1 / 37

ระเบียบวิธีการวิจัย

ระเบียบวิธีการวิจัย. ดร. สมชัย พุทธา คณะ ศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี. การวิจัยคืออะไร. การวิจัย คือ กระบวนการที่มีการดำเนินการอย่างมีระบบ มีระเบียบแบบแผน เพื่อให้ได้มาซึ่งคำตอบที่มีความถูกต้องและเชื่อถือได้. ระบุประชากรและกลุ่มตัวอย่าง. ศึกษาเอกสาร ที่เกี่ยวข้อง.

erica-nolan
Download Presentation

ระเบียบวิธีการวิจัย

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ระเบียบวิธีการวิจัย ดร. สมชัย พุทธา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี

  2. การวิจัยคืออะไร การวิจัย คือ กระบวนการที่มีการดำเนินการอย่างมีระบบ มีระเบียบแบบแผน เพื่อให้ได้มาซึ่งคำตอบที่มีความถูกต้องและเชื่อถือได้

  3. ระบุประชากรและกลุ่มตัวอย่างระบุประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ศึกษาเอกสาร ที่เกี่ยวข้อง ขั้นตอนการวิจัย ค้นหาและเลือกหัวข้อการวิจัย เขียนโครงการวิจัย 6 4 3 7 5 1 9 8 2 สร้างเครื่องมือ เขียนรายงาน จัดพิมพ์ เผยแพร่ ตีความผลการวิเคราะห์ข้อมูล รวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล

  4. การค้นหาปัญหาในการวิจัยการค้นหาปัญหาในการวิจัย ประสบการณ์ ของผู้วิจัย เอกสารและ รายงานการวิจัย ทฤษฎี การเข้าร่วมประชุมสัมมนา การสืบค้นอินเตอร์เน็ต การนำเสนอหัวข้อ ของหน่วยงานที่ให้ทุน แหล่งที่มาของปัญหาในการวิจัย

  5. 1 2 4 3 ช่วยให้เข้าใจแนวคิด ทฤษฎี และการศึกษาวิจัยที่ผ่านมา เป็นแนวทาง ในการดำเนินการวิจัย ช่วยเห็นปัญหาในการวิจัย ป้องกันการทำวิจัยซ้ำซ้อน เอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ประโยชน์ของการศึกษาเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง Company Logo

  6. การศึกษาเอกสารช่วยเป็นแนวทางในการทำวิจัยได้อย่างไรการศึกษาเอกสารช่วยเป็นแนวทางในการทำวิจัยได้อย่างไร เป็นแนวทางในการศึกษาตัวแปร เป็นแนวทาง ในการศึกษานวัตกรรม เป็นแนวทางในการ พัฒนา คุณภาพงานวิจัย เป็นแนวทาง ในการออกแบบการวิจัย เป็นแนวทางในการ วิเคราะห์ข้อมูล และการใช้สถิติ เป็นแนวทางในการสร้าง และหาคุณภาพเครื่องมือ

  7. สื่อสิ่งพิมพ์ และสื่อผสม Internet ห้องสมุด แหล่งสารสนเทศ • หนังสือ ตำรา • วารสาร • สารานุกรม • รายงานการวิจัย • และวิทยานิพนธ์ • รวมบทคัดย่อ • CD • DVD • ภาพยนตร์ • โทรทัศน์ • วิทยุ • Database • www • ฯลฯ Company Logo

  8. จัดลำดับหัวข้อตามความสำคัญของประเด็น ช่วยให้เข้าใจง่าย และเห็นความสำคัญของผลการวิจัย จะต้องนำเอกสารที่เกี่ยวข้องมาอ้างอิง 4 เกี่ยวข้องโดยตรง 1 2 เอกสารหรือผลงานวิจัยแสดงถึงความน่าเชื่อถือ (ไม่ควรอ้างอิงบทคัดย่อ , ควรระบุหน้าให้ชัดเจน) 3 หลักการพิจารณาเอกสารงานวิจัยที่นำมาประกอบงานวิจัย

  9. การเลือกปัญหาในการวิจัยการเลือกปัญหาในการวิจัย ก. ด้านผู้วิจัย เกณฑ์ในการเลือกปัญหาวิจัย ข. ด้านปัญหาที่จะทำวิจัย ค. ด้านสภาพที่เอื้อต่อการทำวิจัย

  10. ชื่อเรื่องการวิจัย • เขียนเป็นประโยคบอกเล่า • และตอบคำถามว่า • ทำอะไร • ทำอย่างไร • ทำที่ไหน • ทำเมื่อไร • ความยาวพอเหมาะ หลักการตั้ง ชื่อเรื่องวิจัย

  11. ผล กระทบจาก ปัญหา ความรุนแรงของปัญหา ระดับ ของผล กระทบ ความเป็นมาและสำคัญของการวิจัย

  12. วัตถุประสงค์การวิจัย วัตถุประสงค์แต่ละข้อต้องหาคำตอบได้ เช่น เพื่อเปรียบเทียบ เพื่อหา ฯลฯ วัตถุประสงค์การวิจัยควรเขียนแยกเป็นข้อ หลักการเขียน ควรหลีกเลี่ยงการเขียนวัตถุประสงค์ที่หาคำตอบยาก เช่น เพื่อศึกษา

  13. สมมติฐานเป็นการคาดเดาผลการวิจัยของนักวิจัยสมมติฐานเป็นการคาดเดาผลการวิจัยของนักวิจัย ที่ได้มาจากการศึกษาเอกสาร และจากประสบการณ์ ของนักวิจัย ควรมีสมมติฐานเพื่อตอบคำถามของวัตถุประสงค์ การวิจัยทุกข้อ สมมติฐาน การวิจัย 1 2 เมื่อวิจัยเสร็จแล้วจะต้องตอบได้ว่า จะปฏิเสธหรือยอมรับสมมติฐานที่ตั้งไว้ได้ ทุกข้อ 3 4 วัตถุประสงค์การวิจัย หนึ่งข้ออาจจะมีสมมติฐานเพื่อตอบคำถามมากกว่า หนึ่งสมมติฐานก็ได้

  14. ขอบเขต การวิจัย สิ่งที่นิยมนำมาเขียนไว้ในขอบเขตการวิชัย เช่น พื้นที่ สถานที่ ช่วงเวลา เนื้อหา เป็นการเขียนรายละเอียดเพิ่มเติม ในส่วนที่ไม่สามารถระบุไว้ใน ชื่อเรื่องหรือวัตถุประสงค์

  15. นิยามศัพท์ที่ใช้ในการวิจัยนิยามศัพท์ที่ใช้ในการวิจัย เป็นคำที่ คนส่วนใหญ่ไม่คุ้นเคยหรือมีความหมายได้หลายอย่าง ไม่ใช่คำศัพท์ ที่คนทั่วไปเข้าใจดี อยู่แล้ว เป็นคำศัพท์ ที่ผู้วิจัยใช้สื่อสารกับผู้ใช้ผลการวิจัย

  16. ทำวิจัยแล้ว นำไป ทำอะไร ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ ได้อะไร Company Logo

  17. เป็นส่วนที่สำคัญที่สุดของการเขียนเป็นส่วนที่สำคัญที่สุดของการเขียน โครงการวิจัย เพราะเป็นสิ่งบ่งชี้ว่า ผู้วิจัยจะหาคำตอบตามวัตถุประสงค์แต่ละข้อได้หรือไม่ คำตอบที่ผู้วิจัยได้มามีความน่าเชื่อถือเพียงใด ระเบียบวิธีที่ใช้ในการวิจัย ระเบียบวิธีวิจัยจะต้องสอดคล้องเหมาะสม กับวัตถุประสงค์การวิจัย

  18. ระเบียบวิธีวิจัยจะต้องบอกเรื่องต่อไปนี้ระเบียบวิธีวิจัยจะต้องบอกเรื่องต่อไปนี้ จะใช้ข้อมูลอะไรบ้างมาวิเคราะห์จึงจะเหมาะสมสำหรับการตอบคำถามของวัตถุประสงค์ ข้อนั้น จะเก็บรวบรวมข้อมูลจากใครที่ไหนด้วยเครื่องมือหรือวิธีการอย่างไรจึงจะเหมาะสมสำหรับการตอบคำถามของวัตถุประสงค์ ข้อนั้น จะใช้วิธีการวิเคราะห์ข้อมูลอย่างไรจึงจะเหมาะสมสำหรับการตอบคำถามของวัตถุประสงค์ ข้อนั้น

  19. เครื่องมือที่ใช้ในการทดลองหรือจัดกระทำ (นวัตกรรม) เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล การสร้างเครื่องมือในการวิจัย I II

  20. E1/E2หมายถึง คุณสมบัติของนวัตกรรม E.I. หมายถึง ผลการใช้นวัตกรรม ทดสอบนัยสำคัญของ E.I. (ยืนยันผลของ E.I.) การสร้าง (ตามแนวคิด , หลักการ) การหาคุณภาพ เครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง(นวัตกรรม)

  21. แบบสอบถาม (Questionnaires) • แบบทดสอบ (Test) เครื่องมือและเทคนิคในการรวบรวมข้อมูล • การสัมภาษณ์ (Interview) • การสังเกต (Observation)

  22. แบบทดสอบ อิงกลุ่ม • การสร้างยึดเนื้อหา • เป้าหมายเพื่อจำแนก แยกแบ่งกลุ่มตัดสินผล • การหาคุณภาพเครื่องมือ(Validity, Difficulty, Discriminating Power และ Reliability)

  23. แบบทดสอบ อิงเกณฑ์ • การสร้าง ยึดจุดประสงค์ ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง และพฤติกรรมที่คาดหวัง • เป้าหมาย เพื่อพัฒนาผู้เรียนตามหลัก Mastery Learning • การหาคุณภาพเครื่องมือ (Validity, Discriminating Power และ Reliability)

  24. แบบสอบถาม การสร้างตามนิยามศัพท์เฉพาะ การหาคุณภาพ • Validity (IOC: Expert) • Discriminating Power Known – Group Technique ทดสอบด้วย t-test (100 คน) Item total Correlation ทดสอบด้วย Rxy • Reliability ()

  25. การสังเกต, การสัมภาษณ์ • การสร้าง (Topic และความครอบคลุม) • การหาคุณภาพ (Topic และความครอบคลุม) Validity (IOC: Expert)

  26. การวิเคราะห์ข้อมูล

  27. ประชากร (Population) กลุ่มตัวอย่าง(Sample) ค่าสถิติ (Statistics) ค่าพารามิเตอร์ (Parameters) สถิติอ้างอิง (Inferential Statistics) สถิติพรรณนา (Descriptive Statistics)

  28. Population and Sample ประชากร (Population) กลุ่มของสิ่งมีชีวิตหรือสิ่งไม่มีชีวิตที่ผู้วิจัยต้องการศึกษา ซึ่งสมาชิกแต่ละหน่วยของประชากรกลุ่มหนึ่ง ๆ จะมีลักษณะหรือคุณสมบัติบางอย่างร่วมกัน กลุ่มตัวอย่าง (Sample) กลุ่มของสิ่งต่าง ๆ ที่เป็นส่วนหนึ่งของกลุ่มประชากร ที่ผู้วิจัยสนใจศึกษา กลุ่มตัวอย่างที่ดี คือ กลุ่มตัวอย่างที่มี ลักษณะสำคัญครบถ้วนเหมือนกับกลุ่มประชากร

  29. ค่าพารามิเตอร์และค่าสถิติค่าพารามิเตอร์และค่าสถิติ • ค่าที่ได้จากประชากรเรียกว่า “ค่าพารามิเตอร์(Parameters)” • ค่าที่ได้กลุ่มตัวอย่างเรียกว่า “ค่าสถิติ (Statistics)” เมื่อนำข้อมูลที่ได้จากประชากรหรือกลุ่มตัวอย่างมาดำเนินการ ด้วยวิธีการทางสถิติ เช่น สัดส่วน พารามิเตอร์ p กลุ่มตัวอย่าง (p^)

  30. สถิติ (Statistics) 1. สถิติพรรณนา (Descriptive Statistics) 2. สถิติอ้างอิง (Inferential Statistics) สถิติพาราเมตริก (Parametric Statistics) สถิตินอนพาราเมตริก (Nonparametric Statistics)

  31. ไม่มีข้อตกลงเบื้องต้นไม่มีข้อตกลงเบื้องต้น เกี่ยวกับลักษณะการแจกแจงของประชากร มีข้อตกลงเบื้องต้น ที่ต้องทราบ ลักษณะการแจกแจง ของประชากร สถิติพาราเมตริก (Nonparametric Statistics) สถิตินอนพาราเมตริก (Parametric Statistics)

  32. ข้อควรระวังเกี่ยวกับการใช้สถิติข้อควรระวังเกี่ยวกับการใช้สถิติ ในการวิจัยในชั้นเรียน ส่วนมากเก็บรวบรวมข้อมูลจากประชากร • ไม่ต้องทดสอบสมมติฐานทางสถิติ • การทดสอบความแตกต่างหรือความสัมพันธ์ของค่าพารามิเตอร์ ทำได้ โดยนำค่าพารามิเตอร์มาเปรียบเทียบกัน หรืออธิบาย ความสัมพันธ์ได้เลย • สถิติอ้างอิง (Inferential Statistics) จะใช้ก็ต่อเมื่อมีการรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างเท่านั้น

  33. สถิติสำหรับทดสอบสมมติฐานสถิติสำหรับทดสอบสมมติฐาน สถิติสำหรับหาคุณภาพเครื่องมือ สถิติพื้นฐาน สถิติที่ใช้ในการวิจัย สถิติเป็นเครื่องมือในการวิจัย โดยทั่วไปถูกนำไปใช้ใน 3 ลักษณะ

  34. สถิติที่ใช้ในการวิจัยสถิติที่ใช้ในการวิจัย ค่าเฉลี่ย สถิติพื้นฐาน ความแปรปรวน ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สหสัมพันธ์ สัดส่วน ร้อยละ

  35. สถิติที่ใช้ในการวิจัยสถิติที่ใช้ในการวิจัย อิงกลุ่ม อิงเกณฑ์ สถิติสำหรับหาคุณภาพเครื่องมือ ความยาก อำนาจจำแนก อำนาจจำแนก ความตรง (Validity) ความตรง (Validity) ความเที่ยง (Reliability) ความเที่ยง (Reliability)

  36. สถิติที่ใช้ในการวิจัยสถิติที่ใช้ในการวิจัย การทดสอบด้วยสถิติ Z สถิติสำหรับทดสอบสมมติฐาน การทดสอบด้วยสถิติ t การทดสอบด้วยสถิติ F การทดสอบด้วยสถิติ 2 การทดสอบด้วยสถิติ Q

  37. เป็นส่วนต้นของรายงานการวิจัยเป็นส่วนต้นของรายงานการวิจัย ภาคที่ 1 ภาคที่ 3 ภาคเอกสารอ้างอิง เป็นส่วนหลักของรายงานการวิจัย ภาคที่ 2 ภาคที่ 4 ภาคผนวก การเขียนรายงานการวิจัย Company Logo

More Related