1 / 38

ยุทธศาสตร์เงินทุนหมุนเวียนเพื่อการชลประทาน

ยุทธศาสตร์เงินทุนหมุนเวียนเพื่อการชลประทาน. www.rid.go.th. นายอัตถพงษ์ ฉันทานุมัติ ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร. การวิเคราะห์สภาพแวดล้อม เงินทุนหมุนเวียนเพื่อการชลประทาน. W. จุดอ่อน (Weaknesses) บุคลากรขาดทักษะ ความรู้ ความเข้าใจในการปฏิบัติงานเงินทุน และขาดแรงจูงใจ

emmet
Download Presentation

ยุทธศาสตร์เงินทุนหมุนเวียนเพื่อการชลประทาน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ยุทธศาสตร์เงินทุนหมุนเวียนเพื่อการชลประทานยุทธศาสตร์เงินทุนหมุนเวียนเพื่อการชลประทาน www.rid.go.th นายอัตถพงษ์ ฉันทานุมัติ ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร

  2. การวิเคราะห์สภาพแวดล้อม เงินทุนหมุนเวียนเพื่อการชลประทาน W จุดอ่อน (Weaknesses) บุคลากรขาดทักษะ ความรู้ ความเข้าใจในการปฏิบัติงานเงินทุน และขาดแรงจูงใจ ผู้บริหารไม่ได้ให้ความสำคัญในการเก็บค่าน้ำ และขาดความเข้าใจในการดำเนินงาน ไม่มีหน่วยงานเงินทุนที่รับผิดชอบโดยตรงในส่วนภูมิภาค ขาดแคลนบุคลากร ขาดการบังคับใช้กฎหมายอย่างเคร่งครัด ไม่เข้มแข็ง และไม่ครอบคลุม ขาดการประสานงาน/ประชาสัมพันธ์ ให้ผู้เกี่ยวข้องเข้าใจกฎระเบียบ และการขออนุญาตการใช้น้ำ ทั้งผู้ให้บริการและผู้รับบริการ ขั้นตอน/กระบวนงานการจัดทำและการออกกฎกระทรวงตามมาตรา 8 ยุ่งยากและซับซ้อน ขาดการตรวจสอบ / บำรุงรักษามิเตอร์วัดน้ำ ทำให้เสียบ่อย อัตราค่าชลประทานต่อหน่วยต่ำ กฎระเบียบไม่ทันสมัย และไม่สอดคล้องกับการปฏิบัติงาน มีหนี้ค้างชำระ หนี้สูญมาก ไม่มีนโยบายหรือระเบียบที่ชัดเจนในการติดตามหนี้ คู่มือการปฏิบัติงานไม่ชัดเจนทำให้ไม่สามารถปฏิบัติได้อย่างถูกต้อง ขาดการนำเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้ในการปฏิบัติงาน และขาดแคลนเครื่องมืออุปกรณ์ ปริมาณน้ำในบางแห่งมีอยู่จำกัดและขาดความทั่วถึง ขาดการตรวจสอบติดตามประเมินการปฏิบัติงานอย่างเป็นระบบ ขาดความสะดวกในการชำระเงิน ระเบียบเงินทุนหมุนเวียน เพื่อการชลประทานกำหนดให้ชำระที่หน่วยงาน (ข้อ 26 ปี 2547) ขาดการตรวจสอบระบบการจัดเก็บค่าชลประทาน และขาดระบบการจัดเก็บที่ดี ขาดประสิทธิภาพเกี่ยวกับระบบส่งน้ำ และคุณภาพน้ำ • จุดแข็ง (Strengths) • มีแหล่งน้ำต้นทุน • มีเงินกองทุนสะสมจำนวนมาก • มีกฎหมาย/ระเบียบรองรับในการจัดเก็บค่าน้ำ • หน่วยงานรองรับครอบคลุมทั่วประเทศ • การขอใช้เงินทุนมีความยุ่งยากน้อยกว่าการขอใช้จ่ายจากงบประมาณปกติ • ไม่มีคู่แข่ง • เงินทุนสามารถสนับสนุนในภารกิจที่ไม่ได้รับงบประมาณปกติได้ • มีแผนการบริหารจัดการน้ำที่ดี • มีเครือข่ายกลุ่มผู้ใช้น้ำช่วยในการบริหารจัดการน้ำให้มีประสิทธิภาพ • บุคลากรมีความรู้ความสามารถในด้านการบริหารจัดการน้ำ S O • โอกาส (Opportunities) • น้ำเป็นสิ่งจำเป็นทั้งภาคอุตสาหกรรม เกษตรกรรม อุปโภคบริโภค ประปา และการผลิตกระแสไฟฟ้าจากพลังงานน้ำ ทำให้ความต้องการใช้น้ำมีปริมาณมากขึ้น • มีพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง และกฎ ระเบียบต่างๆ รองรับการปฏิบัติงาน • มีการพัฒนาเทคโนโลยีเพิ่มปริมาณน้ำ (ฝนหลวง) • รัฐมีนโยบายสนับสนุนการพัฒนาแหล่งน้ำ 25 ลุ่มน้ำ และสภาพภูมิประเทศเอื้อต่อการพัฒนาแหล่งน้ำ • ขัอจำกัด (Threats) • อิทธิพลการเมืองท้องถิ่นเข้ามามีบทบาททำให้เก็บค่าน้ำไม่ได้ • ปริมาณน้ำต้นทุนในแต่ละปี ไม่แน่นอน • ผู้ใช้น้ำอาศัยช่องว่างทางกฎหมายหลีกเลี่ยงการชำระค่าน้ำ • เกิดการขัดแย้งระหว่างภาคเกษตรกรรมและอุตสาหกรรม • ผู้ใช้น้ำต่อต้านการใช้มาตรา 8 เนื่องจากเคยใช้ฟรี • องค์กรเอกชนต่อต้านการพัฒนาแหล่งน้ำ และสังคมขาดความเข้าใจ • องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นไม่ยอมชำระเงิน • มีกฎหมายซ้ำซ้อนในแหล่งน้ำเดียวกันทำให้เกิดความยุ่งยากในการออกกฎกระทรวงตามมาตรา 8 • วิธีการในการคืนภาษี ไม่เป๋นมาตรฐานเดียวกัน ที่มา : การประชุมเชิงปฏิบัติการ การทบทวนการจัดทำยุทธศาสตร์เงินทุนเวียนเพื่อการชลประทาน 24 – 25 กุมภาพันธ์ 2553 :Oppp T

  3. การวิเคราะห์สภาพแวดล้อม เงินทุนหมุนเวียนเพื่อการชลประทาน • จุดแข็ง (Strengths) • มีแหล่งน้ำต้นทุน • มีเงินกองทุนสะสมจำนวนมาก • มีกฎหมาย/ระเบียบรองรับในการจัดเก็บค่าน้ำ • หน่วยงานรองรับครอบคลุมทั่วประเทศ • การขอใช้เงินทุนมีความยุ่งยากน้อยกว่าการขอใช้จ่ายจากงบประมาณปกติ • ไม่มีคู่แข่ง • เงินทุนสามารถสนับสนุนในภารกิจที่ไม่ได้รับงบประมาณปกติได้ • มีแผนการบริหารจัดการน้ำที่ดี • มีเครือข่ายกลุ่มผู้ใช้น้ำช่วยในการบริหารจัดการน้ำให้มีประสิทธิภาพ • บุคลากรมีความรู้ความสามารถในด้านการบริหารจัดการน้ำ Company Logo

  4. การวิเคราะห์สภาพแวดล้อม เงินทุนหมุนเวียนเพื่อการชลประทาน จุดอ่อน (Weaknesses) บุคลากรขาดทักษะ ความรู้ ความเข้าใจในการปฏิบัติงานเงินทุน และขาดแรงจูงใจ ผู้บริหารไม่ได้ให้ความสำคัญในการเก็บค่าน้ำ และขาดความเข้าใจในการดำเนินงาน ไม่มีหน่วยงานเงินทุนที่รับผิดชอบโดยตรงในส่วนภูมิภาค ขาดแคลนบุคลากร ขาดการบังคับใช้กฎหมายอย่างเคร่งครัด ไม่เข้มแข็ง และไม่ครอบคลุม ขาดการประสานงาน/ประชาสัมพันธ์ ให้ผู้เกี่ยวข้องเข้าใจกฎระเบียบ และการขออนุญาตการใช้น้ำ ทั้งผู้ให้บริการและผู้รับบริการ ขั้นตอน/กระบวนงานการจัดทำและการออกกฎกระทรวงตามมาตรา 8 ยุ่งยากและซับซ้อน ขาดการตรวจสอบ / บำรุงรักษามิเตอร์วัดน้ำ ทำให้เสียบ่อย อัตราค่าชลประทานต่อหน่วยต่ำ กฎระเบียบไม่ทันสมัย และไม่สอดคล้องกับการปฏิบัติงาน มีหนี้ค้างชำระ หนี้สูญมาก ไม่มีนโยบายหรือระเบียบที่ชัดเจนในการติดตามหนี้ คู่มือการปฏิบัติงานไม่ชัดเจนทำให้ไม่สามารถปฏิบัติได้อย่างถูกต้อง ขาดการนำเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้ในการปฏิบัติงาน และขาดแคลนเครื่องมืออุปกรณ์ ปริมาณน้ำในบางแห่งมีอยู่จำกัดและขาดความทั่วถึง ขาดการตรวจสอบติดตามประเมินการปฏิบัติงานอย่างเป็นระบบ ขาดความสะดวกในการชำระเงิน ระเบียบเงินทุนหมุนเวียน เพื่อการชลประทานกำหนดให้ชำระที่หน่วยงาน (ข้อ 26 ปี 2547) ขาดการตรวจสอบระบบการจัดเก็บค่าชลประทาน และขาดระบบการจัดเก็บที่ดี ขาดประสิทธิภาพเกี่ยวกับระบบส่งน้ำ และคุณภาพน้ำ Company Logo

  5. การวิเคราะห์สภาพแวดล้อม เงินทุนหมุนเวียนเพื่อการชลประทาน • โอกาส (Opportunities) • น้ำเป็นสิ่งจำเป็นทั้งภาคอุตสาหกรรม เกษตรกรรม อุปโภคบริโภค ประปา และการผลิตกระแสไฟฟ้าจากพลังงานน้ำ ทำให้ความต้องการใช้น้ำมีปริมาณมากขึ้น • มีพระราชบัญญัติการชลประทานหลวง และกฎ ระเบียบต่างๆ รองรับการปฏิบัติงาน • มีการพัฒนาเทคโนโลยีเพิ่มปริมาณน้ำ (ฝนหลวง) • รัฐมีนโยบายสนับสนุนการพัฒนาแหล่งน้ำ 25 ลุ่มน้ำ และสภาพภูมิประเทศเอื้อต่อการพัฒนาแหล่งน้ำ Company Logo

  6. การวิเคราะห์สภาพแวดล้อม เงินทุนหมุนเวียนเพื่อการชลประทาน • ขัอจำกัด (Threats) • อิทธิพลการเมืองท้องถิ่นเข้ามามีบทบาททำให้เก็บค่าน้ำไม่ได้ • ปริมาณน้ำต้นทุนในแต่ละปี ไม่แน่นอน • ผู้ใช้น้ำอาศัยช่องว่างทางกฎหมายหลีกเลี่ยงการชำระค่าน้ำ • เกิดการขัดแย้งระหว่างภาคเกษตรกรรมและอุตสาหกรรม • ผู้ใช้น้ำต่อต้านการใช้มาตรา 8 เนื่องจากเคยใช้ฟรี • องค์กรเอกชนต่อต้านการพัฒนาแหล่งน้ำ และสังคมขาดความเข้าใจ • องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นไม่ยอมชำระเงิน • มีกฎหมายซ้ำซ้อนในแหล่งน้ำเดียวกันทำให้เกิดความยุ่งยากในการออกกฎกระทรวงตามมาตรา 8 • วิธีการในการคืนภาษี ไม่เป๋นมาตรฐานเดียวกัน Company Logo

  7. วิสัยทัศน์ “บริหารเงินทุน สร้างสมดุลการบริหารจัดการน้ำ เพื่อความพึงพอใจผู้ใช้บริการ”

  8. พันธกิจ บริหารจัดการทุนหมุนเวียนเพื่อการชลประทาน อย่างมีประสิทธิภาพ โดยการจัดเก็บค่าชลประทาน ในการใช้น้ำเพื่อ กิจการโรงงาน การประปา หรือกิจการอื่น ให้เป็นไปตามที่กฎหมายกำหนด ตามศักยภาพแหล่งน้ำ และรักษาสมดุลในการบริหารจัดการน้ำอย่ายั่งยืน

  9. ประเด็นยุทธศาสตร์ การบริหารและการจัดเก็บค่าชลประทาน Company Logo

  10. เป้าประสงค์ ก. ด้านผลการดำเนินงานด้านการเงิน 1. เงินทุนหมุนเวียนเพื่อการชลประทานมีความมั่นคง • ด้านการสนองประโยชน์ต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย • 2. ผู้ใช้น้ำชลประทานและชุมชนข้างเคียงมีความพึงพอใจ เป้าประสงค์ ค. ผลการดำเนินงานด้านปฏิบัติการ 3. จัดเก็บค่าชลประทานมีประสิทธิภาพ 4. มีการติดตั้งมาตรวัดน้ำครอบคุมทุกผู้ใช้บริการ 5. กระบวนการประกาศทางน้ำชลประทาน และอนุญาตการใช้น้ำมีประสิทธิภาพ 6. มีการพัฒนาและบริหารจัดการน้ำอย่างมีประสิทธิภาพ 7. มีการประชาสัมพันธ์อย่างต่อเนื่องและทั่วถึง ง. ด้านการบริหารพัฒนาทุนหมุนเวียน 8. ระบบบริหารเงินทุนมีประสิทธิภาพ 9. บุคลากรมีสมรรถนะ และขวัญกำลังใจในการทำงาน 10. มีอุปกรณ์ เครื่องจักรเครื่องมือ ระบบฐานข้อมูล และเทคโนโลยี ที่เหมาะสม 11. มีกฎระเบียบและกฎหมายที่ทันสมัย

  11. แผนที่ยุทธศาสตร์เงินทุนหมุนเวียนเพื่อการชลประทานแผนที่ยุทธศาสตร์เงินทุนหมุนเวียนเพื่อการชลประทาน ประเด็นยุทธศาสตร์ การบริหารและการจัดเก็บค่าชลประทาน วิสัยทัศน์ บริหารเงินทุน สร้างสมดุลการบริหารจัดการน้ำ เพื่อความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ ด้านการเงิน • เงินทุนหมุนเวียนเพื่อการชลประทานมีความมั่นคง ด้านสนองประโยชน์ต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 2. ผู้ใช้น้ำชลประทานและชุมชนใกล้เคียงมีความพึงพอใจ 5. กระบวนการประกาศทางน้ำชลประทานและการอนุญาตการใช้น้ำมีประสิทธิภาพ 4. มีการติดตั้งมาตรวัดน้ำครอบคลุมทุกผู้ใช้บริการ 6. มีการพัฒนาและบริหารจัดการน้ำอย่างมีประสิทธิภาพ 7. มีการประชาสัมพันธ์อย่างต่อเนื่องและทั่วถึง 3. จัดเก็บค่าชลประทาน มีประสิทธิภาพ ด้านปฏิบัติการ ด้านพัฒนาทุนหมุนเวียน 8. ระบบบริหารเงินทุนมีประสิทธิภาพ 9. บุคลากรมีสมรรถนะ และขวัญกำลังใจในการทำงาน 10. มีอุปกรณ์ เครื่องจักรเครื่องมือ ระบบฐานข้อมูลและเทคโนโลยี ที่เหมาะสม 11. มีกฎ ระเบียบ และกฎหมายที่ทันสมัย

  12. ด้านการเงิน Company Logo

  13. ด้านสนองประโยชน์ต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสียด้านสนองประโยชน์ต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

  14. ด้านปฏิบัติการ

  15. ด้านปฏิบัติการ

  16. ด้านปฏิบัติการ

  17. ด้านปฏิบัติการ

  18. ด้านปฏิบัติการ

  19. ด้านบริหารพัฒนาทุนหมุนเวียนด้านบริหารพัฒนาทุนหมุนเวียน

  20. ด้านบริหารพัฒนาทุนหมุนเวียนด้านบริหารพัฒนาทุนหมุนเวียน

  21. ด้านบริหารพัฒนาทุนหมุนเวียนด้านบริหารพัฒนาทุนหมุนเวียน

  22. ด้านบริหารพัฒนาทุนหมุนเวียนด้านบริหารพัฒนาทุนหมุนเวียน

  23. Diagram กระทรวงการคลังและบริษัท TRIS ตรวจประเมิน คณะกรรมการ เงินทุนหมุนเวียน เพื่อการชลประทาน ตัวชี้วัดที่บริษัท TRIS กำหนด ตัวชี้วัดตามยุทธศาสตร์ Company Logo

  24. เป้าหมายปี 2554 www.rid.go.th Company Logo

  25. ตัวชี้วัดที่บริษัท TRIS กำหนด Company Logo

  26. ตัวชี้วัดที่บริษัท TRIS กำหนด Company Logo

  27. ตัวชี้วัดที่บริษัท TRIS กำหนด Company Logo

  28. ตัวชี้วัดที่บริษัท TRIS กำหนด Company Logo

  29. ตัวชี้วัดที่บริษัท TRIS กำหนด Company Logo

  30. Thank You ! www.rid.go.th QUESTION & ANSWER

  31. การถ่ายทอดตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายลงสู่การปฏิบัติงานการถ่ายทอดตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายลงสู่การปฏิบัติงาน

  32. การถ่ายทอดตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายลงสู่การปฏิบัติงานการถ่ายทอดตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายลงสู่การปฏิบัติงาน • การถ่ายทอดตัวชี้วัดค่าเป้าหมายลงสู่การปฏิบัติงาน เป็นไปตามระเบียบบริหารราชการแผ่นดินฉบับที่ 7 และ พรฎ. ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี • ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยเงินทุนหมุนเวียนเพื่อการชลประทาน เรื่องการมุ่งผลสำฤทธิ์ในการดำเนินงานเพื่อให้ได้ค่าเป้าหมาย • ผู้ปฏิบัติจะต้องดำเนินการถ่ายทอดค่าเป้าหมายลงสู่การปฏิบัติอย่างเป็นระบบ

  33. การพัฒนาระบบการประเมินผลการพัฒนาระบบการประเมินผล ระดับกรม การประเมินผลจากบนลงล่าง เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปในทิศทางเดียวกัน ระดับสำนัก /กอง ระดับบุคคล

  34. องค์ประกอบในการกำหนดตัวชี้วัดองค์ประกอบในการกำหนดตัวชี้วัด บทบาทหน้าที่และภาระกิจ สำนัก/กอง ที่สนับสนุนต่อ เป้าประสงค์และตัวชี้วัดระดับกรม บทบาทหน้าที่และภาระกิจ ในงานเงินทุนหมุนเวียนเพื่อการชลประทานประจำสำนัก/กอง เป้าประสงค์ในระดับสำนัก/กอง ตัวชี้วัดในระดับสำนัก/กอง RID Front Office

  35. แนวทางการกำหนดค่าเป้าหมายเป็น 5 ระดับ ค่าเป้าหมายต่ำสุดที่รับได้ ค่าเป้าหมายในระดับท้าทาย มีความยากค่อนข้างมาก โอกาสสำเร็จ <50% ค่าเป้าหมายในระดับต่ำกว่ามาตรฐาน ค่าเป้าหมายที่มีความยากปานกลาง ค่าเป้าหมายที่เป็นค่ามาตรฐานโดยทั่วไป

  36. 1. การถ่ายทอดตัวชี้วัดผลสำเร็จของงานจากบนลงล่าง (Goal Cascading Method) เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ อาจประกอบด้วย แผนปฏิบัติราชการ แผนยุทธศาสตร์ของส่วนราชการ หรือคำรับรองการปฏิบัติราชการ เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ เป้าหมายตามภารกิจและอื่นๆ คณะกรรมการเงินทุน ผู้อำนวยการสำนักชลประทาน คำรับรองการปฏิบัติราชการ ผู้อำนวยการโครงการ ฝวศ.คป/คบ ฝจน.คป/คบ. ฝสบ.คป/คบ.

  37. ตัวอย่างการถ่ายทอดตัวชี้วัดผลสำเร็จของงานจากบนลงล่างตัวอย่างการถ่ายทอดตัวชี้วัดผลสำเร็จของงานจากบนลงล่าง คณะกรรมการเงินทุนหมุนเวียนเพื่อการชลประทาน เก็บค่าชลประทาน 510 ล้านบาท ผู้อำนวยการสำนัก A =15 ล้านบาท ผู้อำนวยการสำนัก B = 10 ล้านบาท โครงการฯ ง= 8 ล้านบาท โครงการฯ ก= 7 ล้านบาท โครงการฯ ข = 8 ล้านบาท ฝสบ.คป e 2 ล้านบาท ฝสบ.คป f 4 ล้านบาท ฝสบ.คป g 5 ล้านบาท ฝสบ.คป h 2 ล้านบาท ฝสบ.คปa 3 ล้านบาท ฝสบ.คป b 4 ล้านบาท ฝสบ.คป c 4 ล้านบาท ฝสบ.คป d 4 ล้านบาท

  38. Thank You ! www.themegallery.com

More Related