1 / 27

คณะผู้จัดทำ นายพีรวัส ใจวังโลก นายกฤช สิทธิวางค์กูล

The Production of R-PAC using Two-Phase Biotransformation System from Dried Longan with Ion Sensitive Field Effect Transistor (ISFET) as a pH Monitoring Probe. Young Scientist and Technologist Programme. คณะผู้จัดทำ นายพีรวัส ใจวังโลก นายกฤช สิทธิวางค์กูล

eve-pearson
Download Presentation

คณะผู้จัดทำ นายพีรวัส ใจวังโลก นายกฤช สิทธิวางค์กูล

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. The Production of R-PAC using Two-Phase Biotransformation System from Dried Longan with Ion Sensitive Field Effect Transistor (ISFET) as a pH Monitoring Probe Young Scientist and Technologist Programme คณะผู้จัดทำ นายพีรวัส ใจวังโลก นายกฤช สิทธิวางค์กูล อาจารย์ที่ปรึกษา อ.ดร.นพพล เล็กสวัสดิ์

  2. Introduction • ปัญหาราคาพืชผลทางการเกษตรอย่าง เงาะ มังคุด ลองกอง และลำไย ที่ตกต่ำของประเทศไทยยังคงเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง • วันที่ 18 สิงหาคม 2550 เกษตรกรส่วนใหญ่ในพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่และลำพูน ได้รับความเดือดร้อนจากปัญหาราคาลำไยตกต่ำเนื่องจากบริษัทในประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีนไม่มั่นใจในคุณภาพลำไยสดที่ผลิต • ปัจจุบันมีลำไยค้างสต๊อกอยู่ที่องค์การคลังสินค้าถึง 2 แสนตัน

  3. Introduction ข้อเสนอแนะในการแก้ปัญหา • การนำลำไยอบแห้งที่หมดอายุมาเป็นแหล่งอาหารคาร์บอนสำหรับการผลิตเป็นเอทานอลที่สามารถนำ มาผสมกับน้ำมันเบนซินเพื่อผลิตเป็นแก๊สโซฮอล์ (gasohol) ได้ จึงน่าจะมีส่วนช่วยบรรเทาปัญหาน้ำมันในตลาดโลก ที่มีราคาเพิ่มสูงขึ้นในปัจจุบัน ทั้งนี้มวลชีวภาพที่ผลิตขึ้นยังใช้เป็นตัวเร่งปฏิกิริยาชีวภาพเพื่อผลิตสารตั้งต้นสำหรับสารเคมีเพื่อการค้า เช่น R-phenylacetylcarbinol (R-PAC) ได้อีกด้วย

  4. Introduction • PAC = Phenyl-Acetyl-Carbinol • R- is from Rectus (Latin)means “right” S- is from Sinister (Latin)means “left”

  5. Objectives • ศึกษาผลกระทบของสัดส่วนโดยปริมาตรของโมลาซที่ใช้ผสมกับสารละลายสกัดจากลำไยอบแห้งต่อการผลิตเอนไซม์ไพรูเวตดีคาร์บอกซิเลสจากลำไยอบแห้งของ C. utilis สามสายพันธุ์ • เพื่อศึกษาการเจริญของจุลินทรีย์ในอาหารเลี้ยงปริมาตร 100 ml ที่มีสารสกัดจากลำไยอบแห้งและโมลาซผสมกันในอัตราส่วน 100:0, 75:25, 50:50, 25:75 และ 0:100 เป็นแหล่งอาหารคาร์บอน โดยมีความเข้มข้นของน้ำตาลทั้งหมด 63.5-64.4 g/l และใช้เวลาเพาะเลี้ยง 48 ชั่วโมง ณ 25.6ºC • เพื่อผลิตเซลล์รวมในถังชีวภาพขนาด 5 ลิตร ที่ใช้สารสกัดจากลำไยอบแห้งและโมลาซในอัตราส่วน 1:1 เป็นแหล่งอาหารคาร์บอน นำเซลล์ที่ได้ไปผลิต PAC จากไพรูเวตและเบนซาลดีไฮด์ สำหรับระบบสองเฟส

  6. Objectives • เพื่อศึกษาผลกระทบของแอลกอฮอล์หรือไฮโดรคาร์บอน 10 ชนิด (จำนวนสายคาร์บอนตั้งแต่ 1-10) และ dipropylene glycol ต่อการผลิต R-PAC ในระบบ two-phase biotransformation ด้วยเอนไซม์ไพรูเวตดีคาร์บอกซิเลสโดยใช้ ลำไยอบแห้งเป็นแหล่งอาหารคาร์บอน • เพื่อศึกษาผลกระทบของสารผสมระหว่าง dipropylene glycol และไฮโดรคาร์บอนสายยาว (C7-C9) ต่อการผลิต R-PAC ในระบบ two-phase biotransformation ด้วยเอนไซม์ไพรูเวตดีคาร์บอกซิเลส โดยใช้ลำไยอบแห้งเป็นแหล่งอาหารคาร์บอน

  7. Material Candida utilis Microorganisms Dried Longan

  8. Experiments ทดสอบกับเชื้อจุลินทรีย์ Candida utilis 3 สายพันธุ์ ในอาหารเลี้ยงเชื้อ 10 ml ใช้สัดส่วนโดยปริมาตรของ โมลาซกับสารละลายสกัดจากลำไยอบแห้ง(อัตราส่วน 100:0,75:25,50:50,25:75,100:0) เป็นแหล่งอาหารคาร์บอนณ 25.6OC การทดลองที่1 การเพาะเลี้ยงกล้าเชื้อ 48 ชั่วโมง

  9. Experiments ทดสอบกับเชื้อจุลินทรีย์Candida utilis3 สายพันธุ์ ในอาหารเลี้ยงเชื้อ 100 ml นำกล้าเชื้อในการทดลองที่ 1 มาเพาะเลี้ยงต่ออีก 48 ชั่วโมง ณ 25.6OC การทดลองที่ 2 การเลี้ยงด้วยสารสกัดลำไยอบแห้ง:โมลาซอัตราส่วน 100:0, 25:75, 50:50 และ 0:100

  10. Experiments Analysis method HPLC Method Sugars (glucose sucrose fructose) Ethanol Acetic acid Citric acid

  11. Experiments • Dry biomass • pH • PDC activity • Total soluble solid • Total sugar • Protein analysis • OD 600 Analysis method

  12. Results

  13. Dry biomass

  14. Total sugar

  15. Results Candida utilis 5302 75:25

  16. Results

  17. Sucrose,Glucose,Fructose - 0 h

  18. Sucrose,Glucose,Fructose - 48 h

  19. Acetic acid

  20. Ethanol

  21. pH

  22. Total protein

  23. Specific PDC activity

  24. PDC activity

  25. Discussion and Conclusions • Candida utilis TISTR5032 75:25 • Candida utilis TISTR5032 0:100 • ระดับความเข้มข้นเอทานอลสูงสุดที่ได้นี้มีค่าน้อยกว่าS. cerevisiae TISTR 5020 & 5606 ถึง 10 เท่า • การผลิตมวลชีวภาพขั้นตอนถัดไปในระดับ 1 ลิตร จำนวน 5 ขวด สำหรับกระบวนการไบโอทรานส์ฟอร์เมชั่นเพื่อผลิต R-PAC เลือกใช้ S. cerevisiaeแทน C. utilis ผลการพัฒนาวิธีการวิเคราะห์ความเข้มข้นของไพรูเวตโดยการตรวจสอบความเข้มข้นของไพรูเวตที่วัดได้กับสารละลายไพรูเวตมาตรฐานด้วยวิธีทางเอนไซม์ (เอนไซม์แลกเตตดีไฮโดรจีเนสควบคู่กับ NADH + H+) พบว่าการรักษาอุณหภูมิใน cell changer ของเครื่องวัดค่าการดูดกลืนแสงให้คงที่ ณ 25OC ตลอดระยะเวลาการวัด 8 นาที มีความสำคัญอย่างมากต่อค่าความถูกต้องของผลการทดลอง โดยช่วงความสัมพันธ์เชิงเส้นตรงของความเข้มข้นของไพรูเวตที่วัดได้ด้วยวิธีการนี้จะอยู่ระหว่าง 0-5 mM การศึกษาผลกระทบของสัดส่วนสารสกัดจากลำไยอบแห้งต่อโมลาซเท่ากับ 0:100, 75:25, 50:50, 25:75 และ 100:0 ต่อการผลิตเอทา-นอลสำหรับ C. utilis 3 สายพันธุ์พบว่าพิสัยของช่วงความเข้มข้นของเอทานอลที่ผลิตได้ (2.98 และ 7.29 g/l สำหรับ C. utilis TISTR 5032 ที่อัตราส่วน 0:100 และ 75:25 ตามลำดับ) มีค่าเพียง 4.31 g/l ซึ่งระดับความเข้มข้นเอทานอลสูงสุดที่ได้นี้มีค่าน้อยกว่าS. cerevisiae TISTR 5020 & 5606 ถึง 10 เท่า (พรรณทิวาและคณะ 2551)การผลิตมวลชีวภาพขั้นตอนถัดไปในถังหมัก 5 ลิตร สำหรับกระบวนการไบโอทรานส์ฟอร์เมชั่นเพื่อผลิต R-phenylacetylcarbinol จึงเลือกใช้ S. cerevisiaeแทน C. utilis

  26. Future works • ทำการผลิตเซลล์ยีสต์ S.cerevisiae TISTR 5606 ในระดับ1 ลิตร 5 ขวด และนำมวลชีวภาพที่ได้มาใช้สำหรับกระบวนการไบโอทรานส์ฟอร์เมชั่นแบบสองเฟสในสารละลายบัฟเฟอร์และไฮโดรคาร์บอน 10 ชนิด (จำนวนสายคาร์บอนตั้งแต่ 1-10) และ dipropylene glycol

  27. Future works • ศึกษาผลกระทบของสารผสมระหว่างแอลกอฮอล์ที่มี carbon backbone สายยาว (C7-C9) และ dipropylene glycol ต่อการผลิต R-PAC ในระบบ two-phase biotransformation • ติดตามการเปลี่ยนแปลงค่า pH ด้วยด้วยหัววัดแบบ Ion Sensitive Field Effect Transistor (ISFET)

More Related