1 / 64

ผลการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์ การพัฒนาจังหà¸

ผลการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์ การพัฒนาจังหวัดชัยนาท. ๒๓ กันยายน ๒๕๔๗. วิสัยทัศน์จังหวัดชัยนาท. “ เมืองเกษตรมาตรฐาน สืบสานคุณภาพชีวิต ”. ประชาชนมีความมั่งคั่ง. เป้าประสงค์. สังคมมีความสงบสุขและ ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี. ทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อมมีความอุดมสมบูรณ์ และยั่งยืน.

elie
Download Presentation

ผลการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์ การพัฒนาจังหà¸

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ผลการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์ผลการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์ การพัฒนาจังหวัดชัยนาท ๒๓ กันยายน ๒๕๔๗

  2. วิสัยทัศน์จังหวัดชัยนาทวิสัยทัศน์จังหวัดชัยนาท “เมืองเกษตรมาตรฐานสืบสานคุณภาพชีวิต”

  3. ประชาชนมีความมั่งคั่งประชาชนมีความมั่งคั่ง เป้าประสงค์ สังคมมีความสงบสุขและประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมมีความอุดมสมบูรณ์และยั่งยืน

  4. เมืองเกษตรมาตรฐาน สืบสานคุณภาพชีวิต ประชาชนมีความมั่งคั่ง นโยบายเร่งด่วนของรัฐบาล ยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด สังคมมีความสงบสุขและประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมมีความอุดมสมบูรณ์และยั่งยืน การบูรณาการ

  5. ประเด็นยุทธศาสตร์การพัฒนาประเด็นยุทธศาสตร์การพัฒนา ศักยภาพและโอกาส เศรษฐกิจ การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต การสร้างโอกาสและการกระจายรายได้ เสริมสร้างและพัฒนาชุมชนเข้มแข็ง องค์กรแห่งการเรียนรู้ สังคม เสริมสร้างและเปิดโอกาสไปสู่สังคมแห่งการเรียนรู้ สร้างสุขภาพ ส่งเสริมการกีฬา การป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด เมืองน่าอยู่ ความมั่นคง การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ความสงบเรียบร้อย การอำนวยประโยชน์ประชาชน ,พัฒนาข้าราชการ บริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี บริหารจัดการ การป้องกัน ปราบปรามทุจริตคอร์รัปชั่น IT เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ การแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของประชาชน

  6. ตัวชี้วัดที่ 1.1:ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของมูลค่ารายได้จากสินค้า อุตสาหกรรมและเกษตรกรรม(สินค้าอุตสาหกรรม) โครงการเพิ่มศักยภาพผู้ประกอบการด้าน IT 14 หน่วยการใช้ไฟฟ้า 5 เสริมสร้างทักษะบริหารจัดการและเพิ่มกำลังการผลิต กลุ่มเครือข่ายผลิตภัณฑ์ผักตบชวา 13 หน่วย=บาท โครงการประหยัดพลังงานให้กับภาคอุตสาหกรรม 12 ประชุมกลุ่มผู้ประกอบการที่มีผลด้านเศรษฐกิจของจังหวัด 11 136,754,592 131,499,800 118,889,055 โครงการ 5 ส.สู่โครงการอุตสาหกรรม 10 การศึกษาดูงานเพิ่มมูลค่าโครงการแปรรูปอาหารจากข้าว 9 ฐาน ผล เป้า ตรวจติดตามหมวกนิรภัยตามร้านจำหน่ายเพื่อตรวจแนะนำ 8 โครงการยกระดับการแปรรูปผลิตภัณฑ์เครื่องปั้นดินเผา 7 หน่วย=ยูนิต หน่วยการใช้ไฟฟ้า จำหน่ายผลิตภัณฑ์อาหารจากไก่โรงงานอุตสาหกรรม 6 โครงการการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหาร การจัดการของโรงสีข้าว 5 50,981,895.05 56,306,461.12 53,468,084 อบรมอาชีพสร้างกี่กระตุก 4 อบรมการสร้างผลิตภัณฑ์จากผักตบชวาให้กลุ่มแม่บ้าน 3 สร้างความรู้เรื่องการขอ มผช 2 ฐาน ผล เป้า ผล=ถึง 31 ก.ค.47 หน่วยงานรับผิดชอบเร่งรัดจัดเก็บข้อมูล 1

  7. บูรณาการการทำงานภาคราชการ ภาคเอกชน ที่เกี่ยวข้องให้บรรลุตัวชี้วัด 6 ถ่ายทอดเทคโนโลยีด้านจักรกลการเกษตร 5 ส่งเสริมและให้ความรู้ในการคัดเลือกเมล็ดพันธุ์/ ผลิตเมล็ดพันธุ์ขยาย 4 ฟื้นฟู ปรับปรุง บำรุงดินและอบรมหมอดินอาสา 3 บริหารจัดการน้ำให้สอดคล้องกับความต้องการ ของเกษตรกร 2 ถ่ายทอดความรู้ตามกระบวนการโรงเรียนเกษตรกร 1 ตัวชี้วัดที่ 1.2 :ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของมูลค่ารายได้จากสินค้าอุตสาหกรรมและ เกษตรกรรม(สินค้าเกษตรกรรม) 5 ล้านบาท 2,641,225,842 2,586,963,345 2,487,464,755 ผล ฐาน เป้า ปัญหา/อุปสรรค 1.เกษตรกรไม่สามารถกำหนดราคาสินค้าเกษตร/ การแพร่ระบาดของของศัตรูพืช 2.เกษตรกรไม่มีที่ทำกินของตนเอง/ปัญหาหนี้สิน ของเกษตรกร

  8. ปัญหา/อุปสรรค -เกิดโรคระบาดไข้หวัดนก -ขอเปลี่ยนแปลงตัวชี้วัด เป็น “ร้อยละของจำนวนฟาร์มไก่เนื้อ เพื่อการส่งออกที่คงสภาพการเป็นฟาร์มที่ได้รับมาตรฐาน” ตัวชี้วัดที่ 2 : ร้อยละของจำนวนฟาร์มไก่เนื้อเพื่อการส่งออกที่คงสภาพการเป็นฟาร์ม ที่ได้รับรองมาตรฐาน 4.20 5 4 109 92 ตรวจองค์ประกอบพื้นฐานฟาร์ม 3 ยื่นคำขอ 2 ผล เป้า อบรมเกษตรกร 1

  9. ตัวชี้วัด 3:ต้นทุนการผลิตข้าวคุณภาพต่อไร่(บาท/ไร่) สรุปรายได้และประเมินผล 11 บาท/ไร่ จำหน่ายผลผลิต 10 ตรวจรับรองกระบวนการผลิต 9 เก็บเกี่ยว 8 หว่านข้าว(80%) 7 ส่งเสริมและสนับสนุนการทำน้ำหมักชีวภาพและ 3,301 2,601 2,581 6 สารสกัดจากพืชแก่เกษตรกร 18 กลุ่ม (>100 %) การถ่ายทอดความรู้แก่เกษตรกรตามกระบวนการ 5 โรงเรียนเกษตรกร 18 กลุ่ม (68.75%) การปรับปรุงดินและการส่งน้ำและแจกเมล็ดพันธุ์ 4 ฐาน เป้า ผล ถั่วเขียวให้เกษตรกรปลูก ประชุมชี้แจงและขึ้นทะเบียนเกษตรกร 3 อบรมวิทยากรพี่เลี้ยงแก่เกษตรกร 2 ปัญหา/อุปสรรค : ไม่มี คัดเลือกพื้นที่และเกษตรกรเข้าร่วมโครงการ 1 ดำเนินการแล้ว อยู่ระหว่างดำเนินการ ยังไม่ดำเนินการ

  10. ตัวชี้วัดที่ 4 : ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของรายได้จากเกษตรกรที่ปรับเปลี่ยนอาชีพ 8 ประเมินผลและรายงาน บาท/ไร่ ติดตามความก้าวหน้าโครงการ 7 629 จัดเก็บและประเมินผลรายได้สุทธิ ของเกษตรกรที่ร่วมโครงการ 6 593 564* โครงการส่งเสริมการปลูกหญ้าเลี้ยงสัตว์ เชิงการค้า 5 4 โครงการส่งเสริมการเลี้ยงโคเนื้อ กระบือ แพะเป็นอุตสาหกรรมการปศุสัตว์ ฐาน ผล สนับสนุนวัสดุครุภัณฑ์และสิ่งก่อสร้าง 3 เป้า * รายได้จากการตัดหญ้า 12% ของพื้นที่ปลูกหญ้าทั้งหมด ฝึกอบรมให้ความรู้เกษตรกร 2 ปัญหา/อุปสรรค คัดเลือกพื้นที่และเกษตรกรร่วมโครงการ 1

  11. จัดทำปฏิทินการท่องเที่ยวเชื่อมโยงจัดทำปฏิทินการท่องเที่ยวเชื่อมโยง กลุ่มจังหวัด 4 3 จัดทำแผนปฏิบัติการที่ท่องเที่ยวหลัก และรอง ปัญหา/อุปสรรค 1.ปัญหาไข้หวัดนกทำให้รายจากสวนนกลดลง 2.เขื่อนเจ้าพระยาขาดการพัฒนาภูมิทัศน์ 3.ปัญหาในการปรับปรุงภูมิทัศน์วัดธรรมามูล 4.ปัญหาในการปรับปรุงภูมิทัศน์วัดปากคลองมะขามเฒ่า ตัวชี้วัดที่ 5 : ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของรายได้จากการท่องเที่ยว 1 5 ล้านบาท ประเมินและติดตามผลการดำเนินงาน 63.05 66.81 30.01 ฐาน เป้า ผล จัดทำแผนแม่บทการท่องเที่ยวของจังหวัด 2 1 สำรวจแหล่งท่องเที่ยว

  12. ตัวชี้วัดที่ 6:จำนวนผลิตภัณฑ์OTOPที่ได้รับมาตรฐาน 4-5 ดาว(ผลิตภัณฑ์) สารคัดสรรสุดยอดผลิตภัณฑ์ไทย ปี 47 8 5 สนับสนุนงบประมาณการพัฒนาผลิตภัณฑ์ OTOP 7 5 ดาว 3 ดาว 4 ดาว 6 ฝึกอบรมด้านการบริหารจัดการกลุ่มอาชีพ OTOP ฐาน เป้า ผล 1. ผลิตภัณฑ์ 3-5 ดาว ได้รับมาตรฐาน(อย. มผช. ฯลฯ) 24 .ผลิตภัณฑ์ 2. ผลิตภัณฑ์ ที่เสนอเข้ารับการคัดสรรฯ 6 ประเภท คือ อาหาร จำนวน 48 ชนิด คาดว่าได้ 5 ดาว 3 ชนิด เครื่องดื่ม จำนวน 9 ชนิด คาดว่าได้ 4 ดาว 2 ชนิด ผ้าเครื่องแต่งกาย จำนวน 18 ชนิด คาดว่าได้ 5 ดาว 2 ชนิด เครื่องใช้ จำนวน 78 ชนิด คาดว่าได้ 5 ดาว 5 ชนิด ศิลปะประดิษฐ์ จำนวน 8 ชนิด คาดว่าได้ 5 ดาว 2 ชนิด สมุนไพร จำนวน 9 ชนิด คาดว่าได้ 5 ดาว 2 ชนิด รวมทุกประเภท 170 ชนิด คาดว่า ได้ 4- 5 ดาว 38 ชนิด* ผลไม่สามารถวัดได้ในขณะนี้ เพราะการคัดสรรฯจะดำเนินการ ระหว่างเดือน ต.ค.- ธ.ค. 47 5 ลงทะเบียนกลุ่มผู้ผลิตและกลุ่มผู้ประกอบการ พัฒนาผลิตภัณฑ์ OTOPให้ได้รับมาตรฐานผลิตภัณฑ์ อย.มผช.และชัยนาทแบนด์ 4 จัดทำสื่อเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ 3 ปัญหา/อุปสรรค 1. ขาดแคลนวัสดุอุปกรณ์การผลิต รูปแบบบรรจุภัณฑ์บางผลิตภัณฑ์ยังไม่เหมาะสม 2.ระยะเวลาการคัดสรรผลิตภัณฑ์ ในเดือนตุลาคม เวลาช้า ส่งเสริมและสนับสนุนกลุ่มผู้ผลิต OTOP การปรับปรุงมาตรฐานผลิตภัณฑ์ 2 สนับสนุนข้อมูล OTOP ที่ได้รับมาตรฐาน 4-5 ดาว ให้กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 1 แนวทางแก้ไข - ให้ความรู้แก่สมาชิกและคณะกรรมการฯด้านผลิตภัณฑ์

  13. หน่วยงานจัดเก็บข้อมูลในส่วนที่รับผิดชอบหน่วยงานจัดเก็บข้อมูลในส่วนที่รับผิดชอบ 4 ปัญหา/อุปสรรค -.ปัญหาโรคระบาดไข้หวัดนกและสถานการณ์ราคาน้ำมันสูง ส่งผลให้ต้นทุนการผลิตสินค้าด้านเกษตรกรรมสูงขึ้น อาจ ทำให้ GPP ไม่สามารถเพิ่มได้ตามเป้าหมาย หน่วยงานดำเนินงานร่วมกับอำเภอสร้างแนวทางปฏิบัติ 3 แนวทางแก้ไข ทบทวนเป้าหมาย GPP ให้สอดคล้องกับข้อมูล เศรษฐกิจของจังหวัดประเทศ ตัวชี้วัดที่ 7 :ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของผลิตภัณฑ์มวลรวมของจังหวัด 1 ล้านบาท บูรณาการตามนโยบายและงานประจำที่ได้รับงบประมาณตามปกติ 7 ติดตามและรายงานผลการดำเนินงาน 6 ประชุมซักซ้อมความเข้าใจแก่หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 19,745 18,283 ตรวจสอบเอกสารข้อมูลที่เกี่ยวข้อง ส่งข้อมูลให้หน่วยงานผู้รับผิดชอบ 5 ฐาน เป้า ไม่สามารถวัดผลได้ เนื่องจากการเก็บข้อมูลรายได้ เป็นการจัดเก็บตามปีปฏิทิน(ม.ค.-ธ.ค.) การบรรลุผลมีความเป็นไปได้น้อย เพราะสถานการณ์โรคไข้หวัดนก และราคาน้ำมัน จัดทำรายละเอียดเป้าหมายในแต่ละพื้นที่ 2 ประชุมคณะทำงานและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 1

  14. ตัวชี้วัดที่ 8 : ร้อยละที่ลดลงของคนในครัวเรือนที่มีรายได้เฉลี่ยต่ำกว่า 20,000 บาท ปี ตรวจสอบโดยคณะทำงานระดับจังหวัด/อำเภอเดือนละ ครั้ง 9 ประชุมซักซ้อมเพื่อตรวจสอบผลการดำเนินงาน 5 ตรวจสอบทะเบียนเอกสารที่เกี่ยวข้องให้เป็นปัจจุบัน จำนวนครัวเรือน พัฒนาและยกระดับรายได้ให้กับครัวเรือนเป้าหมาย 8 16% 21.81% จัดส่งรายชื่อครัวเรือนที่ตกเกณฑ์และมีความประสงค์จะได้รับการพัฒนาอาชีพให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 7 17,124 20,386 16,285 6 สำรวจข้อมูลครัวเรือนที่ตกเกณฑ์ จปฐ. ข้อ 27 เป็นรายเดือน ให้ความรู้แก่คณะกรรมการและหัวหน้าครัวเรือน เรื่องการจัดเก็บข้อมูล 5 ฐาน เป้า ผล เสนอแผนต่อประชาคมหมู่บ้านเพื่อยืนยันรับรอง ปัญหา/อุปสรรค 1.ครัวเรือนที่ตกเกณฑ์ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ซึ่งมี ต้นทุนการผลิตสูง 2.หนี้สินนอกระบบ 3.ไม่มีปัจจัยการผลิตเป็นของตนเอง เช่น ที่ดิน 4 จัดทำแผนยกระดับรายได้หรือแผนแม่บทชุมชน 3 อำเภอกิ่งอำเภอจัดประชาคมหมู่บ้านเพื่อตรวจสอบ และยืนยันข้อมูล 2 แนวทางแก้ไข - ให้ความรู้กับครัวเรือนเป้าหมาย ลดต้นทุนการผลิต ปรับเปลี่ยนอาชีพ - สร้างความเข้าใจเกี่ยวกับวินัยการใช้เงิน จัดทำบัญชีครัวเรือนที่มีรายได้น้อยต่ำกว่า 20,000 บาทปี 1

  15. ตัวชี้วัด 9: จำนวนกิโลกรัมของเมล็ดพันธุ์ที่ใช้ต่อไร่(กิโลกรัม/ไร่) 5 สรุปและประเมินผล (26 %) 11 กิโลกรัม/ไร่ หว่านข้าว (80%) 10 นวก.ศูนย์ฯ ตรวจสอบรับรองเมล็ดพันธุ์ (26%) 9 แช่ข้าวผ่านน้ำเกลือ (80 %) 8 35 วิทยากรพี่เลี้ยงตรวจสอบรับรองการชั่งเมล็ดพันธุ์ 7 ทดสอบความงอกของเมล็ดพันธุ์ข้าว 6 18 18 คัดเมล็ดพันธุ์ข้าว 5 เตรียมเมล็ดพันธุ์ข้าว 4 ถ่ายทอดความรู้แก่เกษตรกร 18 กลุ่ม 3 ฐาน เป้า ผล อบรมวิทยากรพี่เลี้ยงแก่เกษตรกร 2 คัดเลือกพื้นที่และเกษตรกรเข้าร่วมโครงการ 1 ปัญหา/อุปสรรค : การส่งน้ำไม่เป็นไปตามแผนทำให้เกษตรกรบางรายหว่านข้าวก่อนกำหนด ดำเนินการแล้ว อยู่ระหว่างดำเนินการ ยังไม่ดำเนินการ

  16. 8 919,500 ปรับปรุงแผนการดำเนินงาน 830,616 7 ดำเนินการฝึกอบรมตามหลักสูตรยกระดับฝีมือแรงงานและทดสอบ 6 งบ ใช้จ่าย คัดเลือกกลุ่มเป้าหมาย 5 ประชาสัมพันธ์ 4 จัดทำแผนปฏิบัติการ 3 กำหนดหลักสูตร เตรียมความพร้อมด้านบุคลากรสถานที่ 2 ปัญหา/อุปสรรค 1.กลุ่มเป้าหมายไม่ประสงค์เข้าร่วมโครงการเนื่องจากขาดรายได้ระหว่างการฝึกอบรม 2.ผู้เข้ารับการฝึกอบรมไม่สามารถฝึกอบรม ได้ตลอดหลักสูตร 1 จัดทำโครงการขอรับ การสนับสนุนงบประมาณ ตัวชี้วัดที่ 10 :จำนวนแรงงานที่ยากจนและไร้ฝีมือที่ได้รับการพัฒนาและทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงาน 5 คะแนน งบประมาณ ดำเนินการฝึกอบรม/ทดสอบ ตามแผนปรับปรุง ฐาน เป้า ผล ผลการดำเนินงานเปรียบเทียบกับระยะเวลา เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. แนวทางแก้ไข 1. จัดฝึกอบรมในพื้นที่เพื่ออำนวยความสะดวดในการเดินทาง 2. เพิ่มจำนวนรุ่นการฝึกเพื่อให้มีจำนวนผู้ผ่านการฝึกครบตามเป้าหมาย

  17. โครงการOTOP FAIR 2004 เดือนละ 2 วัน 4 ปัญหา/อุปสรรค 1.ข้อมูลรายได้ของกลุ่มอาชีพยังไม่ครบถ้วนเนื่องจากใช้แบบเครดิต ให้ความรู้ในการพัฒนาผลิตภัณฑ์และการหาตลาด 3 แนวทางแก้ไข - ประมาณการรายได้จากยอด รายได้การจำหน่ายสินค้าที่ใช้ระบบเครดิต ตัวชี้วัดที่ 12 :ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของมูลค่าการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ OTOP 5 ล้านบาท 140 สำรวจ ข้อมูลรายได้จากผู้ผลิตระดับอำเภอ 120 6 100 123,115,648 80 115,000,000 132,000,000 จัดทำฐานข้อมูลรายได้ของกลุ่มผู้ผลิตระดับอำเภอ 60 40 20 ฐาน ผล (ส.ค.47) เป้า 0 สนับสนุนกลุ่มผู้ผลิตสินค้าOTOPเข้าร่วมงาน แสดงสินค้าต่างๆ 5 - ข้อมูลการจำหน่ายสินค้า OTOP Iณ เดือน ส.ค.47 จำหน่ายได้จำนวน 13,908,100 บาท - คาดว่า ในเดือน ก.ย. 47 จะจำหน่ายได้ประมาณ 13,000,000 บาท (ดูจากสถิติการจำหน่ายสินค้า ตั้งแต่ ต.ค.46 - ส.ค.47 โดยเฉลี่ยเดือนละจำนวน 11,193,331 บาท) จัดทำWebsite เผยแพร่ข้อมูล 2 จัดกำหนดเผยแพร่ข้อมูลเกี่ยวกับช่องทางการจำหน่ายและพัฒนาผลิตภัณฑ์ 1

  18. ตัวชี้วัดที่ 15 : ร้อยละที่ลดลงของอัตราการว่างงาน การแนะแนวอาชีพ 11 การจัดหางานต่างประเทศ 10 ร้อยละการว่างงาน จัดหางานพิเศษนักเรียน นักศึกษา 9 3,915 คน 3,262 คน 5,437 คน ช่วยเหลือผู้ถูกเลิกจ้าง 8 จัดหางานให้ผู้พ้นโทษ 7 2.5 1.5 1.8 จัดหาแรงงานไทยทดแทนแรงงานต่างด้าว 6 เป้า ฐาน ผล นัดพบแรงงานย่อย 5 ปัญหา/อุปสรรค 1.จำนวนตัวเลขผู้ว่างงานใช้ตัวเลขจากสำนักงานสถิติแห่งชาติ/จังหวัด 2.การได้มาซึ่งตัวเลขผู้ว่างงานใช้วิธีการทางสถิติโดยสุ่มตัวอย่างทำให้ เกิดความคลาดเคลื่อน โดยเฉพาะกลุ่มบุคคลที่สุ่มตัวอย่างไม่ครอบคลุม ทำให้เกิดปัญหากรณีช่วงการรอฤดูกาลของภาคเกษตรตัวเลขผู้ว่างงาน จะสูงกว่าปกติ3.การที่รัฐอนุญาตให้แรงงานต่างด้าว 3 สัญชาติ พม่า ลาว กัมพูชา จดทะเบียนทำให้ชาวชัยนาทว่างงานเพราะไม่ชอบทำงานที่สกปรก ไกลบ้านและมีความเสี่ยง4.ชัยนาทเป็นแรงงานภาคเกษตรกรรมและครอบครัวส่วนใหญ่ทำงานในภาคเกษตรตลอดปี จัดหางานเคลื่อนที่ 4 ส่งเสริมให้คนพิการมีงานทำ 3 รับสมัครงาน,หาตำแหน่งงานว่าง,บรรจุงาน 2 ประชาสัมพันธ์ 1

  19. ตัวชี้วัดที่ 17 : ร้อยละของผู้กู้ยืมเงินจากกองทุนของ โครงการ กข.คจ.ที่สามารถชำระคืนตามกำหนด ติดตามผลเดือนละอย่างน้อย 1 ครั้ง 10 ตรวจสอบทะเบียนเอกสารที่เกี่ยวข้องให้เป็นปัจจุบัน 5 กำหนดมาตรการดำเนินงานกับผู้กู้ยืมที่นำไปใช้ผิดวัตถุประสงค์ 9 ครัวเรือน คัดเลือกครัวเรือนยากจนเป้าหมายที่ประสบผลสำเร็จเพื่อ เป็นตัวอย่างขยายผล 8 149 100% ส่งเสริมการประกอบอาชีพ 7 100% ส่งเสริมการลดต้นทุนการผลิต 6 ส่งเสริมการออมของครอบครัว 5 ประกวดหมู่บ้าน กข.คจ.ดีเด่น ระดับอำเภอ/จังหวัด 4 อบรมให้ความรู้ด้านการพัฒนาอาชีพ 3 ปัญหา/อุปสรรค ให้ความผู้แก่คณะกรรมการโครงการ กจ.คจ.เรื่องการติดตาม เงินยืมตามโครงการ 2 จัดทำและเผยแพร่ข้อมูลเกี่ยวกับการพัฒนาอาชีพเสริมและหลัก 1

  20. ให้ความรู้ด้านการพัฒนาอาชีพให้ความรู้ด้านการพัฒนาอาชีพ 3 ให้ความรู้ด้านบริหารจัดการแก่คณะกรรมการกองทุน หมู่บ้าน 2 ตัวชี้วัดที่ 18 : อัตราส่วนของผู้กู้ยืมจากกองทุนหมู่บ้านที่สามารถชำระคืนตามกำหนด ติดตามผลการดำเนินงาน 8 5 ตรวจสอบทะเบียน/เอกสารที่เกี่ยวข้องให้เป็นปัจจุบัน กำหนดมาตรการดำเนินงานกับผู้กู้ยืมที่นำไปใช้ ผิดวัตถุประสงค์ 7 70,409 สนับสนุนเงินกองทุนต่างๆ เช่นทุนประกอบอาชีพ 6 66,889 66,893 ส่งเสริมการออมของครอบครัว 5 ฐาน 100% เป้า 95% ผล96.55% 4 หมายเหตุ จำนวนผู้กู้ยืมเงินที่เหลือยังไม่ครบกำหนดสัญญา ประกวดกองทุนหมู่บ้านดีเด่นระดับอำเภอ/จังหวัด ปัญหา/อุปสรรค -แบบรายงานที่ส่งกรมพัฒนาชุมชนเป็นแบบพันยอดตัวเลขของ ข้อมูลทำให้เกิดความล่าช้าในการแยกรายละเอียด แนวทางแก้ไข - ให้อำเภอ/กิ่งอำเภอจัดทำฐานข้อมูลใหม่ โดยยึดตาม คำอธิบายตัวชี้วัด จัดทำและเผยแพร่ข้อมูลเกี่ยวกับการพัฒนา อาชีพเสริมและหลัก 1

  21. ยุทธศาสตร์ด้านการบริหารจัดการยุทธศาสตร์ด้านการบริหารจัดการ

  22. ปัญหา/อุปสรรค การรายงานผลผลการดำเนินงานของหน่วยงานเกี่ยวข้องให้กับหน่วยงานรับผิดชอบหลักไม่เป็นปัจจุบัน ล่าช้า แนวทางแก้ไข ตัวชี้วัดที่ 11 :ร้อยละเรื่องร้องเรียนที่ได้รับการตรวจสอบแก้ไข หน่วยงานรับผิดชอบจัดทำสรุปและรายงานผล 6 ร้อยละ 100%= 126 เรื่อง 60.32%= 76 เรื่อง 5 86.21 หน่วยงานเร่งรัดติดตามแจ้งหน่วยงานรับผิดชอบ หน่วยงานรับเรื่องแจ้งให้หน่วยงานเร่งรัดติดตาม 4 ฐาน เป้า ผล หน่วยงานที่เกี่ยวข้องดำเนินการตรวจสอบ แก้ไขรายงานผล 3 ส่งเรื่องให้กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องดำเนินการ 2 หน่วยงานรับเรื่องร้องเรียนจัดทะเบียน 1

  23. ตัวชี้วัดที่ 13 :ร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักความสำเร็จของการดำเนินโครงการที่ได้รับการจัดสรรงบประมาณและเงินอื่นๆตามยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด 4.6 ร้อยละ 6 โครงการเพิ่มความชุ่มชื้นผืนป่าสวนนกชัยนาท 100 100 95 90 80 80 5 โครงการพัฒนาสู่ความเป็น ICTVillage จังหวัดชัยนาท 4 โครงการส่งเสริมและพัฒนาเพื่อยกระดับคุณภาพ สินค้า OTOP 3 โครงการส่งเสริมการเลี้ยงโคเนื้อ กระบือ แพะ เป็นอุตสาหกรรมปศุสัตว์ 2 โครงการส่งเสริมการปลูกหญ้าเลี้ยงสัตว์เชิงการค้า ปัญหา/อุปสรรค 1 โครงการส่งเสริมการทำนาโดยใช้องค์ความรู้ในการลดต้นทุนการผลิตพัฒนาการใช้ชีวภาพและการเพิ่มมูลค่าการผลิตข้าง

  24. ตัวชี้วัดที่ 13.1 :ร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักความสำเร็จของการดำเนินโครงการที่ได้รับการจัดสรรงบประมาณและเงินอื่นๆ ตามยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด ( โครงการที่ 1 การส่งเสริมการทำนาโดยใช้องค์ความรู้ในการลดต้นทุนการผลิต ถ่ายทอดความรู้ 4 ปัญหา/อุปสรรค เกษตรกรเข้าร่วมเรียนรู้ไม่ต่อเนื่อง ประชุมชี้แจงภารกิจ 3 แนวทางแก้ไข - 5 ติดตามผลการดำเนินงาน 7 เกษตรกรปลูกข้าว ตรวจสอบการใช้เมล็ดพันธุ์ข้าวของเกษตรกร 6 ส่งเสริมการทำน้ำหมักชีวภาพ 5 2 แบ่งภารกิจ ความรับผิดชอบ 1 เตรียมการ,จัดหาวัสดุอุปกรณ์

  25. ตัวชี้วัดที่ 13.2 :ร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักความสำเร็จของการดำเนินโครงการ ที่ได้รับการจัดสรรงบประมาณและเงินอื่นๆตามยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด(โครงการนาหญ้า) 4 ประชุมสัมมนาเครือข่ายการผลิตหญ้าแพงโกล่า (20 %) 8 บาท/ไร่ การติดตามประเมินผล (70 %) 7 การเลี้ยงปลา (20 %) 6 620 564* การจำหน่ายผลผลิตและจัดหาตลาด (100 %) 5 580 การจัดทำแปลงปลูกหญ้า (92 %) 4 ฐาน เป้า ผล ขุดสระกักเก็บน้ำ (97 %) 3 *รายได้จากการตัดหญ้า จำนวน 12 % ของพื้นที่ปลูกหญ้าทั้งหมด จัดหาครุถัณฑ์และสิ่งก่อสร้าง (95 %) 2 คัดเลือกเกษตรกรและฝึกอบรม (90 %)(การปลูกหญ้า, การทำบัญชีฟาร์ม, การเลี้ยงปลา, การใช้เครื่องจักรกล) 1 ปัญหา/อุปสรรค-เกษตรกรปลูกหญ้าล่าช้า ไม่พร้อมกัน การเก็บเกี่ยวช่วงฤดูฝนผลผลิตเสียหาย รายได้ต่ำกว่าที่เป็นจริง-ผลผลิตและคุณภาพหญ้าที่ตัดยังต่ำอยู่

  26. ตัวชี้วัดที่ 13.3 :ร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักความสำเร็จของการดำเนินโครงการ ที่ได้รับการจัดสรรงบประมาณและเงินอื่นๆตามยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด(โครงการโคเนื้อ กระบือ แพะ เป็นอุตสาหกรรม) ติดตามประเมินผล 10 5 สนับสนุนพันธุ์สัตว์ 9 จัดตั้งกองทุนยาและเวชภัณฑ์ 8 สนับสนุนชุดอุปกรณ์ผสมเทียม 7 จัดทำแปลงพืชอาหารสัตว์ 6 100% ฝึกอบรมอาสาสมัครผสมเทียม 5 80% ฝึกอบรมเกษตรกร และศึกษาดูงาน 4 เป้า ผล 3 จัดตั้งกลุ่มผู้เลี้ยงโคเนื้อ กระบือ แพะ ประชาสัมพันธ์เชิงเปรียบเทียบให้เกษตรกรทราบและเข้าใจ 2 ปัญหา/อุปสรรค-ไม่สามารถรับเกษตรกรเข้าร่วมโครงการได้ทั้งหมด จัดเก็บข้อมูลพื้นฐานของเกษตรกรที่ร่วมโครงการ 1

  27. ตัวชี้วัดที่ 13.4 :ร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักความสำเร็จของการดำเนินโครงการที่ได้รับการจัดสรรงบประมาณและเงินอื่นๆ ตามยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด ( โครงการที่ 4 การส่งเสริมและพัฒนาเพื่อยกระดับคุณภาพสินค้า OTOP จังหวัดชัยนาท) ส่งเสริมให้ความรู้ด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์ OTOP 4 ปัญหา/อุปสรรค การคัดสรรยกระดับ 3 - 5 ดาว กำหนดระยะเวลาตามปีปฏิทินไม่สอดคล้องกับปีงบประมาณทำให้ชี้ผลลัพธ์ไม่ได้ เตรียมการด้านการบริหารจัดการ 3 แนวทางแก้ไข - 3 120 ติดตามผลการดำเนินงาน 7 100 จัดทำข้อมูลกลุ่มเป้าหมายลงทะเบียนคัดสรรฯ 80 6กิจกรรม งบ 10,110,600 6กิจกรรม งบ 10,110,600 6กิจกรรม งบ 1,008,918 60 40 สนับสนุนกลุ่มเป้าหมายลงทะเบียนคัดสรรสุดยอด ผลิตภัณฑ์สินค้า OTOP ไทย 6 20 0 ฐาน ผล เป้า - ผลดำเนินการจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ให้กลุ่มเป้าหมายและส่งเสริมการพัฒนาศักยภาพกลุ่มเป้าหมายเรียบร้อยแล้ว ผลลัพธ์ของผลิตภัณฑ์ ได้ระดับ 3-5 ดาว จะมีการคัดสรรระหว่างเดือน ต.ค.- ธ.ค.47 หมายเหตุ งบประมาณเหลือจ่าย 2,682 บาท จัดซื้อและสนับสนุนวัสดุอุปกรณ์การพัฒนาผลิต ภัณฑ์แก่กลุ่มเป้าหมาย 5 2 กลั่นกรองคัดเลือกผลิตภัณฑ์ 1 ประชุมวางแผนการดำเนินงานโครงการ

  28. ตัวชี้วัดที่ 13.5: ร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักความสำเร็จของการดำเนินโครงการที่ได้รับจัดสรรงบประมาณและเงินอื่นๆ ตามยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด(13.5 โครงการพัฒนาสู่ความเป็น ICT Villageจังหวัดชัยนาท) 3 ติดตามประเมินผล 5 อบรมเจ้าหน้าที่ให้บริการ (80 %) 4 ติดตั้งและทดสอบอุปกรณ์ 3 ปัญหา/อุปสรรค เนื่องจากจังหวัดใช้การประมูลทางอิเล็กทรอนิคส์ (e-Aution) ครั้งแรกมีผู้สนใจเพียงรายเดียว จึงต้องยกเลิก และดำเนินการซ้ำอีกครั้งหนึ่ง จึงสามารถหาผู้ประมูลได้ จัดหาวัสดุครุภัณฑ์และสถานที่ 2 ประชุมชี้แจงเพื่อสร้างความเข้าใจกับเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง (อบต.ธรรมามูล และโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์) 1

  29. ตัวชี้วัดที่ 13.6 :ร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักความสำเร็จของการดำเนินโครงการที่ได้รับการจัดสรรงบประมาณและเงินอื่นๆ ตามยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด ( โครงการที่ 6 เพิ่มความชุ่มชื้นผืนป่าสวนนกชัยนาท) 40 35 30 25 20 เป้า 15 ผล 10 5 0 หาผู้รับจ้างดำเนินการก่อสร้าง 4 งวดงาน 1 งวดงาน 2 งวดงาน 3 ปัญหา/อุปสรรค ดำเนินการสำรวจ 3 แนวทางแก้ไข - 3 ตรวจรับงาน 7 40% ดำเนินการตามสัญญา 6 30% 29% 30% 29% 28% ทำสัญญาจ้าง 5 2 หาผู้รับจ้าง สำรวจ ออกแบบ 1 เตรียมรายละเอียดโครงการ

  30. ทำโครงการประชุมสัมมนาการมีส่วนร่วมทำโครงการประชุมสัมมนาการมีส่วนร่วม ของประชาชนตามโครงการป้องกัน การทุจริตเพื่อให้จังหวัดใสสะอาด 5 4 รายงานผลการปฏิบัติเป็นประจำ ทุกเดือน 3 ประสานงานในการขอข้อมูลที่มี ชั้นความลับระหว่างหัวหน้าส่วนราชการ ทำหนังสือข้อข้อมูลจำนวนเรื่องทุจริตของ ข้าราชการและพนักงานรัฐวิสาหกิจที่มี การตั้งกรรมการสอบสวน 2 ปัญหา/อุปสรรค 1.มีข้อมูลบุคลากรของหน่วยงานจำกัด อยู่ระหว่างปรับปรุง 2.เรื่องทุจริตที่ระบุชื่อ-สกุลเป็นเรื่องลับ ไม่สามารถเปิดเผยได้ 1 ข้อเสนอแนะ – ให้สำนักงานจังหวัดเป็นผู้จัดเก็บข้อมูลที่เป็นปัจจุบัน และแยกประเภทให้เรียบร้อย จัดเก็บข้อมูลเรื่องทุจริตที่มีการตั้งกรรมการ สอบสวนขอข้อมูลจากสำนักงานจังหวัด ตัวชี้วัดที่ 21 : ร้อยละที่ลดลงของจำนวนเรื่องทุจริตของข้าราชการ และพนักงานรัฐวิสาหกิจในจังหวัดที่มีการตั้งกรรมการสอบสวนและมีมูล เรื่อง 2 2 1 ผล เป้า ฐาน

  31. ตัวชี้วัดที่ 22 : ร้อยละของงบประมาณที่สามารถประหยัดได้ 4.22 ร้อยละ 4 ดำเนินการจัดซื้อจัดจ้างทางอิเลคทรอนิกส์ (e-Auction) 3 ติดตามเร่งรัดการใช้จ่ายเงินภาครัฐเป็นประจำ ทุกเดือน 20 14.57 4.8 ผล เป้า ฐาน ให้ส่วนราชการแจ้งผลข้อมูลเงินงบประมาณที่ สามารถประหยัดได้เป็นประจำทุกเดือน 2 ปัญหา/อุปสรรค 1.งบประมาณบางรายการยังไม่ได้รับเงินประจำงวดไม่สามารถ จัดซื้อจัดจ้างได้ 2.ครุภัณฑ์จากหลายหน่วยงานหลากหลายไม่สามารถนำมา ดำเนินการจัดซื้อตามระบบ e-Auction 3.เป็นข้อมูลเฉพาะหน่วยบริหารราชการส่วนภูมิภาค วงเงินน้อย ไม่สามารถประหยัดได้ 1 ทำหนังสือถึงส่วนราชการสังกัดบริหารราชการ ภูมิภาคเพื่อขอข้อมูลเงินงบประมาณที่ สามารถประหยัดได้ ข้อเสนอแนะ ควรใช้ตัวชี้วัดของหน่วยบริหารส่วนกลางจะประหยัดได้ มากขึ้น

  32. หน่วยงานรับผิดชอบหลักจัดทำสรุปหน่วยงานรับผิดชอบหลักจัดทำสรุป และรายงานผล 6 45 วัน ทำการปรับปรุงเพื่อให้บรรลุเป้าหมาย 5 2.3 ช.ม. 2.3 ช.ม. 1.2 ช.ม. 1.3 ช.ม. 15 นาที ติดตามประเมินผลการดำเนินงาน 4 เลือกสุ่มจัดเก็บข้อมูลงานบริการเดือนละ 1 สัปดาห์ 3 ปัญหา/อุปสรรค แนวทางแก้ไข ตัวชี้วัดที่ 23 :ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการลดรอบระยะเวลา ของขั้นตอนปฏิบัติราชการของส่วนราชการ 4.3 เวลา จัดทำบัตรสำรวจเวลาการปฏิบัติงานและ แบบสรุป 2 คัดเลือกงานบริการที่จะดำเนินการลดรอบ 1

  33. ตัวชี้วัดที่ 24 : ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานตามแผนปรับปรุงแก้ไขบริการ สรุปและรายงานผลการประเมินฯ ครั้งที่ 2 ให้หน่วยงานทราบ 9 5 ประเมินผลการดำเนินงานตามแบบประเมินฯ ครั้งที่ 2 8 ขั้นตอน หน่วยงานปรับปรุง แก้ไข และพัฒนา 7 สรุปและรายงานผลการประเมินฯครั้งที่ 1 ให้หน่วยงานทราบ 6 ประเมินผลการดำเนินงานตามแบบประเมินฯครั้งที่ 1 5 เป้า ผล หน่วยงานดำเนินการตามแผน 4 หน่วยงานจัดทำแผนปรับปรุงแก้ไขบริการ โดยผ่าน การอนุมัติจากผู้บังคับบัญชา 3 ปัญหา/อุปสรรค ไม่ตอบแบบสอบถามร้อยละ 28.57 ประชุมทำความเข้าใจการจัดเก็บข้อมูลและแบบประเมิน 2 จัดทำแบบประเมินผลการดำเนินงานและแบบสอบถาม ความพึงพอใจของผู้รับบริการ 1

  34. ตัวชี้วัดที่ 25 : ร้อยละของระดับความพึงพอใจ ของผู้รับบริการ รายงานผลการสำรวจความพึงพอใจฯ ครั้งที่ 2 ให้หน่วยงานทราบ 9 5 ร้อยละ วิเคราะห์ สรุปผลการสำรวจความพึงพอใจฯ ครั้งที่ 2 8 90 80 ดำเนินการสำรวจความพึงพอใจฯ ครั้งที่ 2 7 70 81.78 80 60 50 หน่วยงานปรับปรุง แก้ไข และพัฒนาการบริการ 6 40 30 20 รายงานผลการสำรวจความพึงพอใจฯ ครั้งที่ 1 ให้หน่วยงานทราบ 5 10 0 เป้า ผล วิเคราะห์ สรุปผลการสำรวจความพึงพอใจฯ ครั้งที่ 1 4 หมายเหตุ จำนวนผู้ตอบแบบสำรวจ 1,139 คน ดำเนินการสร้างความพึงพอใจของผู้รับบริการ ครั้งที่ 1 3 ปัญหา/อุปสรรค ไม่มี ประชุมทำความเข้าใจการจัดเก็บข้อมูลและ แบบสำรวจความพึงพอใจ 2 จัดทำแบบสำรวจความพึงพอใจของผู้รับบริการ 1

  35. ปัญหา/อุปสรรค ไม่มี ตัวชี้วัดที่ 26 : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาระบบบริหารความรู้ในองค์กร 5 อบรมหลักสูตรการจัดยุทธศาสตร์และนำไปสู่การปฏิบัติ ระดับหัวหน้าฝ่ายและเจ้าหน้าที่ 11 จำนวนหลักสูตร อบรมหลักสูตรการใช้โปรแกรม Cute FTP สำหรับUploadข้อมูลสู่Server 10 อบรมหลักสูตรการจัดทำระบบฐานข้อมูล GIS 9 6 8 อบรมหลักสูตรการส่งและแก้ไขข้อมูลในระบบ Intranet 8 อบรมหลักสูตรการบริหารจัดการมุ่งผลสัมฤทธิ์(RBM)สำหรับผู้บริหาร 7 เป้า ผล อบรมหลักสูตรการจัดทำระบบฐานข้อมูล MIS 6 อบรมหลักสูตรการบันทึกข้อมูลการมอบอำนาจของส่วนราชการ ให้ผู้ว่าราชการจังหวัดลงในWebsite ระบบ Intranet 5 อบรมหลักสูตรการจัดทำแผนงาน/โครงการแบบบูรณาการ 4 หน่วยงานจัดทำแผนปฏิบัติการในการพัฒนาระบบบริหารความรู้ ในองค์กร ปี 2548 3 สร้างความรู้ ความเข้าใจแนวทางการพัฒนาระบบบริหารความรู้ ในองค์กรให้กับหน่วยงานในระดับจังหวัด 2 จัดตั้งคณะทำงานพัฒนาระบบบริหารความรู้ในองค์กรระดับจังหวัด 1

  36. จัดตั้งศูนย์ปฏิบัติการจังหวัด(POC)จัดตั้งศูนย์ปฏิบัติการจังหวัด(POC) 9 จำนวนขั้นตอน พัฒนาบุคลากร 8 พัฒนาระบบเชื่อมโยงเครือข่าย 7 จัดทำGISระดับครัวเรือน 6 0 ฐาน ผล เป้า จัดทำ MIS ระดับครัวเรือน 5 เก็บรวบรวมข้อมูลปัจจุบันและข้อมูลย้อนหลัง 4 กำหนดหน่วยงานที่รับผิดชอบเก็บข้อมูล 3 ออกแบบฐานข้อมูล 2 แต่งตั้งคณะทำงาน 1 ตัวชี้วัดที่ 27 : การพัฒนาระบบฐานข้อมูล(Database)ของจังหวัด 5 ปัญหา/อุปสรรค ไม่มี

  37. ยุทธศาสตร์ด้านสังคม

  38. ตัวชี้วัดที่ 16. ระดับความสำเร็จของการจัดทำทะเบียนเพื่อแก้ไขปัญหาสังคมและความยากจนเชิงบูรณาการ 5 6 การดำเนินการขั้นตอนที่ 1-4 แล้วเสร็จก่อน 30 ก.ย. 47 5 10 4 ส่งทะเบียนที่ได้รับการแก้ไขให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 9 3 8 2 บันทึกการแก้ไขปรับปรุงข้อมูลให้ถูกต้อง คณะทำงานแก้ไขปัญหาระดับจังหวัดวิเคราะห์ปัญหา 1 7 คณะอนุกรรมการแก้ไขปัญหาระดับอำเภอวิเคราะห์ พิจารณาหาทางแก้ไข 6 เป้า ผล ชุดปฏิบัติการประจำตำบล ตรวจสอบและวิเคราะห์ข้อมูล 5 ปัญหา/อุปสรรค บันทึกการแก้ไข ปรับปรุง เพิ่มเติมข้อมูลจากการประชาคม 4 ทำประชาคมตรวจสอบและยืนยันความถูกต้องของข้อมูล 3 บันทึกข้อมูลที่รับลงทะเบียนผ่านระบบคอมพิวเตอร์ออนไลน์ 2 อำเภอ/กิ่งอำเภอ รับลงทะเบียน 1

  39. ยุทธศาสตร์ด้านความมั่นคงยุทธศาสตร์ด้านความมั่นคง

  40. ตัวชี้วัดที่ 14 : ร้อยละของหมู่บ้านเข้มแข็งเพื่อเอาชนะยาเสพติด 4.57 เผยแพร่ข้อมูลหมู่บ้าน/ชุมชนเพื่อยกระดับ เป็นประเภท ก 6 120 100 ประชุมนายอำเภอ/ปลัดอำเภอหัวหน้ากิ่ง เพื่อติดตามความก้าวหน้าทุกสัปดาห์ 5 80 502 หมู่บ้าน 56 ชุมชน 97.84% 60 100% เจ้าหน้าที่ติดตาม กำกับ ดูแล และแนะนำ การพัฒนา 4 40 20 3 ศตส.อ./กิ่ง อ. รายงานผลให้ ศตส.จ. ทุก 15 วัน ฐาน เป้า ผล ศตส.อ./กิ่ง อ. เร่งรัดการพัฒนาให้เป็น หมู่บ้าน/ชุมชนประเภท ก 2 ปัญหา/อุปสรรค ตรวจสอบการจำแนกหมู่บ้าน/ชุมชน (ประเภท ก,ข,ค และ ง) 1

  41. 4 สถานีประสานความร่วมมือกับประชาชน ในพื้นที่จัดตั้งชุดป้องกันและปราบปราม 3 จัดชุดป้องกันและปราบปรามอาชญากรรม โดยเน้นการข่าว จัดชุดปฏิบัติการชุมชนสัมพันธ์ 2 ปัญหา/อุปสรรค 1.กำลังพลในการปฏิบัติงานไม่เพียงพอ 2.โครงการคืนคนดีสู่สังคมยังไม่เป็นที่ยอมรับจากสังคม 3.การบูรณาการจากหน่วยงานต่างๆไม่สามารถดำเนินการได้เต็ม รูปแบบ 1 เพิ่มมาตรการจัดสายตรวจในช่วงระยะเวลาที่เกิด เหตุประจำและให้ครอบคลุมพื้นที่ตลอด 24 ชม. ตัวชี้วัดที่ 19 : ร้อยละที่ลดลงของอัตราคดีต่อประชากรแสนคน 1.36 คดีต่อแสนคน 58.29 71.43 67.43 72.86 58.29 46.63 20.29 16.23 8

  42. รวบรวมจัดทำข้อมูลสถิติคดีรวบรวมจัดทำข้อมูลสถิติคดี 6 เร่งรัดคดีที่รัฐเป็นผู้เสียหาย 5 จัดสายตรวจทุกระบบออกตรวจในพื้นที่ อย่างสม่ำเสมอ 4 จัดชุดปฏิบัติการชุมชนสัมพันธ์ทุกสถานี 3 ประสานขอความร่วมมือกับประชาชน ด้านการข่าว 2 แต่งตั้งชุดปฏิบัติการเฉพาะกิจ รับผิดชอบในแต่ละคดี 1 ตัวชี้วัดที่ 20 :ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของอัตราส่วนคดีที่สามารถจับกุมผู้กระทำผิดได้ต่อจำนวนคดีที่ได้รับแจ้งทั้งหมด 3.37 จำนวนคดี 78.57 59.44 61.18 51.60 54.80 45.35 39.44 41.18 34.80 ปัญหา/อุปสรรค 1.กำลังพลในการปฏิบัติงานไม่เพียงพอ 2.โครงการคืนคนดีสู่สังคมยังไม่เป็นที่ยอมรับจากสังคม 3.การบูรณาการจากหน่วยงานต่างๆไม่สามารถดำเนินการได้เต็ม รูปแบบ

  43. งานตามนโยบายเร่งด่วนของรัฐบาลงานตามนโยบายเร่งด่วนของรัฐบาล

  44. การดำเนินงานตามนโยบายเร่งด่วนของรัฐบาลการดำเนินงานตามนโยบายเร่งด่วนของรัฐบาล 1. 30 บาท รักษาทุกโรค2.กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง3.ธนาคารประชาชน4.ตู้นายกทักษิณ5.การแปลงสินทรัพย์เป็นทุน6.การลงทะเบียนแก้ไขปัญหาความยากจน 7.การปราบปรามผู้มีอิทธิพล8.มาตรการประหยัดพลังงาน9.อาหารปลอดภัย10.อุบัติภัยจราจร11.ปรับภูมิทัศน์สองข้างทางจราจร12.การค้ามนุษย์

  45. 30 บาท รักษาทุกโรค สถานการณ์ความครอบคลุมสิทธิ์ประกันสุขภาพ ปี 2547 ร้อยละ 100.66 จากค่าเฉลี่ยของจังหวัด ร้อยละ 98การดำเนินงานตอบคำถามให้คำแนะนำการขึ้นทะเบียนสิทธิ์ ปี 2547 เฉลี่ยทั้งจังหวัด 284 เรื่อง/เดือนการร้องเรียนโครงการประกันสุขภาพถ้วนหน้า ปี 2546 จำนวน 42 เรื่อง ปี 2547 จำนวน 23 เรื่องลดลงร้อยละ 54.76ประเด็นการร้องเรียน ปี 2547 จากจำนวน 23 เรื่อง 26.09% 47.82% 26.09%

  46. สรุปผลการบริหารจัดการกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง จำนวนหมู่บ้าน 378 118 2 A 3 3 A 1 A กองทุนหมู่บ้านที่ได้รับมาตรฐาน

  47. ธนาคารประชาชน ผลการดำเนินงานสินเชื่อนโยบายรัฐ ปี 2547 ธุรกิจห้องแถว 55 ราย 6,340,000 บาท ธนาคารประชาชน 629 ราย 15,796,830 บาท เป้าหมายทั้งหมด1,510 ราย 60.40 ล้านบาท ปัญหา/อุปสรรค 1.ฐานลูกค้าใหม่ลด 2.ลูกค้ามีถิ่นที่อยู่ไกล มีปัญหาการฝากเงิน 3.ปัญหาด้านหลักประกัน 4.ปัญหาความสามารถชำระหนี้ 5.การเพิ่มสูงของหนี้ค้างชำระ ผลการดำเนินงาน เดือน มกราคม-กรกฎาคม 2547 รวม 684 ราย วงเงิน 22,136,830 บาท

  48. ตู้นายกฯทักษิณ จำนวนเรื่อง 28 19 47

  49. การแปลงสินทรัพย์เป็นทุนการแปลงสินทรัพย์เป็นทุน 21 21 3.6

  50. การลงทะเบียนแก้ไขปัญหาความยากจนการลงทะเบียนแก้ไขปัญหาความยากจน จำนวนผู้จดทะเบียน จำแนกตามปัญหา หนี้สินภาคประชาชน 27,099 รายที่ดินทำกิน 19,726 รายคนจนไม่มีที่อยู่อาศัย 12,568 รายปัญหาอื่นๆ 7,785 รายนร./นศ.ต้องการงานทำ 1,167 รายถูกหลอกลวง 505 รายคนเร่ร่อน 19 รายประกอบอาชีพผิดกฎหมาย 15 ราย

More Related