1 / 20

กรอบการเจรจาการค้าเสรีของไทย ความตกลงการค้าเสรีอาเซียน-คู่เจรจา

กรอบการเจรจาการค้าเสรีของไทย ความตกลงการค้าเสรีอาเซียน-คู่เจรจา. กระทรวงพาณิชย์ ธันวาคม 2550. ภาคการค้าระหว่างประเทศมีความสำคัญอย่างมากต่อระบบเศรษฐกิจไทย. 66 %. สัดส่วนการส่งออกสินค้าและบริการต่อ GDP. ส่วนแบ่งของสินค้าออกไทยในตลาดโลก. 1.17 %. 19. = ลำดับที่. $129,744m.

faith-hood
Download Presentation

กรอบการเจรจาการค้าเสรีของไทย ความตกลงการค้าเสรีอาเซียน-คู่เจรจา

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. กรอบการเจรจาการค้าเสรีของไทยความตกลงการค้าเสรีอาเซียน-คู่เจรจากรอบการเจรจาการค้าเสรีของไทยความตกลงการค้าเสรีอาเซียน-คู่เจรจา กระทรวงพาณิชย์ ธันวาคม 2550

  2. ภาคการค้าระหว่างประเทศมีความสำคัญอย่างมากต่อระบบเศรษฐกิจไทยภาคการค้าระหว่างประเทศมีความสำคัญอย่างมากต่อระบบเศรษฐกิจไทย 66% สัดส่วนการส่งออกสินค้าและบริการต่อ GDP ส่วนแบ่งของสินค้าออกไทยในตลาดโลก 1.17% 19 =ลำดับที่ $129,744m มูลค่าการส่งออกของไทยปี 2549

  3. การค้าเสรีเป็นธรรม อย่างค่อยเป็นค่อยไป และมีแนวคุ้มกัน • เสริมสร้างอำนาจต่อรอง • ขยายตลาด และแหล่งวัตถุดิบ ภูมิภาค – ASEAN, APEC พหุภาคี – WTO • ร่วมสร้างกฎเกณฑ์ทางการค้า ทวิภาคี– FTAs • เสาะหาโอกาสทางการส่งออก • ยึดตลาดใหม่ ช่วงชิงโอกาส • สร้างพันธมิตรทางเศรษฐกิจ

  4. ช่วง 15 ปีหลัง AFTA สัดส่วนการค้ารวมของไทยกับอาเซียนเพิ่มขึ้นจากระดับ 13% มาอยู่ที่ระดับ 20%

  5. อาเซียนเป็นตลาดส่งออกหลักของไทยอาเซียนเป็นตลาดส่งออกหลักของไทย Japan 12.8% $16,874.6 mil $16,430.5 mil EU 12.9% $19,454 mil USA 15.4% ASEAN 21.1% Others 37.8% $27,040mil $49,945.7 mil

  6. อาเซียนพึ่งพิงการค้าระหว่างประเทศในสัดส่วนที่สูง และยังต้องพึ่งพิงเงินลงทุนจากนอกภูมิภาคเพื่อขับเคลื่อนเศรษฐกิจ ที่มา: ASEAN Secretariat

  7. คู่ค้าที่สำคัญของอาเซียน ประกอบด้วยตลาดใหญ่ๆ เช่น สหรัฐฯ ญี่ปุ่น จีน สหภาพยุโรป เกาหลี ออสเตรเลีย

  8. ผลการศึกษาชี้ให้เห็นถึงประโยชน์ที่อาเซียนและจีนจะได้รับจากการทำความตกลงการค้าเสรีผลการศึกษาชี้ให้เห็นถึงประโยชน์ที่อาเซียนและจีนจะได้รับจากการทำความตกลงการค้าเสรี “ การจัดตั้งเขตการค้าเสรีอาเซียน-จีน จะสร้างเขตเศรษฐกิจที่ครอบคลุมประชากร 1.7 พันล้านคน มี GDP รวมกันมากกว่า 2 ล้านล้านเหรียญสหรัฐ และมูลค่าการค้ารวมกันถึง 1.23 ล้านล้านเหรียญสหรัฐ ” การส่งออกจากอาเซียนไปจีนจะเพิ่มขึ้นร้อยละ 48 การส่งออกจากจีนไปอาเซียนจะเพิ่มขึ้นร้อยละ 55.1

  9. เขตการค้าเสรีอาเซียน-EU จะทำให้สวัสดิการสังคมในระยะยาว (คิดเป็นตัวเงิน) ของอาเซียนเพิ่มขึ้น 7.8 พันล้านเหรียญสหรัฐ US$ billion

  10. ความตกลงการค้าเสรีจะมีผลให้ GDP ของอาเซียนและญี่ปุ่นขยายตัวในอัตราร้อยละ 1.99 และ 0.07 ตามลำดับ คาดว่าภายในปี 2563 มูลค่าการส่งออกของอาเซียนไปญี่ปุ่นจะเพิ่มขึ้น 20,630 ล้านเหรียญสหรัฐ ในขณะที่มูลค่าการส่งออกของญี่ปุ่นไปยังอาเซียนจะเพิ่มขึ้น 20,022 ล้านเหรียญสหรัฐ US$ million

  11. ผลการศึกษาอื่นๆ ที่อาเซียนใช้ประกอบการตัดสินใจเจรจากับประเทศต่างๆ อาเซียน-ออสเตรเลีย-นิวซีแลนด์ • ความตกลงการค้าเสรีอาเซียน-ออสเตรเลีย-นิวซีแลนด์ จะส่งผลให้ GDP รวมขยายตัวมากกว่า 48 พันล้านเหรียญสหรัฐ อาเซียน-อินเดีย • ขนาดตลาดรวมที่มีขนาดใหญ่ (ประชากร 1.48 พันล้านคน GDP รวม 873 ล้านเหรียญสหรัฐ จะเป็นปัจจัยสำคัญที่ทำให้ FTA อาเซียน-อินเดีย ประสบความสำเร็จ

  12. การศึกษาของ ADB ชี้ว่า ไทยจะเป็นฝ่ายได้รับประโยชน์สูงสุดจากการจัดทำความตกลงการค้าเสรีอาเซียน-คู่เจรจา ผลกระทบด้านรายได้จากการทำความตกลงการค้าเสรีอาเซียน-คู่เจรจา (เปรียบเทียบในปี 2560) ที่มา: รายงาน ASEAN+3 or ASEAN+6: Which Way Forward?, (ADB)

  13. ไทยต้องเข้าร่วมการเจรจาจัดทำความตกลงอาเซียน-คู่เจรจาหลายกรอบ เพื่อรักษาผลประโยชน์ของไทย Single Undertaking อาเซียน-ญี่ปุ่น สรุปผลการเจรจาแล้ว ยังไม่ได้ลงนาม อาเซียน-ออสเตรเลีย-นิวซีแลนด์ อยู่ระหว่างการเจรจา อาเซียน-EU ยังไม่เริ่มการเจรจา แยกความตกลงเป็นฉบับย่อยๆ ความตกลงว่าด้วย: สินค้า บริการ ลงทุน อาเซียน-จีน อยู่ระหว่างการเจรจา ใช้บังคับ 20 กรกฎาคม 2548 ใช้บังคับ 1 กรกฎาคม 2550 อาเซียน-เกาหลี ยังไม่ได้ลงนาม ยังไม่ได้ลงนาม อยู่ระหว่างการเจรจา อาเซียน-อินเดีย อยู่ระหว่างการเจรจา

  14. รัฐธรรมนูญ 2550 เพิ่มการมีส่วนร่วมของรัฐสภาและภาคประชาชนในการจัดทำความตกลงการค้าระหว่างประเทศ ให้ข้อมูล และจัดรับฟังความคิดเห็นประชาชน เสนอกรอบการเจรจาต่อรัฐสภาเพื่อขอความเห็นชอบ ชี้แจงต่อรัฐสภา และต้องได้รับความเห็นชอบของรัฐสภา

  15. ก่อนการเจรจา ให้ข้อมูล & รับฟังความเห็น ชี้แจงต่อรัฐสภา เสนอกรอบการเจรจาต่อรัฐสภาเพื่อขอความเห็นชอบ ก่อนการแสดงเจตนา ให้มีผลผูกพัน ขอความเห็นชอบจากรัฐสภา รัฐสภาพิจารณาภายใน 60 วัน ให้ประชาชนสามารถเข้าถึงรายละเอียดของสัญญา รัฐสภาให้ความเห็นชอบ รัฐสภาไม่เห็นชอบ หลังความตกลงมีผลใช้บังคับ แสดงเจตนาให้มีผลผูกพัน ตกไป/แก้ไข แก้ไขเยียวยาผลกระทบ อย่างรวดเร็ว เหมาะสม และเป็นธรรม

  16. กรอบเจรจาการค้าระหว่างประเทศของไทยกำหนดขอบเขต ท่าที และวัตถุประสงค์กว้างๆ สำหรับแต่ละประเด็นเจรจา การค้าสินค้า ลดอากรขาเข้าและอุปสรรคทางการค้าสินค้า โดยครอบคลุมประเภทสินค้ามากที่สุด รวมถึงกำหนดกฎเกณฑ์การใช้มาตรการที่เกี่ยวข้องกับการค้าสินค้า (ROO, SPS, TBT etc.) ให้สอดคล้องกับกติกาของ WTO การลงทุนและการประกอบธุรกิจบริการ เปิดเสรีระหว่างกันอย่างค่อยเป็นไป โดยให้ระดับการเปิดเสรีมากกว่าระดับการเปิดภายใต้ WTO เปิดโอกาสให้ต่างชาติเข้ามาลงทุนในสาขาที่ความสำคัญต่อระบบเศรษฐกิจ รวมถึงกำหนดให้การคุ้มครองการลงทุนอยู่ในระดับสากล ประเด็นด้านการค้าอื่นๆ เช่น การคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญา แรงงาน สิ่งแวดล้อม ฯลฯ กำหนดกติกาทางการค้าในประเด็นต่างๆ ให้สอดคล้องกับกติกาในระดับพหุภาคีให้มากที่สุด ทั้งนี้ จะเน้นการสร้างให้เกิดความร่วมมือระหว่างกันเป็นหลัก

  17. การลดภาษีศุลกากรพิธีการศุลกากรกฎแหล่งกำเนิดสินค้ามาตรการปกป้อง และมาตรการเยียวยาด้านการค้ามาตรการสุขอนามัยมาตรการกีดกันทางเทคนิค การค้าสินค้า

  18. การเปิดเสรีธุรกิจบริการการเปิดเสรีภาคการลงทุนการรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนย้ายเงินลงทุนการเปิดเสรีธุรกิจบริการการเปิดเสรีภาคการลงทุนการรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนย้ายเงินลงทุน การลงทุน และการประกอบธุรกิจภาคบริการ

  19. การระงับข้อพิพาทระหว่างรัฐความร่วมมือและการอำนวยความสะดวกทางการค้าทรัพย์สินทางปัญญาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์การจัดซื้อโดยรัฐความโปร่งใสการแข่งขันสิ่งแวดล้อมแรงงานการระงับข้อพิพาทระหว่างรัฐความร่วมมือและการอำนวยความสะดวกทางการค้าทรัพย์สินทางปัญญาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์การจัดซื้อโดยรัฐความโปร่งใสการแข่งขันสิ่งแวดล้อมแรงงาน ประเด็นด้านการค้าอื่นๆ

  20. ขอบพระคุณ ขอข้อมูลเพิ่มเติม ได้ที่ กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ โทรศัพท์ 02-5077555 โทรสาร 02-5475611 www.thaifta.com, www.dtn.go.th

More Related