1 / 120

การกระจายอำนาจด้านสาธารณสุข : รูปแบบและแนวทางการขับเคลื่อนเชิงยุทธศาสตร์

การกระจายอำนาจด้านสาธารณสุข : รูปแบบและแนวทางการขับเคลื่อนเชิงยุทธศาสตร์. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สงครามชัย ลีทองดี คณบดีคณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม songkramchai@gmail.com 080-7429991. เกี่ยวกับวิทยากร. สาธารณสุขศาสตรบัณฑิต มสธ. วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (สาธารณสุขศาสตร์) ม.มหิดล

Download Presentation

การกระจายอำนาจด้านสาธารณสุข : รูปแบบและแนวทางการขับเคลื่อนเชิงยุทธศาสตร์

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การกระจายอำนาจด้านสาธารณสุข: รูปแบบและแนวทางการขับเคลื่อนเชิงยุทธศาสตร์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สงครามชัย ลีทองดี คณบดีคณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม songkramchai@gmail.com 080-7429991

  2. เกี่ยวกับวิทยากร สาธารณสุขศาสตรบัณฑิต มสธ. วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (สาธารณสุขศาสตร์) ม.มหิดล บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต M.B.A. ม. ขอนแก่น นิติศาสตรบัณฑิต ม. รามคำแหง Ph.D.Health Science, Swansea University, UK นักเรียนทุนรัฐบาลไทย (ก.พ.) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สงครามชัย ลีทองดี คณบดีคณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม เคยดำรงตำแหน่ง ผู้ช่วยอธิการบดี รองคณบดีหัวหน้าสาขา ใน มมส ผู้ริเริ่มก่อตั้ง คณะสาธารณสุขศาสตร์ มมส อาจารย์วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จ. ขอนแก่น ช่วยราชการ กองสาธารณสุขภูมิภาค, กองแผนงาน, สภาบันพระบรมราชชนก กระทรวงสาธารณสุข songkramchai@gmail.com, 080-7429991

  3. กรอบนำเสนอ • บทนำ • การบริหารราชการและการกระจายอำนาจ • การปกครองส่วนท้องถิ่นพัฒนาการและการปฏิรูป • รูปแบบและแนวทางการกระจายอำนาจด้านสาธารณสุข • ยุทธศาสตร์และแนวทางการกระจายอำนาจด้านสาธารณสุข • สรุป

  4. การบริหารราชการและการกระจายอำนาจการบริหารราชการและการกระจายอำนาจ

  5. แผนภาพแสดงระบบการบริหารราชการไทยแผนภาพแสดงระบบการบริหารราชการไทย

  6. การบริหารราชการแผ่นดินการบริหารราชการแผ่นดิน การบริหารราชการส่วนกลาง สำนักนายก กระทรวง กรม บริหารราชการส่วนภูมิภาค บริหารราชการส่วนท้องถิ่น จังหวัด ส่วนราชการประจำจังหวัด อบจ. กทม. เทศบาล เมือง พัทยา อำเภอ ส่วนราชการประจำอำเภอ อบต. ภารกิจรัฐ ภารกิจท้องถิ่น

  7. การกระจายอำนาจ(Decentralization) หมายถึงการกระจายหรือแจกจ่ายอำนาจออกจากศูนย์กลาง ซึ่งมีหลากหลายรูปแบบ ได้แก่ การกระจายอำนาจ การรวมอำนาจไปไว้ในบางแห่ง หรือการจัดระดับความสามารถในการตัดสินใจ (Wolman: 1987) ความหมายการกระจายอำนาจ

  8. การลดอำนาจส่วนกลาง สู่ภูมิภาค (Deconcentration) เพิ่มความคล่องตัวบริหารจัดการ การมอบหน้าที่ (Delegation) ให้แก่องค์กรรัฐ หรือองค์กรกึ่งรัฐที่เป็นอิสระ(Autonomous body) เพื่อประสิทธิภาพสูงสุด การกระจายอำนาจการปกครองให้รัฐบาลส่วนท้องถิ่น (Devolution) เพื่อให้ประชาชนมีส่วนร่วม การมอบอำนาจหน้าที่ให้แก่องค์กรหรือหน่วยงานเอกชน (Privatization)โดยรัฐควบคุมตรวจสอบ ประเภทของการกระจายอำนาจ

  9. เป็นการลดความเข้มข้นของอำนาจส่วนกลางไปสู่ส่วนปลายเป็นการลดความเข้มข้นของอำนาจส่วนกลางไปสู่ส่วนปลาย เป็นการจัดสรรอำนาจหน้าที่บางประการไปให้องค์กรในส่วนปลายทำหน้าที่แทนแต่มักจะไม่ได้มีการให้อำนาจการตัดสินใจทั้งหมดไปให้ มีข้อวิจารณ์ว่าไม่ใช่การกระจายอำนาจอย่างแท้จริง เพราะไม่เปิดโอกาสมากนักที่ให้องค์กรในส่วนปลายมีอำนาจที่แท้จริง ตัวอย่างเช่น การจัดระบบการบริหารราชการส่วนภูมิภาคของประเทศไทย Deconcentration

  10. เป็นการมอบหมายอำนาจในการบริหารและการตัดสินใจไปให้หน่วยงานหรือองค์กรมีอำนาจแทน เรียกอีกอย่างว่าการมอบหมายงาน มีทั้งการมอบอำนาจไปที่หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคกึ่งราชการ มีข้อวิจารณ์ว่าอำนาจหน้าที่นั้นๆ ยังอยู่ที่ส่วนกลางเพียงได้มอบหมายงานบางอย่างออกไปเท่านั้น มักจะมีปัญหาในการมอบอำนาจระหว่างผู้มอบและผู้รับมอบอยู่เสมอ Delegation

  11. เป็นการมอบหมายอำนาจและหน้าที่ไปให้หน่วยงานใหม่ โดยหน่วยงานกลางไม่เข้าไปเกี่ยวข้องอีก เป็นการที่หน่วยงานกลางละทิ้งอำนาจหน้าที่บางอย่างไปให้หน่วยงานใหม่อย่างสิ้นเชิง มีข้อวิจารณ์ว่า รัฐกลางจะเสียอำนาจควบคุมและส่วนปลายจะไม่เข้าใจและไม่สามารถดำเนินหน้าที่และความรับผิดชอบที่ได้รับมอบหมายต่อไปได้ กรณีตัวอย่าง ได้แก่ การปกครองในรูปแบบการบริหารราชการส่วนท้องถิ่นของไทย Devolution

  12. เป็นการโอนอำนาจหน้าที่ของรัฐกลางไปให้หน่วยงานใหม่ที่ไม่ใช่หน่วยงานภาครัฐทำหน้าที่แทนเป็นการโอนอำนาจหน้าที่ของรัฐกลางไปให้หน่วยงานใหม่ที่ไม่ใช่หน่วยงานภาครัฐทำหน้าที่แทน องค์การที่ได้รับมอบอาจจะเป็นหน่วยงานภาคเอกชน หรือหน่วยงานที่จัดตั้งขึ้นใหม่ที่มิใช่หน่วยงานราชการ ข้อวิจารณ์ คือเป็นเรื่องใหม่และหาหน่วยงานที่มีความเชี่ยวชาญเฉพาะเรื่องนั้นโดยตรงได้ยาก กรณีตัวอย่างได้แก่ การตั้งองค์กรมหาชน การตั้งหน่วยบริหารจัดการพิเศษ SDU Pivatisation

  13. การปกครองส่วนท้องถิ่นพัฒนาการและการปฏิรูปการปกครองส่วนท้องถิ่นพัฒนาการและการปฏิรูป

  14. พัฒนาการของการบริหารท้องถิ่นไทยพัฒนาการของการบริหารท้องถิ่นไทย ปี 2498 จัดตั้งองค์การบริหารส่วนจังหวัด ปี 2499 จัดตั้งองค์การบริหารส่วนตำบล (อบต.) ปี 2499 จัดตั้งสภาตำบล ปี 2515 ยุบเลิก อบต. ปี 2518 จัดตั้งกรุงเทพมหานครเป็นการปกครองท้องถิ่นรูปพิเศษ ปี 2521 จัดตั้งเมืองพัทยาเป็นการปกครองท้องถิ่นรูปพิเศษ ปี 2537 รื้อฟื้น อบต. เป็นจุดเริ่มต้นการกระจายอำนาจสู่ท้องถิ่น ปี 2540 รธน. ปี 2540 ให้รัฐต้องกระจายอำนาจให้ท้องถิ่น ปี 2542 เปลี่ยนแปลงฐานะสุขาภิบาลเป็นเทศบาลตำบล ปี 2544 กระจายภารกิจ/รายได้ให้ท้องถิ่น ปี 2550 รธน. ปี 2550 ปรับปรุงเรื่องกระจายอำนาจให้ท้องถิ่น ปี 2557 ธรรมนูญชั่วคราว มีบทบัญญัติให้ปฏิรูปการปกครองท้องถิ่น

  15. ปัจจัยที่นำไปสู่การกระจายอำนาจใน ปี 2537 • แนวคิดผู้นำมาจากการเลือกตั้งของประชาชน • การหดตัวของอำนาจทหารและข้าราชประจำภายหลังเหตุการณ์พฤษภา 35 • นักการเมืองแข่งขันเชิงนโยบายในการหาเสียง • ข้อเรียกร้องให้มีการเลือกผู้ว่าราชการจังหวัดโดยตรง

  16. การปกครองท้องถิ่นไทยยุคการกระจายอำนาจตามรัฐธรรมนูญ ปี 2540 การปฏิรูปที่หนึ่ง: การแก้ไขกฎหมายให้สอดคล้องกับรัฐธรรมนูญ 1. ออก พ.ร.บ. เปลี่ยนแปลงฐานะของสุขาภิบาลเป็นเทศบาล พ.ศ. 2542 2. แก้ไข พ.ร.บ. สภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. 2537 (ฉบับที่ 3) โดยเฉพาะโครงสร้างสมาชิกสภา อบต. ให้มาจากการเลือกตั้งทั้งหมด 3. แก้ไข พ.ร.บ. องค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540 4. แก้ไข พ.ร.บ. เทศบาล พ.ศ. 2496 5. ออก พ.ร.บ. ระเบียบบริหารราชการเมืองพัทยา พ.ศ. 2542ให้มีนายกเมืองพัทยา มาจากการเลือกตั้งโดยตรงของประชาชน

  17. การปกครองท้องถิ่นไทยยุคการกระจายอำนาจตามรัฐธรรมนูญ ปี 2540 การปฏิรูปที่สอง: กฎหมายตามรัฐธรรมนูญ 1. พ.ร.บ. กำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542 2. พ.ร.บ. ระเบียบบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542 3. พ.ร.บ.ว่าด้วยการเข้าชื่อเสนอข้อบัญญัติท้องถิ่น พ.ศ. 2542 4. พ.ร.บ.ว่าด้วยการลงคะแนนเสียงเพื่อถอดถอนสมาชิกสภาท้องถิ่นและผู้บริหารท้องถิ่น พ.ศ. 2542 5. พ.ร.บ. การเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นและผู้บริหารท้องถิ่น พ.ศ. 2545

  18. ทิศทางองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 1. หลักความเป็นอิสระแก่ท้องถิ่น องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นว่าเป็นหน่วยงานหลักในการจัดทำบริการสาธารณะโดยรัฐมีหน้าที่ส่งเสริมการดำเนินการให้มีความอิสระ 2. การกำกับดูแลท้องถิ่น องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต้องกำหนดมาตรฐานกลาง 3. มีการกำหนดการส่งเสริมและช่วยเหลือให้ อปท. มีความเข้มแข็งในการบริหารงาน

  19. ทิศทางองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 4. โครงสร้างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น - การจัดตั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษมีโครงสร้างการบริหารที่แตกต่างไปจากองค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นแบบปกติ 5. ได้กำหนดการเข้าชื่อถอดถอนสมาชิกสภาท้องถิ่นและผู้บริหารท้องถิ่น 6. ประชาชนในท้องถิ่นมีสิทธิมีส่วนร่วมในการบริหารกิจการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยประชาชนสามารถมีส่วนร่วมในการบริหาร การแสดงความคิดเห็น การออกเสียงประชามติ และการตรวจสอบผลการปฏิบัติงาน 7. การบริหารงานบุคคลขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พนักงานส่วนท้องถิ่นเป็นข้าราชการส่วนท้องถิ่น

  20. ประเภทของอปท. ในปัจจุบัน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รูปแบบทั่วไป รูปแบบพิเศษ อบจ. พัทยา กทม. เทศบาล อบต.

  21. จำนวนขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแต่ละประเภทจำนวนขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแต่ละประเภท

  22. ความสัมพันธ์ระหว่างภารกิจความสัมพันธ์ระหว่างภารกิจ ภารกิจรัฐ ภารกิจท้องถิ่น • รักษาความสงบเรียบร้อย • ป้องกันประเทศ • การต่างประเทศ • การอำนวยความยุติธรรม • การอุตสาหกรรม • การไฟฟ้า การประปา การขนส่ง • การศึกษา • การสาธารณสุข • ศิลปวัฒนธรรม • กำจัดขยะมูลฝอย • รักษาความสะอาด • ให้มีน้ำสะอาดหรือการประปา • การตลาด • โรงฆ่าสัตว์ • ให้มีและบำรุงทางบก ทางน้ำ • ดูแลรักษาที่สาธารณะ

  23. การกระจายอำนาจสู่ท้องถิ่นการกระจายอำนาจสู่ท้องถิ่น ตามรัฐธรรมนูญ2540 • โครงสร้างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ม. 285) • การเพิ่มอำนาจท้องถิ่น (ภารกิจอำนาจหน้าที่ (ม. 284) • การจัดความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับท้องถิ่น (ม. 284) • การมีส่วนร่วมของประชาชนในองค์กรปกครอง • ส่วนท้องถิ่น (ม. 286, ม. 287) • การจัดให้มีคณะกรรมการบริหารบุคคลส่วนท้องถิ่น • (ม. 288)

  24. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สภา ท้องถิ่น ผู้บริหารท้องถิ่น • ส. อบจ. • ส. อบต. • ส. เทศบาล • นายก อบจ. • นายก อบต. • นายกเทศมนตรี มาจากการเลือกตั้งของประชาชนโดยตรง มาจากการเลือกตั้ง พนักงานและข้าราชการส่วนท้องถิ่น

  25. การกระจายอำนาจสู่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นการกระจายอำนาจสู่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น คณะกรรมการกระจายอำนาจให้แก่ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หน่วยราชการ ท้องถิ่น ผู้ทรงคุณวุฒิ 12 คน 12 คน 12 คน การจัดทำแผนการกระจายอำนาจสู่ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น กำหนดอำนาจหน้าที่ในการจัดระบบ การบริการสาธารณะ การจัดสรรสัดส่วนภาษี อากร ระหว่างรัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

  26. คณะกรรมการมาตรฐานการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่นคณะกรรมการมาตรฐานการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น คณะกรรมการกลาง ข้าราชการองค์การ บริหารส่วนจังหวัด คณะกรรมการกลาง พนักงานเทศบาล คณะกรรมการกลาง พนักงานส่วนตำบล คณะกรรมการ ข้าราชการองค์การ บริหารส่วนจังหวัด คณะกรรมการ พนักงานเทศบาล คณะกรรมการ พนักงานส่วนตำบล คณะกรรมการ พนักงานเมืองพัทยา คณะกรรมการ ข้าราชการ กทม.

  27. ภารกิจของรัฐ 1. การป้องกันประเทศ 2. การรักษาความสงบเรียบร้อย 3. การต่างประเทศ 4. การอำนวยความยุติธรรม 5. การพัฒนาเศรษฐกิจโดยรวม 6. การเงินการคลัง 7. การพัฒนาอุตสาหกรรม

  28. มิติใหม่การกระจายอำนาจมิติใหม่การกระจายอำนาจ การเพิ่มอำนาจ หน้าที่องค์กร ปกครองส่วน ท้องถิ่น การเงิน งบประมาณ ท้องถิ่น ประสิทธิภาพ ในการบริหาร ท้องถิ่น ความเป็นอิสระ/ การกำหนด นโยบาย/ การบริหารจัดการ/ บริการสาธารณะ ปรับบทบาท ส่วนราชการ รายได้ ท้องถิ่น การมีส่วนร่วม

  29. ยุทธศาสตร์การบริหาร อปท. เพิ่มประสิทธิภาพ องค์กร อปท. การจัดหารายได้ และแสวงหา ทุน/ทรัพยากร การประสานงาน ทำงานงานแบบ สหการ พัฒนาบุคลากร ประสิทธิภาพ การเงิน การคลัง ความร่วมมือ จัดบริการ สมาชิกสภา ภาษี ผู้บริหารท้องถิ่น ภายใน-ภายนอก กิจการพาณิชย์

  30. ปัจจัยความสำเร็จการบริหารปัจจัยความสำเร็จการบริหาร ภายใน อปท. ภายนอก อปท. ผู้บริหารและสมาชิก บุคลากร ทุน/ทรัพยากร รายได้ การมีส่วนร่วม ข้อมูลข่าวสาร ศูนย์ทางวิชาการ การประสานความร่วมมือ เครือข่าย

  31. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 2 ชั้น (Two Tier) 1. รับผิดชอบภารกิจภาพรวม ครอบคลุมทั้งจังหวัด 2. ภารกิจที่ระดับล่างทำไม่ได้ 3. ประสานและสนับสนุนระดับล่างให้เกิดการบูรณาการ ระดับบน Upper Tier 1. ภารกิจเฉพาะพื้นที่ในเขตของตนเอง 2. จัดทำภารกิจตามกฎหมายกำหนด 3. ร้องขอสนับสนุนจากระดับบน ระดับล่าง Lower Tier

  32. ระดับบน Upper Tier อบจ. ระดับล่าง Lower Tier เทศบาลต่าง ๆ ในจังหวัด อบต. ต่าง ๆ ในจังหวัด

  33. โครงสร้างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นโครงสร้างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โครงสร้างการปกครองท้องถิ่นแบบชั้นเดียว One Tier โครงสร้างการปกครองท้องถิ่นแบบหลายชั้น Two Tier Three Tier

  34. โครงสร้างระบบบริหารราชการแผ่นดินโครงสร้างระบบบริหารราชการแผ่นดิน ระบบชั้น 3 2 การบริหาร ส่วนกลาง Centralization การบริหาร ส่วนภูมิภาค Decontralization การบริหาร ส่วนท้องถิ่น Decentralization การบริหารราชการ ส่วนท้องถิ่น การบริหารราชการ ส่วนกลาง

  35. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น • พื้นที่บริการสาธารณะ (มีเขตปกครองชัดเจน) • ประชากรที่เหมาะสมในการให้บริการ • งบประมาณรายได้ของตนเองอย่างเพียงพอ • มีอำนาจหน้าที่เหมาะสมต่อการให้บริการ • ฐานะองค์กรเป็นนิติบุคคล (โดยกฎหมาย) • โครงสร้างรูปแบบการปกครองท้องถิ่น • การจัดความสัมพันธ์ระหว่างรัฐ (ส่วนกลาง) กับองค์กร • ท้องถิ่น

  36. ปัญหาอุปสรรค ในการปกครองท้องถิ่น ระบบรวมศูนย์อำนาจ ความสนใจของรัฐบาล การขยายตัวของระบบราชการ ทิศทาง นโยบายรัฐ ความรู้ความเข้าใจของพลเมืองใน การปกครองท้องถิ่น การพึ่งพิงรัฐ

  37. อปท. กับบริบทสิ่งแวดล้อมภายนอก สิ่งแวดล้อม นโยบาย ส่วนราชการ รัฐ รัฐบาล สิ่งแวดล้อมภายนอกและโลกาภิวัฒน์ องค์กร อปท. สถาบัน ชุมชน สถาบัน ชุมชน การมีส่วนร่วม ประชาชน กลุ่ม องค์กร

  38. ผู้ปกครอง ผู้ถูกปกครองผู้ปกครอง ผู้ถูกปกครอง ผู้มีอำนาจ ผู้ไม่มีอำนาจ ผู้กำหนดชะตากรรม ผู้รอรับชะตากรรม พลเมือง (Citizen) VS ประชาชน(People)

  39. มองสถานะต่ำ – สูง ผู้ด้อย – ผู้น้อย คอยรับความช่วยเหลือ ยอมรับใช้ แสวงหาอุปถัมภ์ มีศักดิ์ศรี ฐานะเท่าเทียม ไม่ยอมให้ครอบงำ ไม่ใช่ไพร่ มีส่วนร่วม รู้จักสิทธิหน้าที่ ประชาชน People พลเมือง Citizenship VS

  40. กำหนดให้มีการปฏิรูป ในทุกด้าน เกิดคำถามว่าจะเอาอย่างไรกับการบริหารราชส่วนท้องถิ่น

  41. รูปแบบและแนวทางการกระจายอำนาจด้านสาธารณสุขรูปแบบและแนวทางการกระจายอำนาจด้านสาธารณสุข

  42. ลำดับเหตุการณ์การกระจายอำนาจด้านสุขภาพของไทยลำดับเหตุการณ์การกระจายอำนาจด้านสุขภาพของไทย พรบ.กำหนดแผนและ ขั้นตอนกระจายอำนาจฯ พรบ.กำหนดแผนและ ขั้นตอนกระจายอำนาจฯ ฉบับ ๒ รธน นโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า แผนการกระจายอำนาจ ฉบับ ๒ แผนการกระจายอำนาจ ฉบับ ๑ ๒๕๕๓ ๒๕๔๐ ๒๕๔๒ ๒๕๔๓ ๒๕๔๔ ๒๕๔๙ ๒๕๕๑ ช่วงที่ ๑: ๒๕๔๓-๒๕๔๗ ช่วงที่ ๒: ๒๕๔๘-๒๕๕๓

  43. รูปแบบการกระจายอำนาจด้านสุขภาพ ก่อนมีกฎหมายว่าการกระจายอำนาจ เป็นการกระจายเป็นเรื่องๆ ตามความสนใจและการแก้ปัญหาเฉพาะหน้า หลังมีกฎหมายว่าการกระจายอำนาจ มีกฎหมายกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่ อปท. การถ่ายโอนภารกิจ การโอนหน่วยงาน การจัดระบบและรูปแบบการจัดการแบบใหม่

  44. ก่อนมีกฎหมายว่าด้วยการกำหนดแผนฯก่อนมีกฎหมายว่าด้วยการกำหนดแผนฯ

  45. ตัวอย่างการกระจายอำนาจก่อนมีกฎหมายว่าด้วยการกำหนดแผนฯตัวอย่างการกระจายอำนาจก่อนมีกฎหมายว่าด้วยการกำหนดแผนฯ • การจัดโครงสร้างส่วนภูมิภาค โดยกระจายอำนาจให้ นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัด ในปี2518 • การจัดสรรงบประมาณหมวด 300 ให้ สสจ. • การจัดสรรงบประมาณให้องค์กรพัฒนาเอกชนและองค์กรชุมชนท้องถิ่น • การตั้งสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) พ.ศ. 2535 • การจัดตั้งกองทุนสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) พ.ศ. 2543 • การมอบอำนาจให้ผู้อื่นปฏิบัติหน้าที่ด้านเวชกรรมของแพทย์

  46. การกระจายอำนาจโดยการให้บทบาทแก่ราชการส่วนท้องถิ่นมีบทบาทในการจัดการด้านอนามัยและการสาธารณสุข ตาม พ.ร.บ. การสาธารณสุข พ.ศ. 2535 นับว่าเป็นรูปแบบการกระจายอำนาจที่เป็น แบบ Devolution มากที่สุด การกระจายอำนาจด้านสุขภาพสู่ท้องถิ่น….

  47. ภายหลังมีกฎหมายกำหนดแผนฯภายหลังมีกฎหมายกำหนดแผนฯ

  48. Model 1 การถ่ายโอนภารกิจให้ อปท.

  49. การกระจายอำนาจด้านสุขภาพให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นการกระจายอำนาจด้านสุขภาพให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น การลงนามระหว่าง กสธ และ มท. ในการถ่ายโอนสถานีอนามัย

More Related