1 / 18

การบริหารงานวิจัย มุมมองจากการบริหารและการทำงานวิจัย กฤษณพงศ์ กีรติกร

การบริหารงานวิจัย มุมมองจากการบริหารและการทำงานวิจัย กฤษณพงศ์ กีรติกร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี การสัมนาเครือข่ายอุดมศึกษาจังหวัดนครราชสีมา 24 มิถุนายน 2548 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี. ขอบเขตความหมายของ การวิจัย

Download Presentation

การบริหารงานวิจัย มุมมองจากการบริหารและการทำงานวิจัย กฤษณพงศ์ กีรติกร

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การบริหารงานวิจัย มุมมองจากการบริหารและการทำงานวิจัย กฤษณพงศ์ กีรติกร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี การสัมนาเครือข่ายอุดมศึกษาจังหวัดนครราชสีมา 24 มิถุนายน 2548 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี

  2. ขอบเขตความหมายของ การวิจัย • การวิจัย (fundamental, basic, application-oriented) • การพัฒนา • การสาธิตเทคโนโลยี-วิศวกรรมกรรม (Technology demonstration – Engineering) • การวิจัยนโยบาย

  3. พัฒนาการของระบบวิจัยและบทเรียนพัฒนาการของระบบวิจัยและบทเรียน 2519 : เปิดสอนหลักสูตรปริญญาโทหลักสูตรแรก (5 ปีหลังจากการเป็นสถาบันอุดมศึกษา) เน้นการทำ วิทยานิพนธ์ กลางทศวรรษ 2520 :ออกระเบียบการรับงานบริการวิชาการ (การออก แบบ การทดสอบ การวิเคราะห์ การให้คำปรึกษาทาง วิชาการ : จัดตั้ง University – Industry Liaison Office การทำงานกับเอกชนเป็นสิ่งที่ยอมรับได้

  4. พัฒนาการของระบบวิจัยและบทเรียนพัฒนาการของระบบวิจัยและบทเรียน กลางทศวรรษ 2520 การจัดระบบและสร้างวัฒนธรรมการทำงานกับเอกชน การทำงาน แบบ demand driven งานบริการวิชาการสร้างรายได้ให้ตนเองและ มหาวิทยาลัย (อาจารย์สามารถเปลี่ยนความรู้เป็นเงิน) : ออกระเบียบการบริหารงานวิจัยจากแหล่งทุน ภายนอก ให้นักวิจัยกำหนดการใช้เงินวิจัยเอง ไม่ขึ้นกับผู้บริหาร ให้มีอาจารย์รายได้จากการทำงานวิจัย

  5. พัฒนาการของระบบวิจัยและบทเรียนพัฒนาการของระบบวิจัยและบทเรียน กลางทศวรรษ 2520 : การทำโครงการวิจัยระดับชาติและระหว่างประเทศ ขนาดใหญ่และมีความต่อเนื่อง ด้านพลังงานกับ USAID การพลังงานแห่งชาติ และการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย ด้านเทคโนโลยีอาหารกับประเทศกลุ่มอาเซียน การสร้างกลุ่มวิจัยที่มีcritical mass และมีโฟกัส ความสามารถในการจัดการโครงการวิจัยระดับชาติและ ระหว่างประเทศขนาดใหญ่ที่มีผู้วิจัยจำนวนมาก หลายสถาบัน ความสามารถในการจัดประชุมวิชาการระหว่างประเทศ

  6. พัฒนาการของระบบวิจัยและบทเรียนพัฒนาการของระบบวิจัยและบทเรียน ต้นทศวรรษ 2530 : การสนับสนุนนักวิจัยใหม่โดยทุนวิจัยพระจอมเกล้า (ปัจจุบันให้กับนักวิจัยทุกคนที่ต้องการ ปีละ 75,000บาท เป็นเวลาสองปี) :การตั้งงบประมาณเพื่อการวิจัยผ่านงบประมาณ แผ่นดินของมหาวิทยาลัย (ว1) : การสนับสนุนการเสนอผลงานวิชาการในการ ประชุมระหว่างประเทศ (มหาวิทยาลัย คณะ ภาค) นักวิจัยใหม่สามารถเริ่มงานวิจัยได้เร็ว นักวิจัยมี international exposure

  7. พัฒนาการของระบบวิจัยและบทเรียนพัฒนาการของระบบวิจัยและบทเรียน กลางทศวรรษ 2530 : การให้รางวัลในการตีพิมพ์ผลงานวิชาการ : การทำโครงการวิจัยระดับชาติและระหว่างประเทศ ขนาดใหญ่และมีความต่อเนื่อง ด้านพลังงาน เทคโนโลยี อาหาร เทคโนโลยีชีวภาพ ไมโครอีเลคทรอนิกส์ วัสดุ ศาสตร์ : การผลักดันให้เสนอโครงงานวิจัยต่อศูนย์แห่งชาติ ของสวทช.(ไบโอเทค เนคเนค เอมเทค) และสกว. การเติบโตอย่างรวดเร็วของการทำงานวิจัย การรองรับ “Sunrise technology”

  8. พัฒนาการของระบบวิจัยและบทเรียนพัฒนาการของระบบวิจัยและบทเรียน กลางทศวรรษ 2530 : เปิดสอนหลักสูตรปริญญาเอกหลักสูตรแรกในปี • (21 ปีหลังจากการเป็นสถาบันอุดมศึกษา) : การจัดตั้งสำนักงานเพื่อจัดการงานวิจัยและการ จัดการทรัพย์สินทางปัญญา : การจัดตั้งศูนย์วิจัยและศูนย์บริการเฉพาะทาง เกิด one stop service จัดการสัญญาวิจัย การสนับสนุน งานธุรการการเงิน การจดสิทธิบัตร การเจรจาธุรกิจและ ทรัพย์สินทางปัญญา

  9. พัฒนาการของระบบวิจัยและบทเรียนพัฒนาการของระบบวิจัยและบทเรียน กลางทศวรรษ 2530 : การทำโครงการจัดตั้ง Industrial Park(ประมาณ 10 มหาวิทยาลัยเริ่มโครงการ) รากฐานของการสร้าง technology incubator และการ บริหาร research and development cluster ต้นทศวรรษ 2540 : การเปลี่ยนเป็นมหาวิทยาลัยในกำกับรัฐบาล : การกำหนดให้อาจารย์มีภาระงานการสอน งานวิจัย และการทำงานเพื่อส่วนรวม

  10. พัฒนาการของระบบวิจัยและบทเรียนพัฒนาการของระบบวิจัยและบทเรียน ต้นทศวรรษ 2540 : การสนับสนุนให้อาจารย์ตั้งหน่วยวิจัยและบริการ (สังกัดส่วนกลางหรือคณะ ตามความต้องการ) : การดำเนินงานสวนอุตสาหกรรมพระจอมเกล้า ธนบุรี เน้น bioprocess industries และ clean and green technologies มีกลไกสนับสนุนอุตสาหกรรมครบตั้งแต่การทดสอบ วิเคราะห์ ผลิตภัณฑ์ การให้คำปรึกษา การวิจัย การผลิตใน ระดับต้นแบบ (เพื่อทดสอบตลาด และความเป็นไปได้ทาง การเงิน) การบ่มเพาะเทคโนโลยีและผู้ประกอบการใหม่

  11. พัฒนาการของระบบวิจัยและบทเรียนพัฒนาการของระบบวิจัยและบทเรียน กลางทศวรรษ 2540 : การสนับสนุนให้อาจารย์และนักวิชาการจัดตั้งกลุ่ม วิจัยหรือบริการ(research หรือ services cell) โดย - กลุ่มสามารถขออัตรานักวิจัยได้เป็นอิสระ ไม่ผูกกับ ภาค/คณะ (เป็นนักวิจัยที่มีภาระงานหลักที่หน่วยนั้น) - กลุ่มสามารถขอครุภัณฑ์วิจัยราคาสูง ในกรณีเป็นครุภัณฑ์ที่ให้บริการกลางได้ มหาวิทยาลัยจะจัดคน และงบประมาณดำเนินการให้ : การให้รางวัลประจำปีตามผลงานดีเด่น(รวม งานวิจัย)

  12. พัฒนาการของระบบวิจัยและบทเรียนพัฒนาการของระบบวิจัยและบทเรียน กลางทศวรรษ 2540 : จัดสรรงบประมาณให้คณะตามผลลัพธ์ผลผลิต งานวิจัย ( Full Time Equivalent Research Output- FTERO) บัณฑิตปริญญาเอก ปริญญาโท (วิทยานิพนธ์, practice school, โครงงาน) ผลงานตีพิมพ์เผยแพร่ (journals –refereed ทั่วไป, international/regional/national conference, single vs multidepartmental) สิทธิบัตร รายได้สุทธิจาก contract project

  13. Core Capability(October 2004) • Energy, Environment and Clean Technology • Engineering Technology • ICT and Applied Mathematics • Biotechnology, System Biology , Food Technology and Agro-based Technology • Learning and Industrial Education • Humanities • Policy Studies 2004 Outputs • Contracts (400 - 500 M baht research and consultancy projects) • Publications 800+ titles • Patents and mini-patents filing 10+ titles

  14. Core Capability : Engineering Technology • Construction materials • Structural designs • Traffic engineering • Logistics • Geotechnical engineering and soils stabilization • Metrology • Digital signal processing • Electronic and integrated circuits design • Power electronics and conditioning • Image analysis • Printing technology • Transport phenomena • Unit operation and chemical process design • Machine design (especially food and agro processing equipment ) • Robotics and automation • Foundry engineering • Moulds and dies design • Precision engineering • Plastic forming • Surface treatment and coatings: thermal sprays, electroplating, thin film coatings by physical and chemical vapor deposition ( for corrosion, wear and tear protection) • Laser applications

  15. Core Capability: Energy, Environment and Clean Technology • Thermal technology • Combustion (fuels, furnaces, engines, emission) • Drying (especially rice and cereals) • Renewable and clean energy (photovoltaic, solar thermal, hydrogen, fuel cells-molten carbonate, proton exchange membrane) • Engineering and energy in agricultural systems (environment-control green houses, uses of renewable energy) • Energy conservation , DSM of electricity and management in industries • Waste heat recovery • Co-generation • Building technology and energy in buildings (day lighting, building envelop, smart control) • Built environment • Wastes management and utilization (especially agro-industry wastes for biogas production) • Life cycle analysis and externalities (focusing on paper and plastics production) • Carbon and nitrogen cycles • Ecology and biodiversity • Energy and energy-related environment policies

  16. Core Capability :Biotechnology, BioEngineering, Food and Agro-based Technology • Composition and physico-engineering properties of foods and biomaterials • Thermal processing of foods • Equipment and systems for food processing at SME’s and community levels (juices and concentrates, canning, drying and rapid cooling of fruits and vegetables) • Food production quality control • Post harvest technology (vegetables, fruits and flowers) • Fermentation technology • Algal Technology • Genetic engineering of virus, bacteria, fungi and algae • Bioinformatics • E- cells ( modeling of biological and biochemical processes) • Extraction and synthesis of fats, proteins, vitamins and enzymes • Biochemical and pilot plants engineering (yeasts, bacteria and insect cells) • Biosensors (measurement of sugars, BOD, pesticides and herbicides residues)

  17. Core Capability :ICT and Applied Mathematics • Computer graphics, image analysis and computer vision • Artificial intelligence • Speech and signal processing • Data, knowledge and information management • Human and computer interfacing • Data communication and networking • Reliability engineering • Software engineering • Bioinformatics • Multimedia databases and multimedia information retrieval • Internet technology • E-learning technology • Geographic information system • Wireless and mobile systems • Modeling of atmospheric and oceanic circulations

  18. KMUTT Industrial Park The only university industrial park of Thailand.Focusing on bioprocess and agro-based industries and clean and green technologies. Incubators(probiotics, natural colours, chitosans, fuel alcohol, microbial animal feeds, fruit powder and concentrates) Pilot Plant Services Center Testings and Analytical Services Center Research and Development Centers :Algal Biotechnology, Fungal Biotechnolgy, Solid State Fermentation, Bio Remediation, Fermentation, Enzymes Technology, Sensors, Food Engineering, Combustion, Clean Energy Systems

More Related