1 / 33

กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมและป้องกันโรค

กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมและป้องกันโรค. : is a state of physical, mental and social, spiritual well being and not merely absence of disease or infirmity. Health. พระราชบัญญัติ สุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550.

esben
Download Presentation

กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมและป้องกันโรค

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมและป้องกันโรคกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมและป้องกันโรค รองศาสตราจารย์แพทย์หญิงนันทนา ศิริทรัพย์

  2. :is a state of physical, mental and social, spiritual well being and not merely absence of disease or infirmity. Health รองศาสตราจารย์แพทย์หญิงนันทนา ศิริทรัพย์

  3. พระราชบัญญัติ สุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550 “สุขภาพ” ภาวะของมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งทางกาย ทางจิต ทางปัญญา และทางสังคมเชื่อมโยงกันเป็นองค์รวม อย่างสมดุล ปัญญา: ความรู้ทั่ว รู้เท่าทันและความเข้าใจอย่างแยกได้ในเหตุผลแห่งความดี ความชั่ว ความมีประโยชน์และความมีโทษ ซึ่งนำไปสู่ความมีจิตอันดีงามและเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ รองศาสตราจารย์แพทย์หญิงนันทนา ศิริทรัพย์

  4. องค์ประกอบของการสาธารณสุของค์ประกอบของการสาธารณสุข • การส่งเสริมสุขภาพอนามัย (Health Promotion) • การป้องกันเฉพาะโรค (Specific Protection) • การวินิจฉัยแต่แรกเริ่มและการรักษาโดยฉับพลัน • (Early Diagnosis and Prompt Treatment) • การจำกัดความพิการและการฟื้นฟูสุขภาพ • (Disability Limitation and Rehabilitation) • การอนามัยสิ่งแวดล้อม (Environmental Health) รองศาสตราจารย์แพทย์หญิงนันทนา ศิริทรัพย์ 4

  5. HOSTS AGENTS ENVIRONMENT รองศาสตราจารย์แพทย์หญิงนันทนา ศิริทรัพย์ 5

  6. AGENTS HOSTS ENVIRONMENT รองศาสตราจารย์แพทย์หญิงนันทนา ศิริทรัพย์ 6

  7. 1.พระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. 2523 • 2. พระราชบัญญัติโรคพิษสุนัขบ้า พ.ศ. 2535 • 3. พระราชบัญญัติเชื้อโรคและพิษจากสัตว์ พ.ศ. 2525 • พระราชบัญญัติควบคุมการฆ่าสัตว์และ • จำหน่ายเนื้อสัตว์ พ.ศ. 2535 • 5. พระราชบัญญัติควบคุมคุณภาพอาหารสัตว์ พ.ศ. 2525 • 6. พระราชบัญญัติโรคระบาดสัตว์ พ.ศ. 2499 รองศาสตราจารย์แพทย์หญิงนันทนา ศิริทรัพย์

  8. กฎหมายโรคติดต่อในประเทศไทยกฎหมายโรคติดต่อในประเทศไทย • 1890, 1893, 1900, 2363 การระบาดของอหิวาตกโรค • 2441 พระราชบัญญัติจัดการป้องกันกาฬโรค • 2456 พระราชบัญญัติระงับโรคระบาด • 2477, 2479, 2482 พระราชบัญญัติโรคระบาด • 2485 พระราชบัญญัติไข้จับสั่น • 2486 พระราชบัญญัติโรคเรื้อน พระราชบัญญัติโรคติดต่อ 2523 รองศาสตราจารย์แพทย์หญิงนันทนา ศิริทรัพย์

  9. พระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. 2523 (22 มาตรา) มาตรา 1 ชื่อพระราชบัญญัติ มาตรา 2 การบังคับใช้ มาตรา 3 ยกเลิกพระราชบัญญัติเดิม 2 ฉบับ มาตรา 4 บทนิยาม มาตรา 5 กำหนดชื่อและอาการโรคติดต่อ โรคติดต่ออันตราย และโรคติดต่อต้องแจ้งความ มาตรา 6 การประกาศกำหนดโรคติดต่อในเขตท้องที่ มาตรา 7 การแจ้งโรค มาตรา 8-11 การควบคุมโรค มาตรา 12 การเสริมสร้างภูมิคุ้มกันโรค มาตรา 13-15 การควบคุมโรคระหว่างประเทศ มาตรา 16-20 โทษ มาตรา 21 บทเฉพาะกาล มาตรา 22 อำนาจรัฐมนตรีรักษาการ รองศาสตราจารย์แพทย์หญิงนันทนา ศิริทรัพย์

  10. มาตรา 4 บทนิยาม 1. โรคติดต่อ 11. เขตติดโรค 2. โรคติดต่ออันตราย 12. พาหนะ 3. โรคติดต่อต้องแจ้งความ 13. เจ้าของพาหนะ 4. พาหะ 14. ผู้ควบคุมพาหนะ 5. ผู้สัมผัสโรค 15. ผู้เดินทาง 6. ระยะฟักตัวของโรค 16. การเสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค 7. ระยะติดต่อของโรค 17. ที่เอกเทศ 8. แยกกัก 18. เจ้าพนักงาน 9. กักกัน 19. พนักงานเจ้าหน้าที่ 10. คุมไว้สังเกต 20. รัฐมนตรี รองศาสตราจารย์แพทย์หญิงนันทนา ศิริทรัพย์

  11. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง ชื่อโรคติดต่ออันตราย 18 ธันวาคม 2524 รวม 4 โรค 1. อหิวาตกโรค 2. กาฬโรค 3. ไข้ทรพิษ 4. ไข้เหลือง ประกาศกระทรวงสาธารณสุข 4 เมษายน 2546 เรื่อง เพิ่มเติมโรคติดต่ออันตราย 5. โรคทางเดินหายใจเฉียบพลันรุนแรง รองศาสตราจารย์แพทย์หญิงนันทนา ศิริทรัพย์

  12. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง โรคติดต่อต้องแจ้งความ 18 ธันวาคม 2524 รวม 14 โรค • 1. อหิวาตกโรค 10. ไข้รากสาดใหญ่ • 2. กาฬโรค 11. แอนแทร็กซ์ • 3. ไข้ทรพิษ 12. โรคทริคิโนซิส • 4. ไข้เหลือง 13. ไข้กาฬหลังแอ่น • 5. คอตีบ 14. โรคคุดทะราดระยะติดต่อ • โรคบาดทะยักในเด็กเกิดใหม่ • 7. โปลิโอ 15. โรคเอดส์ (เพิ่ม 1 พ.ค. 28 • 8. ไข้สมองอักเสบ ยกเลิก 4 ก.ย. 34) • 9. โรคพิษสุนัขบ้า รองศาสตราจารย์แพทย์หญิงนันทนา ศิริทรัพย์

  13. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข • เรื่อง ชื่อโรคติดต่อและอาการสำคัญ • 18 ธันวาคม 2524 รวม 44 โรค (4-14-44) • พฤษภาคม 2528 เพิ่มเติม โรคเอดส์(แจ้งความ) • (4-15-45) • กันยายน 2534 ยกเลิก โรคเอดส์(แจ้งความ) • (4-14-45) • 4 เมษายน 2546 โรคระบาดทางเดินหายใจเฉียบพลัน • รุนแรง (SARS)(อันตราย) • (5-14-46) รองศาสตราจารย์แพทย์หญิงนันทนา ศิริทรัพย์

  14. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง โรคติดต่อ 18 ธันวาคม 2524 รวม 44 โรค 1. อหิวาตกโรค 16. ไข้เลือดออก 31. แอนแทร็กซ์ 2. กาฬโรค 17. โรคพิษสุนัขบ้า 32. โรคทริคิโนซิส 3. ไข้ทรพิษ 18. โรคตับอักเสบ 33. โรคคุดทะราดระยะติดต่อโรคเอดส์ 4. ไข้เหลือง 19. โรคตาแดงจากไวรัส 34. โรคเล็ปโตสไปโนซิส 5. ไข้กาฬหลังแอ่น 20. อาหารเป็นพิษ 35. ซิฟิลิส 6. คอตีบ21. โรคบิดแบซิลลารี 36. หนองใน 7. ไอกรน 22. โรคบิดอมีบา 37. หนองในเทียม 8. โรคบาดทะยักในเด็กเกิดใหม่ 23. ไข้รากสาดน้อย 38. กามโรคของต่อมและท่อน้ำเหลือง 9. โปลิโอ 24. ไข้รากสาดเทียม39. แผลริมอ่อน 10. ไข้หัด 25. ไข้รากสาดใหญ่ 40. แผลกามโรคเรื้อรังที่ขาหนีบ 11. ไข้หัดเยอรมัน 26. สครัฟไทฟัส41. โรคไข้กลับซ้ำ 12. โรคคางทูม 27. มูรีนไทฟัส 42. โรคอุจจาระร่วง 13. ไข้สุกใส 28. วัณโรค 43. โรคแผลเรื้อรัง 14. ไข้หวัดใหญ่29. โรคเรื้อน44. โรคเท้าช้าง 15. ไข้สมองอักเสบ 30. ไข้จับสั่น รองศาสตราจารย์แพทย์หญิงนันทนา ศิริทรัพย์

  15. International health Regulation 2005 (IHR 2005) การรายงานการเกิดโรคและการปลอดโรค 4 โรค 1. ฝีดาษ 2. โปลิโอ 3. ซาร์ส 4. โรคไข้หวัดใหญ่ในคนที่เป็นเชื้อไวรัสสายพันธุ์ใหม่ เพื่อป้องกันและควบคุมโรคสำคัญที่สามารถแพร่กระจายระหว่างประเทศ ประกาศใช้ 15 มิถุนายน 2550 รองศาสตราจารย์แพทย์หญิงนันทนา ศิริทรัพย์

  16. รองศาสตราจารย์แพทย์หญิงนันทนา ศิริทรัพย์

  17. การควบคุมโรคติดต่อ 1. ประกาศชื่อโรค มาตรา 5, 6 2. กำหนดให้มีการแจ้งโรค มาตรา 7 3. กำหนดอำนาจหน้าที่ของเจ้าพนักงาน 3.1 ออกคำสั่งให้ดำเนินการ มาตรา 8 3.2 อำนาจกระทำการ มาตรา 9 3.3 ประกาศเขตติดโรค มาตรา 10 3.4 ป้องกันและปราบปรามการระบาด มาตรา 11 3.5 กำหนดให้มีการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค มาตรา 12 4. การควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ มาตรา 13, 14 5. บทลงโทษ มาตรา 16-18 รองศาสตราจารย์แพทย์หญิงนันทนา ศิริทรัพย์

  18. วิธีการควบคุม 1. แจ้งความต่อเจ้าพนักงานสาธารณสุขหรือพนักงานเจ้าหน้าที่ เมื่อมีโรคติดต่ออันตราย หรือโรคติดต่อต้องแจ้งความ ผู้แจ้ง - เจ้าบ้าน ผู้ดูแลบ้าน แพทย์ - ผู้รับผิดชอบในสถานพยาบาล - ผู้ทำการชันสูตรทางการแพทย์ หรือผู้รับผิดชอบ ในสถานที่ชันสูตร รองศาสตราจารย์แพทย์หญิงนันทนา ศิริทรัพย์

  19. พระราชบัญญัติโรคติดต่อพระราชบัญญัติโรคติดต่อ • กำหนดขึ้นเพื่อใช้ควบคุมและป้องกันโรคติดต่อที่เกิดขึ้นจากเชื้อโรคหรือพิษของเชื้อโรคชนิดหนึ่งชนิดใดที่อาจถ่ายทอดจากคนหรือสัตว์ มิให้มีการระบาดในประเทศ หากมีโรคระบาดเกิดขึ้นก็จะต้องกำจัดโรคหรือพาหะของโรคให้เสร็จสิ้นโดยเร็วด้วยวิธีการต่างๆตามหลักวิชาการควบคุมโรคติดต่อเพื่อต้องการให้โรคติดต่อสงบลง รองศาสตราจารย์แพทย์หญิงนันทนา ศิริทรัพย์

  20. พระราชบัญญัติโรคพิษสุนัขบ้า พ.ศ. 2535 (28 มาตรา) มาตรา 1 ชื่อ มาตรา 2 การบังคับใช้ มาตรา 3 ยกเลิกกฎหมายเดิม มาตรา 4 บทนิยาม มาตรา 5 หน้าที่ของเจ้าของสัตว์ควบคุม มาตรา 6-8 การกำหนดเครื่องหมายสัตว์ควบคุมที่ฉีดวัคซีนแล้ว มาตรา 9-15 การควบคุมโรคพิษสุนัขบ้า มาตรา 16-17 หน้าที่ของเจ้าพนักงานสาธารณสุข มาตรา 18-27 ความผิดและโทษ มาตรา 28 รัฐมนตรีรักษาการ รองศาสตราจารย์แพทย์หญิงนันทนา ศิริทรัพย์

  21. มาตรา 4 ในพระราชบัญญัตินี้ รองศาสตราจารย์แพทย์หญิงนันทนา ศิริทรัพย์

  22. โรคพิษสุนัขบ้า • อาการสำคัญได้แก่ คันบริเวณที่ถูกสุนัข หรือสัตว์อื่นกัด รู้สึกผวาเมื่อถูกลม ปวดศีรษะ เป็นไข้ กลืนอาหารและน้ำลำบาก มีอาการชักกระตุกและมีการเกร็งตัวของกล้ามเนื้อระบบกลืน ทำให้ผู้ป่วยมีอาการกลัวน้ำ ต่อมาเพ้อคลั่ง หมดสติถึงแก่กรรมจากระบบหายใจล้มเหลว รองศาสตราจารย์แพทย์หญิงนันทนา ศิริทรัพย์

  23. มาตรา 5เจ้าของสัตว์ควบคุมต้องจัดการให้สัตว์ควบคุม ทุกตัวได้รับการฉีดวัคซีนจากสัตวแพทย์ หรือผู้ได้รับมอบหมายเป็นหนังสือ จากสัตวแพทย์ หรือผู้ประกอบการบำบัด โรคสัตว์ ตามกำหนดเวลา ดังนี้ รองศาสตราจารย์แพทย์หญิงนันทนา ศิริทรัพย์

  24. มาตรา 16เพื่อประโยชน์ในการป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า ที่จะเกิดกับคน ในกรณีสัตวแพทย์ตรวจพบว่า สัตว์ควบคุมใดมีอาการของโรคพิษสุนัขบ้า หรือมีเหตุสงสัยว่าสัตว์ควบคุมได้มีอาการ โรคพิษสุนัขบ้า ให้สัตวแพทย์รีบแจ้งเจ้าหน้าที่ พนักงานสาธารณสุข เพื่อดำเนินการ ตามกฎหมายว่าด้วยโรคติดต่อโดยเร็วที่สุด รองศาสตราจารย์แพทย์หญิงนันทนา ศิริทรัพย์

  25. มาตรา 17เพื่อป้องกันการเกิดและการแพร่โรค พิษสุนัขบ้า ให้อธิบดีมีอำนาจประกาศ กำหนดเขตท้องที่ ให้สัตวแพทย์หรือผู้ได้รับมอบหมาย เป็นหนังสือจากสัตวแพทย์ ไปทำการฉีด วัคซีนให้แก่สัตว์ควบคุม ณ สถานที่ของ เจ้าของสัตว์ควบคุม รองศาสตราจารย์แพทย์หญิงนันทนา ศิริทรัพย์

  26. มาตรา 28ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ รักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ รองศาสตราจารย์แพทย์หญิงนันทนา ศิริทรัพย์

  27. เชื้อโรคและพิษจากสัตว์เป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้เกิดการเจ็บป่วยในคน กฎหมายจึงให้อำนาจแก่อธิบดีกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข กำหนดมาตรการควบคุมผู้ประกอบกิจการเกี่ยวกับการผลิต ครอบครอง จำหน่าย นำเข้า ส่งออก หรือนำผ่านซึ่งเชื้อโรคหรือพิษจากสัตว์ รองศาสตราจารย์แพทย์หญิงนันทนา ศิริทรัพย์

  28. พระราชบัญญัติเชื้อโรคและพิษจากสัตว์ พ.ศ. 2525 1. ความเป็นมา- เชื้อโรคและพิษจากสัตว์เป็นสาเหตุให้เกิดโรค ภัยไข้เจ็บและบั่นทอนสุขภาพมนุษย์ 2. นิยาม - เชื้อโรค 1) เชื้อจุลินทรีย์ 2) เชื้ออื่นที่กำหนดตามกฎกระทรวง 3) ผลิตผลจาก (1) หรือ (2) - พิษจากสัตว์ พิษที่เกิดจากสัตว์ที่ทำให้เกิดโรค ในคน ปศุสัตว์ สัตว์พาหนะ หรือสัตว์อื่นที่ กำหนดในกฎกระทรวง เช่น พิษจากงู พิษ จากแมลง พิษจากปลาปักเป้า รองศาสตราจารย์แพทย์หญิงนันทนา ศิริทรัพย์

  29. 3. สิ่งควบคุม - การผลิต, การครอบครอง, การจำหน่าย การนำเข้า, การส่งออก, การนำผ่าน 4. หลักเกณฑ์การควบคุม - การขออนุญาตประกอบกิจการ - ข้อห้ามและข้อบังคับ - อำนาจของพนักงานเจ้าหน้าที่ - วิธีปฏิบัติสำหรับผู้ไม่ได้รับใบอนุญาต หรือเลิกกิจการ รองศาสตราจารย์แพทย์หญิงนันทนา ศิริทรัพย์

  30. พระราชบัญญัติเชื้อโรคและพิษจากสัตว์ พ.ศ. 2525 และที่แก้ไขเพิ่มเติมเป็นกฎหมายที่มีลักษณะควบคุมการดำเนินการที่เกี่ยวกับเชื้อโรคและพิษจากสัตว์ ซึ่งเป็นสาเหตุทำให้เกิดโรคภัยไข้เจ็บในคน จึงต้องมีมาตรการควบคุมการผลิต การครอบครอง การจำหน่าย นำเข้า ส่งออก หรือนำผ่านเชื้อโรคและพิษจากสัตว์ต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ที่กำหนด รองศาสตราจารย์แพทย์หญิงนันทนา ศิริทรัพย์ 30

  31. กฎหมายเกี่ยวกับการควบคุมและป้องกันโรคจากเนื้อสัตว์กฎหมายเกี่ยวกับการควบคุมและป้องกันโรคจากเนื้อสัตว์ พ.ร.บ. ควบคุมการฆ่าสัตว์และจำหน่ายเนื้อสัตว์ พ.ศ. 2525 ความเป็นมา - เนื้อสัตว์ปนเปื้อน เนื้อสัตว์เป็นโรค หรือมี สารเคมีตกค้างอาจเป็นอันตรายต่อผู้บริโภค จึงต้องมีการควบคุมการจำหน่ายเนื้อสัตว์ ซึ่ง รวมถึงการตรวจโรคสัตว์ก่อนและหลังฆ่า การออกใบอนุญาตตั้งโรคฆ่าสัตว์ และโรงพัก สัตว์เพื่อให้ถูกต้องตามสุขลักษณะ ป้องกันเหตุ รำคาญ และการระบาดของโรค สัตว์ - สัตว์ที่มิใช่สัตว์ป่า และหมายความเฉพาะโค กระบือ แพะ แกะ สุกร และสัตว์อื่นที่ กำหนดใน กฎกระทรวง ได้แก่ เป็ด ไก่ ห่าน รองศาสตราจารย์แพทย์หญิงนันทนา ศิริทรัพย์

  32. พ.ร.บ. ควบคุมคุณภาพอาหารสัตว์ พ.ศ. 2525 เพื่อป้องกันไม่ให้เนื้อสัตว์มีสารพิษหรือสารเคมีตกค้าง จึงกำหนดให้มี 1. ข้อกำหนดวิธีการควบคุมคุณภาพอาหารสัตว์ 2. หน้าที่ของผู้รับใบอนุญาตเกี่ยวกับอาหารสัตว์ 3. วิธีการควบคุมผู้ประกอบกิจการอาหารสัตว์ รองศาสตราจารย์แพทย์หญิงนันทนา ศิริทรัพย์

  33. พระราชบัญญัติโรคระบาดสัตว์ ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับโรคพิษสุนัขบ้า 1. โรคพิษสุนัขบ้าเป็นโรคระบาด ต้องควบคุมการนำเข้าหรือ นำผ่านซากสัตว์ 2. ห้ามนำเข้า นำออก นำผ่านสัตว์ ซากสัตว์ เว้นแต่จะได้รับ ใบอนุญาต 3. การนำเข้า นำออก นำผ่านสัตว์ ซากสัตว์ ต้องปฏิบัติตาม กฎกระทรวง 4. การรับรองสุขภาพสัตว์ 5. หนังสือรับรองซากสัตว์ว่าปราศจากโรคระบาด รองศาสตราจารย์แพทย์หญิงนันทนา ศิริทรัพย์

More Related