยที่ปรึกษาระบบมอก.18001 การวิเคราะห์ผล โดยโปรแกรมสำเร็จรูป SPSS / PC ใช้สถิติเป็นค่าเฉลี่ยร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

  11. ผลการดำเนินงาน 1.การสร้างความตระหนักด้านความปลอดภัยและรับทราบนโยบาย หน่วยงาน 2.การวิเคราะห์และประเมินความเสี่ยง 3.การจัดการความเสี่ยง 4.การศึกษาผลการดำเนินการ 5.สรุปรูปแบบการจัดการความเสี่ยง

  12. 1.การสร้างความตระหนักด้านความปลอดภัยและรับทราบนโยบาย หน่วยงาน • ส่งเจ้าหน้าที่ทุกคนเข้ารับการอบรมเรื่องการบริหารความเสี่ยงในโรงพยาบาล ส่วนขั้นตอนการวิเคราะห์ ประเมิน ความเสี่ยง การจัดการความเสี่ยง ผู้เข้ารับการอบรม นำมาถ่ายทอดในกลุ่มงาน • เผยแพร่นโยบายอาชีวอนามัยและความปลอดภัยของรพ. ให้เจ้าหน้าที่ทุกคนรับทราบ

  13. 2.การวิเคราะห์และประเมินความเสี่ยง2.การวิเคราะห์และประเมินความเสี่ยง • จากกิจกรรมการบริการด้านสูติกรรมและจากการสำรวจพื้นที่ปฏิบัติงาน ใช้วิธีระดมสมอง และดำเนินการโดยใช้แบบรายการตำแหน่งงานและรายการงานที่รับผิดชอบ • นำข้อมูลความเสี่ยงมาวิเคราะห์ตามแนวทางระบบ มอก.18001

  14. โดย 1. ใช้เกณฑ์โอกาสที่จะเกิดอันตราย (SD-RIS-02) 10 ข้อ โดยคิด เป็น % และ 2. ประเมินความรุนแรง เป็น 3 ระดับ มาก,ปานกลาง,น้อย 3.ประมาณระดับความเสี่ยง โดยนำเข้าตาราง SD-RIS-04 ซึ่งจะได้ ความเสี่ยงเป็น 5 ระดับ

  15. ระดับ 1 หมายถึง ความเสี่ยงที่ไม่อาจยอมรับได้ ( ต้องดำเนินการแก้ไขทันทีที่พบ ) ระดับ 2 หมายถึง ความเสี่ยงสูง (ดำเนินการแก้ไขเร่งด่วนโดยไม่ต้องรอจัดทำแผน ) ระดับ 3 หมายถึง ความเสี่ยงปานกลาง (มีแผนการดำเนินการแก้ไข ) ระดับ 4 หมายถึง ความเสี่ยงยอมรับได้ ( มีการเฝ้าติดตามไม่ให้ความเสี่ยงเพิ่มระดับขึ้น ) ระดับ 5 หมายถึง ความเสี่ยงเล็กน้อย ( ยังไม่ต้องแก้ไข )

  16. การประมาณระดับความเสี่ยงการประมาณระดับความเสี่ยง โอกาสเกิด ความรุนแรงของอันตราย อันตราย มาก ปานกลาง น้อย มาก ความเสี่ยงที่ไม่อาจ ความเสี่ยงสูง ความเสี่ยงปานกลาง ยอมรับได้ (1) (2) (3) ปานกลาง ความเสี่ยงสูง ความเสี่ยงปานกลาง ความเสี่ยงยอมรับได้ (2) (3) (4) น้อย ความเสี่ยงปานกลาง ความเสี่ยงยอมรับได้ ความเสี่ยงเล็กน้อย (3) (4) (5)

  17. การประมาณความเสี่ยงของหน่วยบริการสูติกรรม ( ตัวอย่าง ) งานที่รับผิดชอบ หรือ ผลสำรวจพื้นที่ 1.การตรวจร่างกาย 2. การตรวจ NST 3. การให้เลือด แหล่งกำเนิน อันตราย เครื่องมือ ไม่สะอาด ไฟฟ้า เข็ม ผู้ได้รับอันตราย ผู้ป่วย ผู้ป่วย เจ้าหน้าที่ ผู้ปฏิบัติ โอกาสเกิด ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง ระดับความเสี่ยง 3 3 3 สาเหตุ/ผลกระทบ หูฟัง,cuff วัดความดัน ใช้ร่วมกัน อาจเกิดไฟฟ้าลัดวงจร ,ไฟฟ้าชอ็ต เข็มตำ โอกาสเกิด *อันตราย (%) 50.00 50.00 66.67 ระดับความรุนแรง ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง

  18. การประมาณความเสี่ยงของหน่วยบริการสูติกรรม ( ตัวอย่าง ) สาเหตุ/ผลกระทบ หื้นต่างระดับ ลื่นหก ล้ม ถูกร้องเรียน ฟ้องร้อง การระเบิด อัคคีภัย งานที่รับผิดชอบ หรือ ผลสำรวจพื้นที่ 4.ทางเดินตึก 5.การรักษาพยาบาล 6.การให้ O2 แหล่งกำเนิด อันตราย พื้นต่างระดับ การรักษา/ ปฏิบัติผิดพลาด แรงดัน O2 ผู้ได้รับอันตราย ผู้ป่วย เจ้าหน้าที่ เจ้าหน้าที่ ผู้ป่วย ญาติ เจ้าหน้าที่ ระดับความรุนแรง ปานกลาง มาก มาก ระดับ ความเสี่ยง 3 3 3 โอกาสเกิด *อันตราย (%) 60.00 44.44 44.44 โอกาสเกิด ปานกลาง น้อย น้อย

  19. ความเสี่ยงของกลุ่มงานสูติกรรมความเสี่ยงของกลุ่มงานสูติกรรม • ความเสี่ยงทั้งหมด 293 ข้อ (รพ. 7,431ข้อ) • ระดับ 3 จำนวน 31 ข้อ (ร้อยละ 10.6) • ระดับ 4 จำนวน 119 ข้อ (ร้อยละ 40.6) • ระดับ 5จำนวน 143 ข้อ (ร้อยละ 48.8) • ระดับ 1 ,2 ไม่มี

  20. การดำเนินการจัดการความเสี่ยงระดับ 3นำมาปรับปรุง แก้ไข และป้องกันการเกิดอันตราย โดยจัดกลุ่มตามภาวะความเสี่ยง 1.ภาวะติดเชื้อและอันตราย 1.1 การเตรียมของใช้ไม่สะอาด / ไม่พร้อม 1.2 เทคนิคการให้บริการ เช่น ให้ยาผิด ฉีดยาถูกเส้นประสาท อันตรายจากการทำ Umbilical cath / cut down ไม่ชำนาญ / ผู้ป่วยตกเตียงจากการเคลื่อนย้าย ผู้ได้รับอันตราย : ผู้ป่วย

  21. การดำเนินการแก้ไข 1.1 จัดทำแผนป้องกันการติดเชื้อและอันตรายต่อผู้ป่วยและเจ้าหน้าที่ โดยเน้นเรื่อง การจัดเตรียมของใช้ที่สะอาด พร้อมใช้งาน การจัดทำคู่มือในการให้บริการเพิ่มเติม และเน้นการปฏิบัติในคู่มือที่มีอยู่เดิม ผู้รับผิดชอบ : แพทย์และพยาบาลหัวหน้างานสูติกรรม 1.2 นิเทศการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ใหม่ และเจ้าหน้าที่ระดับรอง และให้คำแนะนำการปฏิบัติงาน ผู้รับผิดชอบ : พยาบาลตรวจการและหัวหน้าเวร

  22. การดำเนินการจัดการความเสี่ยงระดับ 3 2. การเกิดไฟฟ้าดูด และไฟฟ้ารั่ว จากการใช้อุปกรณ์ไฟฟ้าทุกประเภทและอุปกรณ์การแพทย์ เช่น Vacuum / Ultrasound / เครื่อง Suction / Warmer ผู้ได้รับอันตราย : ผู้ป่วย 2.1 มีระบบตรวจสอบ และแก้ไขอุปกรณ์ที่ใช้ไฟฟ้าทุกประเภท ให้อยู่ในสภาพพร้อมใช้งาน ผู้รับผิดชอบ : พยาบาลวิชาชีพ การดำเนินการแก้ไข

  23. การดำเนินการจัดการความเสี่ยงระดับ 3 3. การเกิดอันตรายจากเทคนิคการให้บริการ เช่นถูกของมีคม บาด ทิ่ม ตำ ผู้ได้รับอันตราย : เจ้าหน้าที่ 3.1 ประชุมเจ้าหน้าที่หน่วยงาน ทบทวนเรื่องการปฏิบัติงานที่ปลอดภัย ผู้รับผิดชอบ : หัวหน้างานสูติกรรม การดำเนินการแก้ไข

  24. การดำเนินการจัดการความเสี่ยงระดับ 3 4. การเกิดอุบัติเหตุจากสิ่งแวดล้อมในการทำงาน เช่นล้มเนื่องจากพื้นต่างระดับ พื้นลื่นจากการใช้เครื่องปรับอากาศที่มีน้ำหยด ผู้ได้รับอันตราย : เจ้าหน้าที่ และผู้ป่วย 4.1 จัดทำป้ายสัญลักษณ์เตือน (Safety signs) 4.2 ดำเนินการแก้ไข และจัดทำระบบบำรุงรักษาเครื่องปรับอากาศ ผู้รับผิดชอบ : หัวหน้างานสูติกรรม และฝ่ายโสตฯ หัวหน้างานซ่อมบำรุง และเจ้าหน้าที่ทุกคน การดำเนินการแก้ไข

  25. การดำเนินการจัดการความเสี่ยงระดับ 3 5. การถูกร้องเรียนหรือฟ้องร้อง จากการปฏิบัติงานผิดพลาด ผู้ได้รับอันตราย : เจ้าหน้าที่ 5.1 ศึกษาทบทวน “คำประกาศสิทธิผู้ป่วย” 5.2 ร่วมประชุมการจัดตั้งและดำเนินการคณะกรรมการ Risk management โดยเน้นการแก้ไข และป้องกันการเกิดปัญหา ผู้รับผิดชอบ : หัวหน้ากลุ่มงานสูติกรรม การดำเนินการแก้ไข

  26. การดำเนินการจัดการความเสี่ยงระดับ 3 6.การเกิดอัคคีภัย หรือการระเบิด เช่น จากการใช้ O2 ถัง LPG ล้ม ผู้ได้รับอันตราย : เจ้าหน้าที่ และผู้รับบริการ 6.1 จัดทำระบบการบำรุงรักษาอุปกรณ์ป้องกันอัคคีภัย 6.2 จัดทำและฝึกซ้อมแผนป้องกันอัคคีภัยในหน่วยงานและแผน ระดับรพ. ผู้รับผิดชอบ : พยาบาลวิชาชีพ การดำเนินการแก้ไข

  27. การดำเนินการจัดการความเสี่ยงระดับ 4ดำเนินการเฝ้าระวังเพื่อควบคุมไม่ให้ความเสี่ยงมีโอกาสหรือความรุนแรงเพิ่มขึ้น โดย - การตรวจสอบการควบคุมการปฏิบัติ ตามแบบรายงานผลการควบคุมการปฏิบัติ *การสร้างระบบรายงานผล โดยใช้ระบบการรายงานอุบัติเหตุ อุบัติการณ์ และเหตุการณ์เกือบเกิดอุบัติเหตุ ( near miss)

  28. ผลการศึกษาการดำเนินการ ( 6 เดือน ) 1.การลดระดับความเสี่ยงจากการทำงาน 1) ภาวะติดเชื้อ และอันตราย ไม่พบอุบัติการณ์การเตรียมของไม่สะอาด / ไม่พร้อม ไม่พบอุบัติการณ์ที่เกิดจากเทคนิคการให้บริการ เรื่องการให้ยาผิด ฉีดยาถูกเส้นประสาท และภาวะแทรกซ้อนจากหัตถการต่างๆ

  29. ผลการศึกษาการดำเนินการ ( 6 เดือน ) 2) มีระบบการบำรุงรักษาอุปกรณ์ไฟฟ้า ที่ครอบคลุมมากขึ้น มีผลการส่งซ่อมอุปกรณ์ไฟฟ้าที่ชำรุด และไม่มีรายงานผู้ได้รับอันตรายจากการใช้อุปกรณ์ไฟฟ้า 3) มีการใช้ระบบสัญลักษณ์เตือนภัยที่เป็นสากล เช่น พื้นต่างระดับ ทางหนีไฟ การระมัดระวังการเกิดอัคคีภัย

  30. ผลการศึกษาการดำเนินการ ( 6 เดือน ) 4) มีการดำเนินการที่เน้นกิจกรรมตอบสนองตามคำประกาศสิทธิผู้ป่วยที่ชัดเจนเป็นรูปธรรมมากขึ้น และไม่พบข้อร้องเรียนจากผู้รับบริการ 5) มีระบบการรายงานอุบัติเหตุอุบัติการณ์ รวมทั้งมีการพัฒนาระบบการจัดเก็บข้อมูลเพื่อนำมาใช้ในการป้องกันการเกิดปัญหาที่พบบ่อย หรือรุนแรงไม่ให้เกิดซ้ำ 6) มีการรายงานผลการบำรุงรักษา ระบบป้องกันการเกิดอัคคีภัย รายงานผลการฝึกซ้อม แผนระวังอัคคีภัย และไม่มีอุบัติการณ์การเกิดอัคคีภัย

  31. ผลการศึกษาการดำเนินการ ( 6 เดือน ) 2.ความคิดเห็นและความตระหนักของเจ้าหน้าที่ต่อระบบการจัดการความเสี่ยงจากการทำงาน โดยใช้แบบสอบถามแบบ rating scale 5 ระดับ • ตระหนักต่อความสำคัญของการจัดการความปลอดภัยในระดับปานกลาง ค่อนข้างสูง คือร้อยละ 77.4 ( X = 38.70 , SD = 4.45 คะแนนเต็ม 50 ) โดยประเด็นที่เห็นความสำคัญมากที่สุด คือ การจัดการความเสี่ยงต้องครอบคลุมทั้งต่อเจ้าหน้าที่และผู้รับบริการ ( X = 4.33 , SD = 0.655) รองลงมาคือ การค้นหาความเสี่ยงเป็นหน้าที่ของทุกคน ( X = 4.10 , SD = 0.765)

  32. ข้อคิดเห็นเพิ่มเติม เจ้าหน้าที่ร้อยละ 84.8 แสดงความเห็นว่า การจัดระบบความปลอดภัยมีความจำเป็นมาก ซึ่งรูปแบบควรมีการร่วมประชุมชี้แจงการดำเนินงานแก้ไขปัญหาร่วมกัน • การมีส่วนร่วมในระบบการวิเคราะห์และการจัดการความเสี่ยง พบว่าอยู่ในระดับปานกลางค่อนข้างสูง คือร้อยละ 64.0 ( X = 15.9 , SD = 3.6คะแนนเต็ม 25 ) โดยการปฏิบัติตามแผน และกิจกรรมลดความเสี่ยง เป็นประเด็นที่มีส่วนร่วมมากที่สุด ( X = 3.48 , SD = 0.667) รองลงมาคือ การระบุกิจกรรมเพื่อค้นหาความเสี่ยง ( X = 3.21 , SD = 0.780)

  33. สรุปรูปแบบการจัดการความเสี่ยงสรุปรูปแบบการจัดการความเสี่ยง ภายหลังการดำเนินการตามขั้นตอนระบบ การจัดการความเสี่ยงจากการทำงานของกลุ่มงานสูติกรรมโรงพยาบาลโพธารามระยะเวลา 10 เดือน สรุปเป็นรูปแบบการดำเนินการได้ดัง Flow chart

  34. นโยบายหน่วยงานด้านความปลอดภัยนโยบายหน่วยงานด้านความปลอดภัย หน่วยงานวิเคราะห์ประเมินความเสี่ยงจากกิจกรรม และ พื้นที่ปฏิบัติงานโดยการระดมสมองสมอง พิจารณาว่ามีความ เสี่ยงสูงและความเสี่ยงที่ ไม่อาจยอมรับได้ ? N Y กำหนดมาตรการแก้ไขเร่งด่วนเพื่อลดความเสี่ยง จัดทำแผนติดตามตรวจสอบวัดผลให้อยู่ในความเสี่ยงระดับยอมรับได้ นำความเสียงระดับปานกลางมากำหนดวัตถุประสงค์จัดทำแผนงานและระบบรายงานอุบัติเหตุอุบัติการณ์ ควบคุมการปฏิบัติและติดตามผล การดำเนินการเป็นไปตามเป้าหมาย ? N พิจารณาการแก้ไข Y จัดทำเป็นมาตรฐานการปฏิบัติและติดตามเป็น ระยะอย่างต่อเนื่องเพื่อหาโอกาสพัฒนา

  35. ขอบคุณครับ สวัสดี

  36. แผนงานควบคุมและลดความเสี่ยงแผนงานควบคุมและลดความเสี่ยง • จากแผนงานทั้งหมด 16 แผนใหญ่ มีส่วนที่เกี่ยวข้องต้องปฏิบัติตามได้แก่ • แผนป้องกันอันตรายจากไฟฟ้า • แผนควบคุมความเสี่ยงด้านการติดเชื้อและอันตรายจากการบริการ • แผนป้องกันโรคและลักษณะท่าทางการทำงาน

  37. แผนงานลดความเสี่ยงที่เกี่ยวข้อง (ต่อ) • แผนป้องกันการเกิดอัคคีภัย • แผนป้องกันการสูญหายและสูญเสียของทรัพย์สิน • แผนป้องกันการถูกร้องเรียนและถูกฟ้องร้องจากการให้บริการ • แผนคุ้มครองผู้ไม่สูบบุหรี่ • แผนรณรงค์การสวมหมวกนิรภัย

  38. พบความเสี่ยงทั้งหมด 7,431 ข้อ นำมาจัดระดับ และจัดกลุ่มเพื่อแก้ไขปัญหา ลดความเสี่ยง และส่งเสริมให้เกิดความปลอดภัย ความเสี่ยงที่พบของฝ่ายโภชนาการ เช่น การถูกไฟฟ้าดูด ช็อต การเกิดอัคคีภัย อันตรายจากการใช้สารเคมี อันตรายจากโรคและท่าทางการทำงาน การใช้รถเข็นของ ลิฟท์ติดค้าง ความร้อนในการทำงาน ระดับแสงสว่างในการทำงาน เป็นต้น ส่วนศูนย์รักษ์เคหะ ความเสี่ยงที่พบ เช่น เดียวกัน แต่เพิ่มมากกว่า เช่น การพลัดตกจากที่สูง การติดเชื้อ การสัมผัสขยะอันตราย เป็นต้น ความเสี่ยงที่ได้จากการวิเคราะห์ของรพ.

More Related