1 / 28

ทิศทางการวิจัย เกี่ยวกับโรคไข้หวัดนกในสัตว์ป่า

นางตวงรัตน์ โพธิ์เที่ยง นักวิทยาศาสตร์ชำนาญการพิเศษ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช. ทิศทางการวิจัย เกี่ยวกับโรคไข้หวัดนกในสัตว์ป่า. การป้องกันและควบคุมการติดเชื้อไข้หวัดใหญ่ในสัตว์ป่า ทิศทางการศึกษาเพื่อป้องกัน และควบคุมการติดเชื้อ ไข้หวัดใหญ่ในสัตว์ป่า

emi-lynn
Download Presentation

ทิศทางการวิจัย เกี่ยวกับโรคไข้หวัดนกในสัตว์ป่า

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. นางตวงรัตน์ โพธิ์เที่ยง นักวิทยาศาสตร์ชำนาญการพิเศษ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ทิศทางการวิจัยเกี่ยวกับโรคไข้หวัดนกในสัตว์ป่า

  2. การป้องกันและควบคุมการติดเชื้อไข้หวัดใหญ่ในสัตว์ป่า • ทิศทางการศึกษาเพื่อป้องกัน และควบคุมการติดเชื้อไข้หวัดใหญ่ในสัตว์ป่า • การประสานความร่วมมือกันระหว่างภาคส่วนต่างๆ ในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคไข้หวัดนกในสัตว์ป่า • การพัฒนา ศึกษาแนวทางการทำงานร่วมกัน

  3. การป้องกันและควบคุมการติดเชื้อไข้หวัดใหญ่ในสัตว์ป่า • กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม • กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช • สำนักอนุรักษ์สัตว์ป่า • สำนักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ 1-16 • หน่วยงานด้านการอนุรักษ์สัตว์ป่า เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขตห้ามล่าสัตว์ป่า สถานีวิจัยสัตว์ป่า สถานีเพาะเลี้ยงสัตว์ป่า

  4. การป้องกันและควบคุมการติดเชื้อไข้หวัดใหญ่ในสัตว์ป่าการป้องกันและควบคุมการติดเชื้อไข้หวัดใหญ่ในสัตว์ป่า • ระหว่างปี พ.ศ. 2547-2554 • สุ่มตัวอย่าง (Cloacal Swab) Tracheal Swab เลือดและซาก จากนกธรรมชาติ • นกอพยพ นกประจำถิ่น • นกที่อยู่ในชุมชน • นกที่อยู่เป็นจำนวนมาก • ปีละ 3,000-4,000 ตัวอย่างในทุกจังหวัด • เก็บตัวอย่าง เดือนเว้นเดือน • การรายงานสถานการณ์ • การประชาสัมพันธ์ การแถลงข่าว

  5. การเก็บตัวอย่างนกนางนวลธรรมดาการเก็บตัวอย่างนกนางนวลธรรมดา

  6. การเก็บตัวอย่างนกนางแอ่นบ้านการเก็บตัวอย่างนกนางแอ่นบ้าน

  7. การเก็บตัวอย่างนกชายเลนการเก็บตัวอย่างนกชายเลน

  8. การเก็บตัวอย่างนกเป็ดน้ำการเก็บตัวอย่างนกเป็ดน้ำ

  9. การเก็บตัวอย่างนกปากห่างการเก็บตัวอย่างนกปากห่าง

  10. นกที่อยู่ในชุมชน นกที่อยู่เป็นจำนวนมาก

  11. ผลการสำรวจและเก็บตัวอย่าง ระหว่างปี พ.ศ. 2547-2554 • เก็บตัวอย่างจำนวน 42,795 ตัวอย่าง จากนก 113,063 ตัว 269 ชนิด • พบนกในธรรมชาติติดเชื้อ 82 ตัวอย่าง จากนก 199 ตัว คิดเป็น 0.2 %

  12. เป็นนกประจำถิ่น 0.18 % ได้แก่ นกกระจอกบ้าน นกพิราบ นกปากห่าง นกยางควาย นกเอี้ยงสาริกา นกเอี้ยงหงอน นกเขาชวา นกกระติ๊ดขี้หมู นกกิ้งโครงคอดำ และนกกกระจอกตาล

  13. เป็นนกอพยพ 0.02 % ได้แก่ นกเป็ดแดง นกแซงแซวหางปลา นกชายเลนน้ำจืด นกหัวโตขาดำ และนกนางนวลธรรมดา • การพบเชื้อสอดคล้องกับช่วงเวลาที่มีการระบาดของไข้หวัดนกในสัตว์ปีก

  14. จำนวน ชนิดและตัวอย่าง ที่พบเชื้อไข้หวัดนกในนกธรรมชาติ

  15. จำนวน ชนิดและตัวอย่าง ที่พบเชื้อไข้หวัดนกในนกธรรมชาติ • นกที่ติดเชื้อไข้หวัดนกร้อยละ 89.5 เป็นนกที่หากินตามพื้น และอาศัยในบริเวณเดียวกับพื้นที่ที่พบมีการระบาดของเชื้อไข้หวัดนกในไก่หลังบ้าน เป็ดไล่ทุ่ง และในฟาร์มไก่ที่เป็นฟาร์มเปิด

  16. ท้องที่ที่พบนกธรรมชาติติดเชื้อไข้หวัดนกระหว่าง พ.ศ. 2547-2551 2547 2548 2549 2550 2551

  17. ท้องที่ที่เคยพบมีการระบาดในสัตว์ปีก(ปศุสัตว์) ข้อมูลจากกรมปศุสัตว์ http://www.dld.go.th พื้นที่ที่เคยพบมีการระบาด ในสัตว์ปีก(ปศุสัตว์) ระหว่างปี 2547 - 2549 803 ตำบล

  18. ข้อมูลจาการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับโรคไข้หวัดนกในนกธรรมชาติข้อมูลจาการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับโรคไข้หวัดนกในนกธรรมชาติ • การสำรวจ และเฝ้าระวังโรคไข้หวัดนกในนกธรรมชาติ โดยกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช • ร่วมกับมหาวิทยาลัยมหิดลโดยการศึกษาปล่อยเชื้อไข้หวัดนก H5N1 ในนกเป็ดแดงนกปากห่าง และนกพิราบ • ร่วมกับกรมปศุสัตว์ ในการสำรวจ และเฝ้าระวังโรคไข้หวัดนกในนกอพยพและนกประจำถิ่น • ร่วมกับคณะสัตวแพทย์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ตรวจสอบรหัสพันธุกรรมของเชื้อไข้หวัดนก ในช่วงที่มีการระบาดในปี พ.ศ. 2547

  19. กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ศึกษาเส้นทางอพยพของนกอพยพชนิดที่สำคัญ โดยการติดเครื่องส่งสัญญาณวิทยุระบบดาวเทียมและการติดเครื่องหมายในนกอพยพ

  20. ทิศทางการศึกษาเพื่อป้องกัน และควบคุมการติดเชื้อไข้หวัดใหญ่ในสัตว์ป่า • การศึกษาจำนวนประชากรและการแพร่กระจายของนกที่อาศัยรวมฝูงกันเป็นจำนวนมาก

  21. ศึกษาจำนวนประชากรและการแพร่กระจายของนกอพยพที่มีความสำคัญศึกษาจำนวนประชากรและการแพร่กระจายของนกอพยพที่มีความสำคัญ

  22. ศึกษาวิธีการ ควบคุมประชากรของนกชนิดที่มีความเสี่ยงต่อการแพร่ระบาดของโรคไข้หวัดนก

  23. การประสานความร่วมมือกันระหว่างภาคส่วนต่างๆ ในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคไข้หวัดนก • ร่วมมือกับกรมปศุสัตว์ในการดำเนินโครงการ X-ray เพื่อตรวจหาเชื้อไข้หวัดนกในพื้นที่ทั่วประเทศ • มีการรายงานผลการเก็บตัวอย่างให้กรมปศุสัตว์ทราบเป็นประจำทุกเดือน • เมื่อตรวจพบเชื้อไข้หวัดนกในนกธรรมชาติ จะประสานงานและแจ้งให้หน่วยงานต่างๆทราบทันที ได้แก่ กรมควบคุมโรค กรมปศุสัตว์ ผู้ว่าราชการจังหวัด ปศุสัตว์จังหวัด สาธารณสุขจังหวัด

  24. ร่วมมือกับหน่วยงานในพื้นที่ ทำการฉีดพ่นยาฆ่าเชื้อ เก็บซากนกที่ตายไปทำลาย สะสางทำความสะอาดพื้นที่ และประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนในพื้นที่รับทราบ

  25. การพัฒนา ศึกษาแนวทางการทำงานร่วมกัน • เนื่องจากสัตว์ป่า โดยเฉพาะนกเกือบทุกชนิดเป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง การดัก จับ ล่า ทำลาย กับตัวสัตว์ รัง และไข่ของสัตว์ป่า เป็นการกระทำที่ผิดกฎหมาย ต้องกระทำโดยพนักงานเจ้าหน้าที่และเพื่อการศึกษาวิจัยทางวิชาการ • สถาบันการศึกษาหรือหน่วยงานที่มีความพร้อมของห้องปฏิบัติการและบุคลากรในการตรวจพิสูจน์ไวรัสไข้หวัดนก และไวรัสชนิดอื่น ตลอดจนเรื่องของระบาดวิทยา เพื่อประโยชน์ในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคไข้หวัดนก รวมทั้งโรคอุบัติใหม่ที่มีสัตว์ป่าเป็นพาหะนำโรคหรือแหล่งรังโรค ที่จะเกิดในอนาคต

  26. องค์การปกครองส่วนท้องถิ่นในการร่วมกัน สำรวจประชากรนกประจำถิ่น ที่อยู่อาศัยสร้างรังเป็นกลุ่ม รวมถึงการศึกษาเพื่อควบคุมประชากร ตลอดจนพัฒนากลไกความร่วมมือให้ความรู้กับประชาชน รวมทั้งการเตือนภัย จากโรคที่มาจากสัตว์ป่า สัตว์ต่างถิ่น ให้แก่ประชาชน เพื่อการป้องกันตนเองและสัตว์เลี้ยง

  27. สวัสดี

More Related