1 / 38

Wisdom Thailand 2015 เครือข่ายเชิงกลยุทธ์ เพื่อการพัฒนาบุคลากรอาจารย์ในสถาบันอุดมศึกษา สู่การเพิ่มขีดความสามารถการแข่งข

Version 1.3. Wisdom Thailand 2015 เครือข่ายเชิงกลยุทธ์ เพื่อการพัฒนาบุคลากรอาจารย์ในสถาบันอุดมศึกษา สู่การเพิ่มขีดความสามารถการแข่งขันของประเทศ โครงการเทิดพระเกียรติสิริราชสมบัติ ครบ 60 ปี. โครงการลงทุนขนาดใหญ่ของภาครัฐ (Mega Project) เสนอโดย สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

elin
Download Presentation

Wisdom Thailand 2015 เครือข่ายเชิงกลยุทธ์ เพื่อการพัฒนาบุคลากรอาจารย์ในสถาบันอุดมศึกษา สู่การเพิ่มขีดความสามารถการแข่งข

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Version 1.3 Wisdom Thailand 2015 เครือข่ายเชิงกลยุทธ์ เพื่อการพัฒนาบุคลากรอาจารย์ในสถาบันอุดมศึกษา สู่การเพิ่มขีดความสามารถการแข่งขันของประเทศ โครงการเทิดพระเกียรติสิริราชสมบัติ ครบ 60 ปี โครงการลงทุนขนาดใหญ่ของภาครัฐ (Mega Project) เสนอโดย สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ระยะที่ 1 (2549 – 2554)

  2. ยุทธศาสตร์และแนวทางการปฏิรูปอุดมศึกษาไทยของรัฐบาลชุดปัจจุบันยุทธศาสตร์และแนวทางการปฏิรูปอุดมศึกษาไทยของรัฐบาลชุดปัจจุบัน 12 กพ. 46 รองนายกรัฐมนตรี (นายจาตุรนต์ ฉายแสง) ในฐานะประธานคณะกรรมการอำนวยการปฏิรูปการศึกษาได้แต่งตั้งคณะทำงานด้านอุดมศึกษา 3 ชุด - ด้านการเงิน - ด้านการบริหารจัดการ - ด้านกฎหมาย 16 กย. 46 ครม. เห็นชอบ 6 ยุทธศาสตร์ที่เสนอโดยคณะทำงาน ยุทธศาสตร์ที่ 1 การปฏิรูปโครงสร้างระบบบริหารจัดการอุดมศึกษา ยุทธศาสตร์ที่ 2 การปฏิรูปการเงินอุดมศึกษา ยุทธศาสตร์ที่ 3 การผลิตกำลังคนและกระจายโอกาสอุดมศึกษา ยุทธศาสตร์ที่ 4 การปฏิรูปการเรียนการสอนและการวิจัย ยุทธศาสตร์ที่ 5 การปฏิรูประบบการพัฒนาอาจารย์และบุคลากรอุดมศึกษายุทธศาสตร์ที่ 6 การมีส่วนร่วมของเอกชนในการบริหารและจัดการอุดมศึกษา “โครงการเครือข่ายเชิงกลยุทธ์ฯ Mega Project (2549-2552)

  3. ดัชนีชี้วัด (KPIs) หลัก : • จำนวนอาจารย์ ป.เอก, ศ. • จำนวนผลงาน/อาจารย์/ปี • จำนวนทุนวิจัย/อาจารย์/ปี • จำนวนผลงานสู่เชิงพาณิชย์ สร้างความเป็นเลิศให้กับ สถาบันอุดมศึกษา • คุณภาพทรัพยากรมนุษย์ • เศรษฐกิจฐานความรู้ • เพิ่มขีดความสามารถการแข่งขันของประเทศ การปฏิรูปอุดมศึกษาไทย 6 ยุทธศาสตร์

  4. 100 90 80 70 60 50 40 30 20 10 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 400,000 จำนวนมหาวิทยาลัย ยุคเปลี่ยนแปลงทางการเมือง เปลี่ยนแปลง เศรษฐกิจ จำนวนนักศึกษาเข้าใหม่ 300,000 เศรษฐกิจ ฟองสบู่ เฟื่องฟู 200,000 วิกฤต เศรษฐกิจ ยุค 3 ยุค 1 ยุค 2 ความสัมพันธ์ มหาวิทยาลัย - เอกชน 100,000 รัฐบาลทักษิณ 1 4 5 6 7 8 9 2 3 2540 2550 2510 2500 2520 2530 2560 เริ่มแผน พัฒนาเศรษฐกิจ ปัจจุบัน 2548 พัฒนาการของจำนวนมหาวิทยาลัยและจำนวนนักศึกษา และบทบาทของมหาวิทยาลัยในยุคต่างๆ “เศรษฐกิจ ฐานความรู้”

  5. Background of Wisdom Thailand 2015: Status of Thai Higher Education • Low percentage of Ph.D. staff: 24 Old Public Univ. : 36.2%(total 23,153) 41 New Rajabhat U. : 7.0%(total 7,388) 9 New Rajamangala U. : 3.0%(total 4,798) 54 Private U. : 13.0%(total 10,264) Average : 22%(total 45,603)

  6. Background of Wisdom Thailand 2015: Status of Thai Higher Education • Highly qualified senior staff are getting retired Data from the Physical Sci. staff of 8 Universities

  7. ความสามารถของประเทศต่างๆ ในการผลิตบทความวิจัย Publications (1996-1999) per total researchers ข้อมูลจาก EU reporton S&T Indicators, 2003 ดัชนี : จำนวนบทความ / นักวิจัย / ปี - New Zealand 2.27 - UK 1.57 - Singapore 1.13 - USA 0.86 - Japan 0.46 - China 0.13 - Malaysia 0.12 จากการศึกษาในครั้งนี้พบว่าค่าเฉลี่ยจาก มหาวิทยาลัย 8 แห่ง 0.12 (รวบรวมจากผลงานทั้งหมดของคณะวิทย์ ของ ม. 8 แห่ง/บุคลากรวิชาการทั้งหมด/ปี) MU (0.44) > PSU (0.26) > SUT (0.21) > CU (0.16) > CMU (0.13) > KKU (0.08) > KU (0.07) > SWU (0.04)

  8. Background of Wisdom Thailand 2015: Status of Thai Higher Education • Low Competitiveness in Higher Education 2004 *In 2005, Chulalongkorn University was ranked no. 121

  9. Thailand needs urgent human resource development in higher education

  10. วิสัยทัศน์ของมาเลเซียและเกาหลีวิสัยทัศน์ของมาเลเซียและเกาหลี Malaysia VISION 2020 : The Multimedia Supercorridor and Malaysian Universities Aim : - K-Economy (Multimedia) Korea BK 21 Project : Brain Korea 21 Aim : - World Class University

  11. แนวคิดเชิง process: แนวโน้มของโลกUSA-EU-Korea ยุทธศาสตร์ชาติ--คนหนุ่มสาวเรียน S&T น้อยลง –อาชีพนักวิจัยไม่มั่นคง Problems NIH, NSF, EU-ERA ขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ Priorities EU-FP6, Kor-21 Frontier CE=Center of Excellence  CO=Consortium of Excellence  CU=Country of Excellence Paradigm Kor – Brain 21 Wisdom Thailand 2015:20 Consortia โครงการเครือข่ายเชิงกลยุทธ์เพื่อการพัฒนาบุคลากรอาจารย์ในสถาบันอุดมศึกษาฯ สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (ร่าง 1; 7 พฤศจิกายน 2548)

  12. เครือข่าย/กลุ่มเครือข่ายในเพชราภิเษกเครือข่าย/กลุ่มเครือข่ายในเพชราภิเษก Cluster 1: กลุ่มกระบวนทัศน์ใหม่ CO1:เครือข่ายพลังงานทางเลือก CO2:เครือข่ายนาโนวัสดุและนาโนอุปกรณ์ CO3:เครือข่ายเทคโนโลยีผสมผสานด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพ CO4:เครือข่ายวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อการป้องกันประเทศ Cluster 2: กลุ่มฐานเศรษฐกิจของประเทศ CO5:เครือข่ายความปลอดภัยด้านอาหาร สมุนไพร และผลไม้ CO6:เครือข่ายเทคโนโลยีเพื่อการเกษตรก้าวหน้า CO7:เครือข่ายอัญมณี เครื่องประดับ และแฟชั่น CO8: เครือข่ายเทคโนโลยีดิจิทัล และ software CO9:เครือข่ายการจัดการเรื่องมาตรฐานและเครื่องมือวิเคราะห์ฯ CO10:เครือข่ายระบบ logistics การขนส่ง การบิน และการจราจร โครงการเครือข่ายเชิงกลยุทธ์เพื่อการพัฒนาบุคลากรอาจารย์ในสถาบันอุดมศึกษาฯ สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (ร่าง 1; 7 พฤศจิกายน 2548)

  13. เครือข่าย/กลุ่มเครือข่ายในเพชราภิเษก (2) Cluster 3:กลุ่มจัดการความรู้และทรัพยากรเพื่อความมั่งคงของชาติ CO11:โรคอุบัติใหม่และภัยคุกคามด้านชีวภาพ CO12: การอนุรักษ์และการใช้ประโยชน์ทรัพยากรชีวภาพ CO13: ……สมัยใหม่เพื่อการสร้างนวัตกรรม???->Table CO14: เทคโนโลยีและการจัดการสิ่งแวดล้อม ทรัพยากรน้ำ ภาวะฉุกเฉิน และภัยพิบัติ CO15: เครือข่ายนวัตกรรมการศึกษาและการจัดการความรู้ CO16: เครือข่ายทรัพย์สินทางปัญญาและการพาณิชย์เชิงองค์ความรู้ Cluster 4: กลุ่มวัฒนธรรมและสังคม CO17: เครือข่ายภาษาวัฒนธรรม ศิลปะ และภูมิปัญญา CO18: เครือข่าย........เพื่อสร้างคุณภาพสังคมไทย????Table Cluster 5: กลุ่มพิเศษ เพื่อแก้ปัญหาวิทยาศาสตร์พื้นฐานของประเทศ CO19: เครือข่ายฟิสิกส์ CO20: เครือข่ายคณิตศาสตร์ โครงการเครือข่ายเชิงกลยุทธ์เพื่อการพัฒนาบุคลากรอาจารย์ในสถาบันอุดมศึกษาฯ สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (ร่าง 1; 7 พฤศจิกายน 2548)

  14. การจัดกลุ่มเครือข่ายทำให้เกิดการใช้ประโยชน์จากสาขาวิชา สู่การร่วมแก้โจทย์ที่เป็นปัญหาของประเทศ เทคนิคการแพทย์ แพทย์ศาสตร์ ทันตแพทยศาสตร์ ภาษาเพื่อนบ้าน ภาษาตะวันตก วิศวกรรมศาสตร์ สัตวแพทย์ สาธารณสุขศาสตร์ พยาบาลศาสตร์ วิทยาศาสตร์ทางน้ำ อัญมณีและเครื่องประดับ ภาษาอังกฤษ ภาษาจีน จุลชีววิทยา อุตสาหกรรมการเกษตร เทคโนโลยีชีวภาพ เทคโนโลยีสารสนเทศ พันธุศาสตร์และชีวสนเทศศาสตร์ นาโนเทคโนโลยีและวิทยาศาสตร์นาโน ศึกษาศาสตร์ คณิตศาสตร์ วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ วิทยาการคอมพิวเตอร์ ประวัติศาสตร์ ศิลปกรรมศาสตร์ สถิติ เศรษฐศาสตร์ สถาปัตยกรรมศาสตร์ ฟิสิกส์ ธรณีวิทยา ภูมิศาสตร์ บรรพชีวิน ภาษาไทย

  15. Global Player Regional Hub World Class Universities Capability Building Centers of Excellence (Country of Excellence) Consortia of Excellence Individual Uni. 2005 2010 2015 “Wisdom-Based Thailand 2015” Maga Project

  16. แนวคิดการพัฒนา Targeted Research: Crystal CL: Cluster CO: Consortium CE: Center of Excellence Amorphous CE CE CE CE CE CE CE CE CE รุ่นกลาง Liquid ป.เอก หลัง ป.เอก ป.เอก รุ่นใหม่ รุ่นใหญ่ ป.เอก รุ่นกลาง รุ่นใหม่ รุ่นใหญ่ รุ่นใหม่ รุ่นใหญ่ หลัง ป.เอก ป.เอก หลัง ป.เอก หลัง ป.เอก รุ่นใหญ่ รุ่นกลาง ป.เอก รุ่นใหม่ หลัง ป.เอก รุ่นใหม่ รุ่นใหญ่ หลัง ป.เอก ป.เอก หลัง ป.เอก โครงการเครือข่ายเชิงกลยุทธ์เพื่อการพัฒนาบุคลากรอาจารย์ในสถาบันอุดมศึกษาฯ สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (ร่าง 1; 7 พฤศจิกายน 2548)

  17. วัตถุประสงค์ ผลิตบุคลากรระดับปริญญาเอกที่มีความเชี่ยวชาญสูงให้เพียงพอต่อความต้องการของอุดมศึกษาไทยทั้งระบบทั้งที่อยู่ในสังกัดของภาครัฐ (มหาวิทยาลัยของรัฐเดิม กลุ่มมหาวิทยาลัยราชภัฏ และราชมงคล) และของภาคเอกชน พัฒนาบุคลากรสายวิชาการให้อยู่ในระดับแนวหน้า เพื่อยกระดับมาตรฐานโดยรวมของสถาบันอุดมศึกษาไทย สร้างเครือข่ายกับต่างประเทศเพื่อเพิ่มศักยภาพและก้าวทันผลผลิตทางวิชาการของโลก สร้างนวัตกรรมด้านหลักสูตร องค์ความรู้ เทคโนโลยี ผลิตภัณฑ์ และการจัดการให้เกิดขึ้นในระบบอุดมศึกษาอย่างเป็นรูปธรรม โครงการเครือข่ายเชิงกลยุทธ์เพื่อการพัฒนาบุคลากรอาจารย์ในสถาบันอุดมศึกษาฯ สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (ร่าง 1; 7 พฤศจิกายน 2548)

  18. เป้าหมาย: 2549-2554 ผลิตบุคลากรระดับปริญญาเอก จำนวน 9,600 คน พัฒนาบุคลากรสายวิชาการระดับแนวหน้า จำนวน 2,800 คน ผลิตผลงานวิจัยในระดับนานาชาติ 12,000 เรื่อง สร้างหลักสูตรกลยุทธ์ระดับนานาชาติ 20 หลักสูตร ผลิตสิทธิบัตร / ผลิตภัณฑ์ระดับอุตสาหกรรม 80 ชิ้น เกิดเครือข่ายวิจัยกับต่างประเทศ 700 เครือข่าย เกิดศูนย์ความเป็นเลิศในสถาบันอุดมศึกษาต่างๆ ไม่น้อยกว่า 60 ศูนย์ โครงการเครือข่ายเชิงกลยุทธ์เพื่อการพัฒนาบุคลากรอาจารย์ในสถาบันอุดมศึกษาฯ สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (ร่าง 1; 7 พฤศจิกายน 2548)

  19. ตัวชี้วัด ตัวเลขต่าง ๆ ที่ระบุไว้เป้าหมาย บุคลากรสายวิชาการวุฒิ ป.เอกในระบบอุดมศึกษามีสัดส่วนมากขึ้น ประสิทธิภาพการผลิตผลงานวิจัยของอุดมศึกษาไทย (ผลงานต่อ อาจารย์ต่อปี) มีตัวเลขที่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ดัชนีชี้วัดการผลิตผลงานสู่เชิงพาณิชย์ (สิทธิบัตร สิ่งประดิษฐ์ นวัตกรรม ผู้ประกอบการใหม่) ที่เพิ่มขึ้น การมีศูนย์ความเป็นเลิศเฉพาะทางในสถาบันอุดมศึกษาต่างๆ ระบบการวิจัยที่สามารถสร้างองค์ความรู้ใหม่ทั้งเพื่อความเป็นเลิศทาง วิชาการและเพื่อพัฒนาสังคมไทยที่มีมาตรฐานเดียวกัน มหาวิทยาลัยไทยมีระดับการจัดอันดับความเป็นเลิศที่ดีขึ้น ประเทศไทยมีระดับการจัดอันดับขีดความสามารถการแข่งขันที่สูงขึ้น โครงการเครือข่ายเชิงกลยุทธ์เพื่อการพัฒนาบุคลากรอาจารย์ในสถาบันอุดมศึกษาฯ สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (ร่าง 1; 7 พฤศจิกายน 2548)

  20. เครือข่ายเชิงกลยุทธ์ฯเครือข่ายเชิงกลยุทธ์ฯ Input ผู้เชี่ยวชาญ (ป.เอก) นักศึกษา ป.ตรี, ป.โท หลักสูตร ป.เอก ที่ทันสมัย • ทุน ป.เอก ทั้งในและต่างประเทศ • นวัตกรรมผลิตภัณฑ์ • ผลงานทรัพย์สินทางปัญญา “สิทธิบัตร”, etc. • ผลงานตีพิมพ์ทางวิชาการ Output • ทุนหลังปริญญาเอก โจทย์วิจัยที่เป็นปัญหาของประเทศ ทุนอาจารย์รุ่นใหม่ สนับสนุน โดย Maga Project อาจารย์รุ่นกลาง ทุนอาจารย์รุ่นกลาง อาจารย์รุ่นอาวุโส + ผู้เชี่ยวชาญต่างประเทศ ทุนอาจารย์อาวุโส • ดูแลกลุ่มวิจัยเฉพาะด้าน ทุนผู้เชี่ยวชาญต่างประเทศ • เป็นผู้เห็น “ภาพรวม” ของปัญหาและแนวทางแก้ไข • เป็นผู้จัดทำ package ของเครือข่ายพร้อมดัชนีชี้วัด • เป็นผู้บริหารเครือข่ายภายใต้กรรมการเครือข่าย เครือข่ายผู้เชี่ยวชาญ จากทั่วประเทศและระหว่างประเทศ ทุนวิจัยบูรณาการ ค่าตอบแทน ระดับมืออาชีพ อาจารย์รุ่นใหม่ ผู้จัดการเครือข่าย “มืออาชีพ”

  21. มิติของการให้ทุนสำหรับแต่ละ Consortium ผลิตบุคลากร ป.เอก (12,000M) พัฒนาบุคลากร (10,700M) สร้างเครือข่ายกับ ตปท. (1,000M) นวัตกรรมหลักสูตร (8M) รางวัล/ปี (100M) ป.เอก ตปท. 7M ป.เอกร่วม ตปท. 2M ป.เอกในประเทศ 1M นวัตกรรมหลักสูตร 0.2M เชิญผู้เชี่ยวชาญอาวุโสระยะสั้น 0.6M เชิญผู้เชี่ยวชาญระยะยาว2M แลกเปลี่ยน อจ. กับ ตปท. 0.5M จัดประชุมนานาชาติ 0.5M Consortium Award 1M Research Award 0.2M Innovation Award 0.2M 2 Young Researcher Awards/CL 0.2M 10 Student Awards/CL 0.1M ทุนบูรณาการเชิงนวัตกรรม40M/4Y ทุนสร้างเสริมกลุ่มวิจัย 20M/4Y (CE) ทุนพัฒนากลุ่มวิจัย 5M/4Y ทุนวิจัย อจ.รุ่นกลาง 2M/3Y ทุนวิจัย อจ.รุ่นใหม่ 0.6M/2Y ทุนวิจัยหลัง ป.เอกใน/ต่าง ปท. 1M ทุนแลกเปลี่ยนอจ./นศ.ในปท.0.4M/Y M: ล้านบาท; Y: year ครุภัณฑ์ เท่าที่จำเป็น: จัดสรรทุนให้บุคคล/กลุ่มที่มีความพร้อมด้านครุภัณฑ์ก่อน 3,500M โครงการเครือข่ายเชิงกลยุทธ์เพื่อการพัฒนาบุคลากรอาจารย์ในสถาบันอุดมศึกษาฯ สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (ร่าง 1; 7 พฤศจิกายน 2548)

  22. แนวคิดเชิง output…. สลับข้าง???? สร้างความเป็นเลิศ vs ความต้องการของประเทศ ●จำนวนบทความ●จำนวนการอ้างอิง●เงินทุนวิจัย ●ผลผลิต●แก้ปัญหาประเทศ●สิทธิบัตร ความเป็นสากล vs ความเป็นไทย วิจัยขึ้นหิ้ง vs วิจัยขึ้นห้าง พื้นฐาน vs ประยุกต์ โครงการเครือข่ายเชิงกลยุทธ์เพื่อการพัฒนาบุคลากรอาจารย์ในสถาบันอุดมศึกษาฯ สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (ร่าง 1; 7 พฤศจิกายน 2548)

  23. ลักษณะ output โครงการ Wisdom Thailand 2015 สร้างองค์ความรู้สู่ชุมชน/สาธารณะประโยชน์/อุตสาหกรรม สร้างองค์ความรู้สู่ความเป็นเลิศทางวิชาการ ตีพิมพ์ผลงานในวารสารไทย ที่มี Social Impact Factorสูง ตีพิมพ์ผลงานในวารสาร ที่มี Impact Factorสูง เป้าหมายพัฒนาสังคมไทย เป้าหมายสิทธิบัตร/High Tech. Product ผลิต ป.เอกที่มีคุณภาพ ผลิต ป.เอกที่มีคุณภาพ เข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการได้ เข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการได้ ทั้งสองเป้าหมายมีความสำคัญเท่าเทียมกัน โครงการเครือข่ายเชิงกลยุทธ์เพื่อการพัฒนาบุคลากรอาจารย์ในสถาบันอุดมศึกษาฯ สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (ร่าง 1; 7 พฤศจิกายน 2548)

  24. การเชื่อมต่อระหว่างมหาวิทยาลัย - อุตสาหกรรม - หน่วยบ่มเพาะวิสาหกิจของมหาวิทยาลัย(UBI) - หน่วยจัดการทรัยพ์สินทางปัญญา (TLO) ผลตอบแทน มหาวิทยาลัย วิจัยและพัฒนา ผู้ใช้สิทธิบัตร : อุตสาหกรรม & ภาคเอกชน สิทธิบัตร TLO - เทคโนโลยี - Know-how - สิ่งประดิษฐ์ - นวัตกรรม + UBI ผู้ประกอบการใหม่ ธุรกิจใหม่ นักวิจัย นักศึกษา บัณฑิต เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ

  25. Empowerment Evaluation ผังการแบ่งกลุ่มงาน/กิจกรรม องค์กรมหาชน/สถาบัน Academic Unit Consortium CO15 ประสานงานด้านหลักสูตร ประสานงานการผลิตบัณฑิต จัดการทุน ป.เอกทั้งหมด ประสานงานการจ้างชาว ตปท. ประสานงานแลกเปลี่ยน อาจารย์ทั้งในและ ตปท. สร้าง/ดูแลระบบ ITC ประสานงานด้านรางวัล จัดการทุนวิจัยทุกระดับ เชื่อมทุนทุกระดับกับ สกว.สวทช. วช.สวรส. สวก.ฯ ประสานการจัดการทุน บูรณาการเชิงนวัตกรรม กับ CO16 วารสารไทย/ ScienceAsia ตำแหน่งวิชาการรับใช้ สังคมไทย ออกแบบKM สำหรับ CO1-20 CO15: เครือข่ายนวัตกรรมการศึกษาและการจัดการความรู้ CO16: เครือข่ายทรัพย์สินทางปัญญาและการพาณิชย์ฯ โครงการเครือข่ายเชิงกลยุทธ์เพื่อการพัฒนาบุคลากรอาจารย์ในสถาบันอุดมศึกษาฯ สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (ร่าง 1; 7 พฤศจิกายน 2548)

  26. ลักษณะของแต่ละ Consortium (CO) 1. ทำหน้าที่เป็น Targeted Granting Agency 2. ผู้บริหารสูงสุด (CEO) มาจากการสรรหา ทำงาน Full TimeEquivalence (FTE) และมีการประเมิน มีประสบการณ์ด้านการวิจัย&จรรยาบรรณระดับสูง มองเห็นภาพเครือข่ายทั้งในระดับกว้างและลึก??? 3. ขนาดและแนวทางการบริหารของแต่ละ Consortium แตกต่างกันได้และมีการเรียนรู้ร่วมกัน 4. การให้ทุนของแต่ละ CO มีการจัดสรรทุนทุกระดับ ทุน/กิจกรรม ครอบคลุมทั้ง Science/Social Science/ Basic/Apply โครงการเครือข่ายเชิงกลยุทธ์เพื่อการพัฒนาบุคลากรอาจารย์ในสถาบันอุดมศึกษาฯ สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (ร่าง 1; 7 พฤศจิกายน 2548)

  27. ลักษณะ/การได้มา/การคงอยู่ของ CE ลักษณะ/การคงอยู่ของ CE 1. โจทย์วิจัย: มีลักษณะ Targetbased และ มีเอกลักษณ์ มีเป้าหมายร่วมและแผนงานวิจัยที่ผูกเป็นเรื่องเดียวกัน ไม่ใช่การนำโครงการวิจัยย่อยมาเย็บรวมกัน มีการบูรณาการระหว่างศาสตร์และมีขอบเขตที่แคบ/ ชัดเจน ที่สามารถประเมินได้ 2. ลักษณะ/ส่วนประกอบ กลุ่มวิจัยภายใน/ระหว่างมหาวิทยาลัยก็ได้ มีโครงสร้างพื้นฐานและจำนวนนักวิจัยที่มี critical mass 3. นักวิจัยทุกคนต้องมีประสบการณ์และผลงานวิจัยในทิศทางของ CE 4. ผลงาน มี Impact Factor หรือ Social Impact Factor สูง ระบุได้ว่ามาจากแหล่งทุนใดบ้าง (เช่น paper กี่เรื่องที่จะ acknowledge เฉพาะแหล่งทุนนี้/ นศ. คนใดที่ใช้ทุนนี้) 5. ประเมินทุกปี มีการพัฒนาทันการเปลี่ยนแปลงของศาสตร์นั้น 6. PI มีประสบการณ์ด้านการวิจัย&จรรยาบรรณระดับสูง/โดดเด่น โครงการเครือข่ายเชิงกลยุทธ์เพื่อการพัฒนาบุคลากรอาจารย์ในสถาบันอุดมศึกษาฯ สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (ร่าง 1; 7 พฤศจิกายน 2548)

  28. ลักษณะ/การได้มา/การคงอยู่ของ CE (2) ขั้นตอนการได้มา 1. เสนอผ่าน scientific committee ของ CO 2. Scientific committee ของ CO: -ประกาศรับสมัครหัวข้อเดียวกับที่เสนอมาในข้อ 1 -scientific committee ของ CO เชิญให้เขียนโครงการ 3. Peer review -เอกสาร -จัดเสนอผลงานสาธารณะ 4. เปิดรับทุก 4 เดือน การต่อทุน CE 1. ประเมินผ่าน 2. เปิดให้มีการเสนอโครงการในหัวข้อของ CEนั้น 3. ดำเนินการตามขั้นตอน การได้มา โครงการเครือข่ายเชิงกลยุทธ์เพื่อการพัฒนาบุคลากรอาจารย์ในสถาบันอุดมศึกษาฯ สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (ร่าง 1; 7 พฤศจิกายน 2548)

  29. ลักษณะ/การได้มา/การคงอยู่ของทุนนวัตกรรมลักษณะ/การได้มา/การคงอยู่ของทุนนวัตกรรม 1. ดำเนินการเหมือนการได้มาของ CE 2. Output: สิทธิบัตร/ผลงานวิจัยที่มีผลกระทบต่ออุตสาหกรรม/ชุมชน มีเอกชน/ชุมชน พร้อมนำผลงานไปใช้และร่วมลงทุน 4. ประสานการจัดการกับ Consortia #15 และ #16 5. ประสานกับ UBI และ TLO ทั้งการจัดการและการร่วมลงทุน CO15: เครือข่ายนวัตกรรมการศึกษาและการจัดการความรู้ CO16: เครือข่ายทรัพย์สินทางปัญญาและการพาณิชย์ฯ โครงการเครือข่ายเชิงกลยุทธ์เพื่อการพัฒนาบุคลากรอาจารย์ในสถาบันอุดมศึกษาฯ สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (ร่าง 1; 7 พฤศจิกายน 2548)

  30. แผนการดำเนินงานในระยะเริ่มต้นแผนการดำเนินงานในระยะเริ่มต้น ต.ค.--จัดทำ ppt & ร่างกรอบงานต่าง ๆ พ.ย.--workshop คณะทำงานประมาณ 20 คน ธ.ค. --ประชุมชี้แจง *อธิการบดี, คณบดีบัณฑิต (โดย เลขาฯ สกอ.) *ผอ. ส.วิจัยของมหาวิทยาลัย, กลุ่มวิจัยที่มีความพร้อม ธ.ค. --คณะทำงานเข้าพบ/ขอความเห็นผู้ทรงคุณวุฒิ ธ.ค. --คณะทำงานกลุ่มละ 2-3 คนเดินทางชี้แจง/รับฟัง -ม.ค. ข้อเสนอแนะจาก U ต่าง ๆ ธ.ค. --ลง ppt & เอกสารที่จำเป็นใน web เพื่อฟังข้อเสนอแนะ ธ.ค. --ร่าง spec ของ CEOs 21 คน ธ.ค. --ศึกษา/ร่างรูปแบบ องค์กรมหาชนที่จะมาบริหารโครงการ ม.ค. --จัดทำ/ปรับปรุงโครงการโดยละเอียดตามข้อเสนอแนะ โครงการเครือข่ายเชิงกลยุทธ์เพื่อการพัฒนาบุคลากรอาจารย์ในสถาบันอุดมศึกษาฯ สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (ร่าง 1; 7 พฤศจิกายน 2548)

  31. หัวใจของหัวใจ ........ต้องบริหารเพื่อให้ผู้เข้มแข็งได้ประโยชน์....ให้ผู้ที่ยังอ่อนแอ แต่ขวนขวายอดทน  ขยันต่อสู้ทำงานวิจัยจริงจังได้รับประโยชน์ ...และให้ผู้ที่เพียงแค่ต้องการปริญญาหรือผลงานวิจัยโดยไม่ต้องการทำงานวิจัยอย่างจริงจังถูกคัดออกไป....... ขั้นตอนปฏิบัติในการขอทุนเพชราภิเษก ปัญหาการจัดสรรทุนที่ผ่านมา 3 1 เต็มทุกขบวน 2 4 เต็มทุกที่นั่ง โครงการเครือข่ายเชิงกลยุทธ์เพื่อการพัฒนาบุคลากรอาจารย์ในสถาบันอุดมศึกษาฯ สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (ร่าง 1; 7 พฤศจิกายน 2548)

  32. ภาคผนวก 1: รายละเอียดเครือข่าย โครงการเครือข่ายเชิงกลยุทธ์เพื่อการพัฒนาบุคลากรอาจารย์ในสถาบันอุดมศึกษาฯ สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (ร่าง 1; 7 พฤศจิกายน 2548)

  33. ภาคผนวก 1: รายละเอียดเครือข่าย (2) โครงการเครือข่ายเชิงกลยุทธ์เพื่อการพัฒนาบุคลากรอาจารย์ในสถาบันอุดมศึกษาฯ สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (ร่าง 1; 7 พฤศจิกายน 2548)

  34. ภาคผนวก 1: รายละเอียดเครือข่าย (3) โครงการเครือข่ายเชิงกลยุทธ์เพื่อการพัฒนาบุคลากรอาจารย์ในสถาบันอุดมศึกษาฯ สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (ร่าง 1; 7 พฤศจิกายน 2548)

  35. ภาคผนวก 1: รายละเอียดเครือข่าย (4) โครงการเครือข่ายเชิงกลยุทธ์เพื่อการพัฒนาบุคลากรอาจารย์ในสถาบันอุดมศึกษาฯ สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (ร่าง 1; 7 พฤศจิกายน 2548)

  36. ภาคผนวก 1: รายละเอียดเครือข่าย (5) โครงการเครือข่ายเชิงกลยุทธ์เพื่อการพัฒนาบุคลากรอาจารย์ในสถาบันอุดมศึกษาฯ สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (ร่าง 1; 7 พฤศจิกายน 2548)

  37. ภาคผนวก 3: คณะทำงานที่จะเดินทางไปทำความเข้าใจและรับฟังความเห็น ยังมหาวิทยาลัยต่าง ๆ รศ. ดร. อรัญ อินเจริญศักดิ์ ศ. ดร. จิระพันธ์ กรึงไกร รศ. ดร. สุมาลี ตั้งประดับกุล ศ. ดร. ประนอม จันทรโณทัย รศ. ดร.สมโภชน์ ศรีโกสามาตร รศ. ดร. สมศักดิ์ ปัญหา รศ. ดร. ประสาทพร สมิตะมาน รศ. ดร. พงษ์เทพ อัครธนกุล รศ. ดร. ปิยะดา ธีระกุลพิศุทธิ์ รศ. ดร. วันชัย ดีเอกนามกูล รศ. ดร. สุพจน์ หารหนองบัว ศ. ดร. เกตุ กรุดพันธ์ รศ. ดร. วัชรพงษ์ อนันต์ชื่น ผศ. ดร. ธีรเกียรติ์ เกิดเจริญ ศ. นพ. ดร.อภิวัฒน์ มุทิรางกูร ศ. ดร. สิริฤกษ์ ทรงศิวิไล รศ. ดร.วัชระ กสิณฤกษ์ ...... อยากให้ทำความเข้าใจเพิ่มเติมที่ http://gotoknow.orgซึ่งท่านสามารถแสดงความเห็นและเสนอแนะได้ที่นั่น .... เราต้องการความเห็นจากทุกท่านเพื่อมาช่วยกันคิด ช่วยกันทำ โดยมีเป้าหมายเดี่ยวกันคือ ใช้เงินจากภาษีอากรของประชาชนให้เกิดประโยชน์สูงสุด......... ส่งความเห็น/ข้อเสนอแนะของท่านไปที่....... wisdomthailand@gmail.com หรือmegaproject.CHE@gmail.com โครงการเครือข่ายเชิงกลยุทธ์เพื่อการพัฒนาบุคลากรอาจารย์ในสถาบันอุดมศึกษาฯ สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (ร่าง 1; 7 พฤศจิกายน 2548)

More Related