1 / 119

Ref EM-TB1-G7

Ref EM-TB1-G7. แนวทางการวิเคราะห์การใช้พลังงาน ของระบบปรับอากาศจากมาตรวัด และเครื่องมือวัดที่จำเป็น. กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน. ดำเนินงานโดย. หลักการเบื้องต้นของการทำความเย็น และวัฎจักรการทำความเย็นของ ระบบปรับอากาศ. 1.1 ความดัน 1.1.1 หน่วยของความดัน 1.1.2 กฏของปาสคาล

farhani
Download Presentation

Ref EM-TB1-G7

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Ref EM-TB1-G7 แนวทางการวิเคราะห์การใช้พลังงาน ของระบบปรับอากาศจากมาตรวัด และเครื่องมือวัดที่จำเป็น กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน ดำเนินงานโดย

  2. หลักการเบื้องต้นของการทำความเย็นหลักการเบื้องต้นของการทำความเย็น และวัฎจักรการทำความเย็นของ ระบบปรับอากาศ 1.1 ความดัน 1.1.1 หน่วยของความดัน 1.1.2 กฏของปาสคาล 1.1.3 ความดันบรรยากาศ 1.1.4 สูญญากาศ 1.1.5 ความดันสมบูรณ์ และความดันเกจ

  3. หลักการเบื้องต้นของการทำความเย็นและวัฎจักรการทำความเย็นของระบบปรับอากาศหลักการเบื้องต้นของการทำความเย็นและวัฎจักรการทำความเย็นของระบบปรับอากาศ 1.2 ความร้อนและอุณหภูมิ 1.2.1 ความร้อน 1.2.2 การถ่ายเทความร้อน 1.2.3 หน่วยของความร้อน 1.2.4 ความร้อนสัมผัส และความร้อนแฝง 1.2.5 การอิ่มตัว ความร้อนยิ่งยวดและการเย็นเยือก 1.2.6 อุณหภูมิ 1.2.7 หน่วยของอุณหภูมิ 1.2.8 อุณหภูมิสมบูรณ์ 1.2.9 งาน พลังงาน และกำลังงาน 1.2.10 การเปลี่ยนสถานะของน้ำ

  4. หลักการเบื้องต้นของการทำความเย็นและวัฎจักรการทำความเย็นของระบบปรับอากาศหลักการเบื้องต้นของการทำความเย็นและวัฎจักรการทำความเย็นของระบบปรับอากาศ 1.3 วัฏจักรการทำความเย็น 1.3.1 การทำความเย็น และการปรับอากาศ 1.3.2 ภาระความร้อน 1.3.3 สารทำความเย็น 1.3.4 วัฏจักรการทำความเย็น

  5. หลักการเบื้องต้นของการทำความเย็นและวัฎจักรการทำความเย็นของระบบปรับอากาศหลักการเบื้องต้นของการทำความเย็นและวัฎจักรการทำความเย็นของระบบปรับอากาศ 1.1 ความดัน (PRESSURE) ความดัน คือ แรงต่อหน่วยพื้นที่ P = F / A

  6. หลักการเบื้องต้นของการทำความเย็นและวัฎจักรการทำความเย็นของระบบปรับอากาศหลักการเบื้องต้นของการทำความเย็นและวัฎจักรการทำความเย็นของระบบปรับอากาศ • 1.1.1 หน่วยของความดัน • ระบบเมตริก : kgf / cm2 • ระบบอังกฤษ : lbf / in2 • ระบบ SI : ปาสคาล , Pa (1N / m2)

  7. หลักการเบื้องต้นของการทำความเย็นและวัฎจักรการทำความเย็นของระบบปรับอากาศหลักการเบื้องต้นของการทำความเย็นและวัฎจักรการทำความเย็นของระบบปรับอากาศ

  8. หลักการเบื้องต้นของการทำความเย็นและวัฎจักรการทำความเย็นของระบบปรับอากาศหลักการเบื้องต้นของการทำความเย็นและวัฎจักรการทำความเย็นของระบบปรับอากาศ • 1.1.3 ความดันบรรยากาศ • บรรยากาศหรืออากาศที่ห่อหุ้มโลกอยู่ มีน้ำหนักและก่อให้เกิดแรง • ดันกระทำต่อผิวโลก แรงดันดังกล่าวเรียกว่า ความดันบรรยากาศ • ความดันบรรยากาศ =1.033 kgf / cm2 • =1 atm • = 760 mm Hg • = 101.3 Pa • =14.70 lbf / in • =29.92 in. Hg • =34 ftw. = 1 bar

  9. หลักการเบื้องต้นของการทำความเย็นและวัฎจักรการทำความเย็นของระบบปรับอากาศหลักการเบื้องต้นของการทำความเย็นและวัฎจักรการทำความเย็นของระบบปรับอากาศ 1.1.4 สูญญากาศ • ความดันที่ต่ำกว่าความดันบรรยากาศ • สูญญากาศบางส่วน หมายถึง ความดันที่ต่ำกว่าความดันบรรยากาศ • แต่ไม่เป็นสูญญากาศทั้งหมด • สูญญากาศทั้งหมด หมายถึงความดันซึ่งไม่สามารถลดต่อไปได้อีก     

  10. หลักการเบื้องต้นของการทำความเย็นและวัฎจักรการทำความเย็นของระบบปรับอากาศหลักการเบื้องต้นของการทำความเย็นและวัฎจักรการทำความเย็นของระบบปรับอากาศ • 1.1.5ความดันสมบูรณ์ และความดันเกจ • ความดันเกจคือ ความดันที่อ่านได้จากเกจวัดความดัน ซึ่งเกจจะวัดเพียงความ • แตกต่างของความดันของของเหลว และความดันบรรยากาศ • kgf / cm2 g , psig • ความดันสมบูรณ์ คือ ความดันทั้งหมดหรือความดันจริง เป็นการนำความดันเกจ • รวมกับความดันบรรยากาศ kgf / cm2 abs., psia

  11. หลักการเบื้องต้นของการทำความเย็นและวัฎจักรการทำความเย็นของระบบปรับอากาศหลักการเบื้องต้นของการทำความเย็นและวัฎจักรการทำความเย็นของระบบปรับอากาศ 1.2 ความร้อนและอุณหภูมิ 1.2.1ความร้อน ความร้อน คือ รูปหนึ่งของพลังงาน เกิดจากการ เคลื่อนไหว หรือการสั่นสะเทือนของโมเลกุล

  12. หลักการเบื้องต้นของการทำความเย็นและวัฎจักรการทำความเย็นของระบบปรับอากาศหลักการเบื้องต้นของการทำความเย็นและวัฎจักรการทำความเย็นของระบบปรับอากาศ • 1.2.2 การถ่ายเทความร้อน • ความร้อน จะถ่ายเทจากเทหวัตถุหนึ่งไปยังเทหวัตถุ ด้วยวิธีดังต่อไปนี้ • ก. การนำความร้อน – การไหลของความร้อนจากวัตถุหนึ่งไปยังวัตถุอื่น • ด้วยการสัมผัสกันโดยตรง • ข. การพาความร้อน– การเคลื่อนที่ของความร้อนจากที่หนึ่งไปยังอีกที่ • หนึ่ง โดยการพาของของไหลหรืออากาศ • ค. การแผ่รังสี – การถ่ายเทความร้อนในรูปของการเคลื่อนไหวของ • คลื่น

  13. การแผ่รังสี การพาความร้อน การนำความร้อน หลักการเบื้องต้นของการทำความเย็นและวัฎจักรการทำความเย็นของระบบปรับอากาศ

  14. หลักการเบื้องต้นของการทำความเย็นและวัฎจักรการทำความเย็นของระบบปรับอากาศหลักการเบื้องต้นของการทำความเย็นและวัฎจักรการทำความเย็นของระบบปรับอากาศ • 1.2.3 หน่วยของความร้อน • ระบบเมตริก : แคลอรี่ (Calory) • ระบบอังกฤษ : บีทียู (BTU) • ระบบ SI : จูล (Joule) • 1 แคลลอรี = 4.186 จูล • 1 แคลลอรี = 3.968 x 103 BTU • 1 BTU = 1.055 x 103 จูล

  15. หลักการเบื้องต้นของการทำความเย็นและวัฎจักรการทำความเย็นของระบบปรับอากาศหลักการเบื้องต้นของการทำความเย็นและวัฎจักรการทำความเย็นของระบบปรับอากาศ • 1.2.4 ความร้อนสัมผัส และความร้อนแฝง • ความร้อนสัมผัส คือ ความร้อนที่ทำให้อุณหภูมิของสสารเปลี่ยน • แปลง • ความร้อนแฝงคือ ความร้อนที่ทำให้สสารเปลี่ยนแปลงสถานะ • โดยไม่มีการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ

  16. หลักการเบื้องต้นของการทำความเย็นและวัฎจักรการทำความเย็นของระบบปรับอากาศหลักการเบื้องต้นของการทำความเย็นและวัฎจักรการทำความเย็นของระบบปรับอากาศ • 1.2.5 การอิ่มตัว ความร้อนยิ่งยวด และการเย็นเยือก • ของเหลวอิ่มตัว คือ ของเหลวที่ได้รับความร้อนจนถึงอุณหภูมิอิ่มตัวซึ่งเมื่อ ให้ความร้อนต่อไปของเหลวจะเริ่มเปลี่ยนสถานะ • ไออิ่มตัว คือ ไอที่เกิดจากของเหลวที่กำลังกลายเป็นไอ ภายใต้อุณหภูมิ • และความดันเดียวกันกับของของเหลว • ไอร้อนยิ่งยวด คือ อุณหภูมิของไอที่สูงกว่าอุณหภูมิไออิ่มตัว • การเย็นเยือก คือ ของเหลวที่มีอุณหภูมิต่ำกว่าอุณหภูมิหลอมเหลว

  17. หลักการเบื้องต้นของการทำความเย็นและวัฎจักรการทำความเย็นของระบบปรับอากาศหลักการเบื้องต้นของการทำความเย็นและวัฎจักรการทำความเย็นของระบบปรับอากาศ • 1.2.6 อุณหภูมิ • อุณหภูมิ คือ ตัววัดระดับความร้อนของสสาร

  18. หลักการเบื้องต้นของการทำความเย็นและวัฎจักรการทำความเย็นของระบบปรับอากาศหลักการเบื้องต้นของการทำความเย็นและวัฎจักรการทำความเย็นของระบบปรับอากาศ • 1.2.7 หน่วยของอุณหภูมิ • ระบบเมตริก เซนติเกรด 0C • ระบบอังกฤษ ฟาเรนไฮด์ 0F • ระบบ SI เซนติเกรด 0C สมการที่ใช้แปลงหน่วย C = F - 32 9 5

  19. หลักการเบื้องต้นของการทำความเย็นและวัฎจักรการทำความเย็นของระบบปรับอากาศหลักการเบื้องต้นของการทำความเย็นและวัฎจักรการทำความเย็นของระบบปรับอากาศ • 1.2.8 อุณหภูมิสมบูรณ์ • อุณหภูมิที่โมเลกุลของสสารหยุดการเคลื่อนไหวหรือสั่นสะเทือน • ระบบเมตริกและระบบ SI เป็นเคลวิน 0K = 273 0C • ระบบอังกฤษ เป็นแรนคิน0R = 460 0F

  20. หลักการเบื้องต้นของการทำความเย็นและวัฎจักรการทำความเย็นของระบบปรับอากาศหลักการเบื้องต้นของการทำความเย็นและวัฎจักรการทำความเย็นของระบบปรับอากาศ • 1.2.9 งานพลังงาน และกำลังงาน • งานคือ แรงที่ทำให้สสารเคลื่อนที่ xระยะทางที่เคลื่อนที่ • พลังงานคือ ความสามารถที่จะทำงานมี 3 แบบ คือ พลังงานกลพลัง งานไฟฟ้าและพลังงานความร้อน • กำลังงาน คือ อัตราการทำงานต่อหน่วยเวลา

  21. หลักการเบื้องต้นของการทำความเย็นและวัฎจักรการทำความเย็นของระบบปรับอากาศหลักการเบื้องต้นของการทำความเย็นและวัฎจักรการทำความเย็นของระบบปรับอากาศ • 1.2.10 การเปลี่ยนสถานะของน้ำ

  22. หลักการเบื้องต้นของการทำความเย็นและวัฎจักรการทำความเย็นของระบบปรับอากาศหลักการเบื้องต้นของการทำความเย็นและวัฎจักรการทำความเย็นของระบบปรับอากาศ 1.3 วัฎจักรการทำความเย็น 1.3.1การทำความเย็น และการปรับอากาศ การทำความเย็น คือ การลดและรักษาอุณหภูมิของห้องหรือวัตถุให้ มีค่าต่ำกว่าอุณหภูมิสภาพแวดล้อม การปรับอากาศ คือ การควบคุม ความชื้น อุณหภูมิ ความสะอาด ความเร็วลม และการกระจายลมในห้อง ความร้อนความชื้นฝุ่นละออง ความร้อน กระจายลม การทำความเย็น การปรับอากาศ

  23. หลักการเบื้องต้นของการทำความเย็นและวัฎจักรการทำความเย็นของระบบปรับอากาศหลักการเบื้องต้นของการทำความเย็นและวัฎจักรการทำความเย็นของระบบปรับอากาศ • 1.3.2 ภาระความร้อน • อัตราความร้อนที่ต้องนำออกจากบริเวณที่ทำความเย็นแบ่งเป็น • - ภาระความร้อนจากภายนอกเช่นแสงอาทิตย์การรั่วของอากาศเข้าอาคารลมแสงสะท้อนเป็นต้น • - ภาระความร้อนภายในเช่นคนอุปกรณ์ไฟฟ้าไฟแสงสว่างการระบายอากาศออกเป็นต้น

  24. หลักการเบื้องต้นของการทำความเย็นและวัฎจักรการทำความเย็นของระบบปรับอากาศหลักการเบื้องต้นของการทำความเย็นและวัฎจักรการทำความเย็นของระบบปรับอากาศ 1.3.3 สารทำความเย็น สารทำความเย็นคือตัวพาความร้อนที่จะดึงความร้อนออกจาก ห้องไปสู่ข้างนอก คุณสมบัติของสารทำความเย็น ก. ราคาถูก ข. ไม่มีพิษไม่ระเบิดไม่ติดไฟไม่กัดกร่อน ค. เสถียร

  25. หลักการเบื้องต้นของการทำความเย็นและวัฎจักรการทำความเย็นของระบบปรับอากาศหลักการเบื้องต้นของการทำความเย็นและวัฎจักรการทำความเย็นของระบบปรับอากาศ ง. ความร้อนแฝงในการกลายเป็นไอสูง จ. ง่ายต่อการควบแน่นและกลายเป็นไอ ฉ. ง่ายต่อการตรวจหารอยรั่ว ช. ไม่ทำลายสิ่งแวดล้อมกำจัดง่าย ตัวอย่างสารทำความเย็นเช่นอากาศแอมโมเนียคาร์บอนไดออกไซด์ สาร CFC,HCFC และ HFC เป็นต้น

  26. หลักการเบื้องต้นของการทำความเย็นและวัฎจักรการทำความเย็นของระบบปรับอากาศหลักการเบื้องต้นของการทำความเย็นและวัฎจักรการทำความเย็นของระบบปรับอากาศ ตัวกลางการทำความเย็นอื่นๆ ก. น้ำเย็น ข. น้ำเกลือ ค. น้ำแข็ง

  27. หลักการเบื้องต้นของการทำความเย็นและวัฎจักรการทำความเย็นของระบบปรับอากาศหลักการเบื้องต้นของการทำความเย็นและวัฎจักรการทำความเย็นของระบบปรับอากาศ 1.3.4 วัฎจักรการทำความเย็น วัฎจักรการทำความเย็นอย่างง่ายมีพื้นฐาน 4 ขั้นตอน 1. การอัด 2. การควบแน่น 3. การขยาย 4. การกลายเป็นไอ การควบแน่น การขยาย การอัด การกลายเป็นไอ

  28. หลักการเบื้องต้นของการทำความเย็นและวัฎจักรการทำความเย็นของระบบปรับอากาศหลักการเบื้องต้นของการทำความเย็นและวัฎจักรการทำความเย็นของระบบปรับอากาศ อุปกรณ์การอัด COMPRESSOR 1. CENTRIFUGAL 2. RECIPROCATING 3. SCREW 4. SCROLL 5. ROTARY 6. VANE

  29. หลักการเบื้องต้นของการทำความเย็นและวัฎจักรการทำความเย็นของระบบปรับอากาศหลักการเบื้องต้นของการทำความเย็นและวัฎจักรการทำความเย็นของระบบปรับอากาศ อุปกรณ์การควบแน่น CONDENSING 1. ระบายความร้อนด้วยอากาศ 2. ระบายความร้อนด้วยน้ำ

  30. หลักการเบื้องต้นของการทำความเย็นและวัฎจักรการทำความเย็นของระบบปรับอากาศหลักการเบื้องต้นของการทำความเย็นและวัฎจักรการทำความเย็นของระบบปรับอากาศ ชนิดของอุปกรณ์การขยาย (EXPANSION) 1. DIRECT EXPANSION - CAPILLARY TUBES - THERMOSTATIC - EXPANSION VALVE 2. FLOODED TYPE 3. DRY EXPANSION TYPE

  31. หลักการเบื้องต้นของการทำความเย็นและวัฎจักรการทำความเย็นของระบบปรับอากาศหลักการเบื้องต้นของการทำความเย็นและวัฎจักรการทำความเย็นของระบบปรับอากาศ อุปกรณ์การกลายเป็นไอ 1. FAN COIL UNIT 2. AIR HANDLING UNIT

  32. หลักการเบื้องต้นของการทำความเย็นและวัฎจักรการทำความเย็นของระบบปรับอากาศหลักการเบื้องต้นของการทำความเย็นและวัฎจักรการทำความเย็นของระบบปรับอากาศ 2.1 แผนภูมิมอลเลียร์ 2.1.1 CFC - 11 2.1.2 CFC - 12 2.1.3 HCFC - 22 2.1.4 HCFC - 123 2.1.5 HFC - 134a

  33. หลักการเบื้องต้นของการทำความเย็นและวัฎจักรการทำความเย็นของระบบปรับอากาศหลักการเบื้องต้นของการทำความเย็นและวัฎจักรการทำความเย็นของระบบปรับอากาศ 2.2 แผนภูมิไซโครเมตริก 2.2.1 คำศัพท์พื้นฐาน 2.2.2 วิธีการอ่านแผนภูมิไซโครเมตริก 2.2.3 กระบวนการปรับอากาศบนแผนภูมิโซโครเมตริก 2.3 สูตรที่ใช้ในการวิเคราะห์การใช้พลังงานของระบบปรับอากาศ อัตราส่วนประสิทธิภาพพลังงานของเครื่องปรับอากาศ (Energy Efficiency Ratio) : EER = (Btu/hr)/Watt Btu/hr = ความสามารถในการทำความเย็นของเครื่องปรับอากาศ Watt = กำลังไฟฟ้าที่ใช้

  34. หลักการเบื้องต้นของการทำความเย็นและวัฎจักรการทำความเย็นของระบบปรับอากาศหลักการเบื้องต้นของการทำความเย็นและวัฎจักรการทำความเย็นของระบบปรับอากาศ แผนภูมิวัฎจักรการทำความเย็น

  35. แผนภูมิมอลเลียร์ที่ใช้ในการวิเคราะห์แผนภูมิมอลเลียร์ที่ใช้ในการวิเคราะห์ การใช้พลังงานของระบบปรับอากาศ MOLLIER DIAGRAM OR P-h CHART

  36. แผนภูมิมอลเลียร์ที่ใช้ในการวิเคราะห์การใช้พลังงานของระบบปรับอากาศแผนภูมิมอลเลียร์ที่ใช้ในการวิเคราะห์การใช้พลังงานของระบบปรับอากาศ MOLLIER DIAGRAM OR P-h CHART OF R-11

  37. แผนภูมิมอลเลียร์ที่ใช้ในการวิเคราะห์การใช้พลังงานของระบบปรับอากาศแผนภูมิมอลเลียร์ที่ใช้ในการวิเคราะห์การใช้พลังงานของระบบปรับอากาศ MOLLIER DIAGRAM OR P-h CHART OF R-12

  38. แผนภูมิมอลเลียร์ที่ใช้ในการวิเคราะห์การใช้พลังงานของระบบปรับอากาศแผนภูมิมอลเลียร์ที่ใช้ในการวิเคราะห์การใช้พลังงานของระบบปรับอากาศ MOLLIER DIAGRAM OR P-h CHART OF R-22

  39. แผนภูมิมอลเลียร์ที่ใช้ในการวิเคราะห์การใช้พลังงานของระบบปรับอากาศแผนภูมิมอลเลียร์ที่ใช้ในการวิเคราะห์การใช้พลังงานของระบบปรับอากาศ MOLLIER DIAGRAM OR P-h CHART OF R-123

  40. แผนภูมิมอลเลียร์ที่ใช้ในการวิเคราะห์การใช้พลังงานของระบบปรับอากาศแผนภูมิมอลเลียร์ที่ใช้ในการวิเคราะห์การใช้พลังงานของระบบปรับอากาศ MOLLIER DIAGRAM OR P-h CHART OF R-134a

  41. แผนภูมิไซโครเมตริกที่ใช้ในการวิเคราะห์แผนภูมิไซโครเมตริกที่ใช้ในการวิเคราะห์ การใช้พลังงานของระบบปรับอากาศ 2.2 แผนภูมิไซโครเมตริก 2.2.1 คำศัพท์พื้นฐาน ก. อากาศชื้น (lbw) : อากาศที่มีไอน้ำรวมอยู่ด้วย ข. อากาศแห้ง (lba) : อากาศที่ไม่มีไอน้ำรวมอยู่ด้วย ค. อุณหภูมิกระเปาะแห้ง (0F) ง. อุณหภูมิกระเปาะเปียก (0F) จ. อุณหภูมิจุดน้ำค้าง (0F) : อุณหภูมิที่ไอน้ำในอากาศเริ่มควบแน่น

  42. แผนภูมิไซโครเมตริกที่ใช้ในการวิเคราะห์การใช้พลังงานของระบบปรับอากาศแผนภูมิไซโครเมตริกที่ใช้ในการวิเคราะห์การใช้พลังงานของระบบปรับอากาศ • ความชื้นสัมพัทธ์: อัตราส่วนของน้ำหนักจำเพาะของอากาศชื้นกับน้ำหนัก จำเพาะของอากาศอิ่มตัวเป็นเปอร์เซ็นต์ความชื้น • ช. ความชื้นจำเพาะ (lbw/ lba) : น้ำหนักของไอน้ำที่มีอยู่ในอากาศแห้ง 1 ปอนด์ • ปริมาตรจำเพาะ (ft3/lb) : ปริมาตรของอากาศชื้นต่ออากาศแห้ง 1 ปอนด์ใน อากาศชื้นนั้น • ฌ. น้ำหนักจำเพาะ (lb/ft3) : มวลต่อปริมาตร • ญ.เอ็นทาลปี้ (BTU/lb) : พลังงานความร้อนทั้งหมดที่มีอยู่อากาศแห้ง 1 ปอนด์

  43. แผนภูมิไซโครเมตริกที่ใช้ในการวิเคราะห์การใช้พลังงานของระบบปรับอากาศแผนภูมิไซโครเมตริกที่ใช้ในการวิเคราะห์การใช้พลังงานของระบบปรับอากาศ 2.2.2 วิธีการอ่านแผนภูมิไซโครเมตริก เมื่อทราบสภาวะของอากาศ 2 ค่าก็จะสามารถทราบสภาวะอากาศทั้งหมดได้

  44. แผนภูมิไซโครเมตริกที่ใช้ในการวิเคราะห์การใช้พลังงานของระบบปรับอากาศแผนภูมิไซโครเมตริกที่ใช้ในการวิเคราะห์การใช้พลังงานของระบบปรับอากาศ 2.2.3 กระบวนการปรับอากาศบนแผนภูมิไซโครเมตริก การเพิ่มความชื้น

  45. แผนภูมิไซโครเมตริกที่ใช้ในการวิเคราะห์การใช้พลังงานของระบบปรับอากาศแผนภูมิไซโครเมตริกที่ใช้ในการวิเคราะห์การใช้พลังงานของระบบปรับอากาศ การลดความชื้น

  46. แผนภูมิไซโครเมตริกที่ใช้ในการวิเคราะห์การใช้พลังงานของระบบปรับอากาศแผนภูมิไซโครเมตริกที่ใช้ในการวิเคราะห์การใช้พลังงานของระบบปรับอากาศ การทำความเย็น

  47. แผนภูมิไซโครเมตริกที่ใช้ในการวิเคราะห์การใช้พลังงานของระบบปรับอากาศแผนภูมิไซโครเมตริกที่ใช้ในการวิเคราะห์การใช้พลังงานของระบบปรับอากาศ การให้ความร้อน

  48. แผนภูมิไซโครเมตริกที่ใช้ในการวิเคราะห์การใช้พลังงานของระบบปรับอากาศแผนภูมิไซโครเมตริกที่ใช้ในการวิเคราะห์การใช้พลังงานของระบบปรับอากาศ การเพิ่มความชื้นและให้ความร้อน

  49. แผนภูมิไซโครเมตริกที่ใช้ในการวิเคราะห์การใช้พลังงานของระบบปรับอากาศแผนภูมิไซโครเมตริกที่ใช้ในการวิเคราะห์การใช้พลังงานของระบบปรับอากาศ การลดความชื้นและให้ความร้อน

  50. แผนภูมิไซโครเมตริกที่ใช้ในการวิเคราะห์การใช้พลังงานของระบบปรับอากาศแผนภูมิไซโครเมตริกที่ใช้ในการวิเคราะห์การใช้พลังงานของระบบปรับอากาศ การเพิ่มความชื้นและการทำความเย็น

More Related