1 / 89

สำนักงานอัตโนมัติในการจัดการสารสนเทศ

สำนักงานอัตโนมัติในการจัดการสารสนเทศ. ประเภทของข้อมูลในสำนักงาน. ตามลักษณะของข้อมูล ตัวเลข ( numeric data) ตัวอักษรหรือข้อความ ( character data/text) เสียง ( voice) กราฟฟิก ( graphical data) ภาพลักษณ์ ( image data). ประเภทของข้อมูลในสำนักงาน.

faris
Download Presentation

สำนักงานอัตโนมัติในการจัดการสารสนเทศ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. สำนักงานอัตโนมัติในการจัดการสารสนเทศสำนักงานอัตโนมัติในการจัดการสารสนเทศ

  2. ประเภทของข้อมูลในสำนักงานประเภทของข้อมูลในสำนักงาน • ตามลักษณะของข้อมูล • ตัวเลข (numeric data) • ตัวอักษรหรือข้อความ (character data/text) • เสียง (voice) • กราฟฟิก (graphical data) • ภาพลักษณ์ (image data)

  3. ประเภทของข้อมูลในสำนักงานประเภทของข้อมูลในสำนักงาน • ตามการคำนวณในคอมพิวเตอร์- นำไปคำนวณได้ (numeric data)- นำไปคำนวณไม่ได้ (non-numeric data) • ตามแหล่งที่มาของข้อมูล- ภายในองค์กร- ภายนอกองค์กร

  4. ประเภทของข้อมูลในสำนักงานประเภทของข้อมูลในสำนักงาน • ตามหมวดหมู่เอกสารในสำนักงานหมวดที่ 1ข้อมูลด้านการเงินงบประมาณหมวดที่ 2ข้อมูลโต้ตอบทั่วไปหมวดที่ 3ข้อมูลบริหารทั่วไปหมวดที่ 4ข้อมูลบริหารบุคคลหมวดที่ 5ข้อมูลเบ็ดเตล็ดหมวดที่ 6ข้อมูลการประชุมทั่วไปหมวดที่ 7ข้อมูลพัสดุและก่อสร้างหมวดที่ 8ข้อมูลรายงานทั่วไปหมวดที่ 9ข้อมูลการตลาดหมวดที่ 10 ข้อมูลการผลิตหรือบริการ • ตามคุณสมบัติของข้อมูล- เชิงปริมาณสามารถระบุเป็นจำนวนตัวเลข- เชิงคุณภาพไม่สามารถระบุเป็นจำนวนตัวเลขได้

  5. ความสำคัญของข้อมูลต่องานสำนักงานความสำคัญของข้อมูลต่องานสำนักงาน การใช้ข้อมูลในการวางแผน การจัดสายงาน การอำนวยการ และการควบคุม การใช้ข้อมูลเพื่อการทำงานของเจ้าหน้าที่ในงานต่างๆ ตามสายงาน งานที่ต้องมีความสัมพันธ์กับ 2 ส่วนแรก มักจะเกี่ยวข้องกับบุคคลภายนอกองค์กร

  6. ความจำเป็นของการจัดการข้อมูลในสำนักงานความจำเป็นของการจัดการข้อมูลในสำนักงาน

  7. การจำแนกเอกสารในสำนักงานการจำแนกเอกสารในสำนักงาน • ตามลักษณะ • คำสั่งเช่นใบสั่งซื้อสินค้าใบขอถอนเงิน • รายงานเช่นรายงานผลประกอบการรายงานโครงการรายงานความ • คืบหน้าโครงการ • บันทึกช่วยจำ • ข่าว • ตามประเภท • เอกสารพิมพ์ • เสียงเช่นโทรศัพท์ • ภาพลักษณ์เช่นแผนภูมิ • สื่อที่คอมพิวเตอร์อ่านได้

  8. งานที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลสารสนเทศในสำนักงาน • งานรับข้อมูลและสารสนเทศ • การเก็บบันทึกข้อมูลและสารสนเทศ • การประมวลผลข้อมูล • การจัดทำเอกสารธุรกิจ • การสื่อสารข้อมูลและเอกสารธุรกิจ

  9. วิธีที่ใช้ในการจัดการข้อมูลวิธีที่ใช้ในการจัดการข้อมูล ระบบแฟ้มข้อมูล ระบบฐานข้อมูล

  10. ระบบแฟ้มข้อมูล • แฟ้มข้อมูล (file หรือ folder) คือการเก็บรวมข้อมูลที่ได้จากการบันทึกข้อมูลเก็บไว้ในที่เดียวกันในหน่วยความจำสำรอง

  11. โครงสร้างการจัดเก็บข้อมูลในแฟ้มข้อมูล

  12. ประเภทของแฟ้มข้อมูล • ตามลักษณะข้อมูลที่จัดเก็บ • แฟ้มข้อมูลโปรแกรม (program file) • แฟ้มข้อมูลที่เก็บข้อมูล (data file) • แฟ้มข้อความ (text file) แฟ้มข้อมูลกราฟิก (graphic file) แฟ้มข้อมูลเสียง (sound file) และแฟ้มข้อมูลวีดิทัศน์ (video file) • ตามการใช้งาน • แฟ้มข้อมูลหลัก (master file)แฟ้มข้อมูลรายการเปลี่ยนแปลง (transaction file)แฟ้มข้อมูลรายงาน (report file)แฟ้มข้อมูลสำรอง (backup file)

  13. การเรียกใช้แฟ้มข้อมูลการเรียกใช้แฟ้มข้อมูล • การดูรายละเอียดแฟ้มข้อมูลที่มีอยู่ • การเปิดแฟ้มข้อมูล • การปิดแฟ้มข้อมูล • การบันทึกแฟ้มข้อมูล • การแก้ไขแฟ้มข้อมูล • การลบแฟ้มข้อมูล

  14. ปัญหาการใช้แฟ้มข้อมูลในการจัดการข้อมูลปัญหาการใช้แฟ้มข้อมูลในการจัดการข้อมูล • การดูแลข้อมูล • ความซ้ำซ้อนของข้อมูล (data redundancy) ทำให้เกิดปัญหาความไม่สอดคล้องกันของข้อมูล (data inconsistency) • ความอิสระของข้อมูลจากโปรแกรมที่ใช้ข้อมูลนั้น (data independence) • ปัญหาอื่นๆ • การกระจัดกระจายของข้อมูล (data dispersion) • การใช้ประโยชน์จากทรัพยากร (resource utilization)

  15. ระบบฐานข้อมูล • แหล่งรวมข้อมูลที่มีความสัมพันธ์กันในด้านใดด้านหนึ่งจัดเก็บให้เป็นระเบียบ • ข้อมูลที่จัดเก็บในฐานข้อมูลประกอบด้วย • เนื้อหาสาระของข้อมูล (end user data) • คำอธิบายข้อมูล (meta data) อธิบายคุณสมบัติหรือรายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูลที่เป็นเนื้อหาสาระ

  16. ฐานข้อมูล • ฐานข้อมูลเป็นโครงสร้างทางสารสนเทศ • เป็นที่เก็บข้อมูล • แบ่งออกเป็นแฟ้มข้อมูลต่างๆ • มีการกำหนดวิธีการเก็บอย่างเป็นระบบ • ทำให้สามารถเข้าใช้ข้อมูลร่วมกันได้ • โดยมีการจัดการฐานข้อมูลเป็นตัวควบคุม ฐานข้อมูลหมายถึงกลุ่มของแฟ้มข้อมูลประเภทเดียวกันมารวมกันโดยมีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน

  17. ประโยชน์ของฐานข้อมูล • การลดความซ้ำซ้อนในการจัดเก็บข้อมูล • การลดความขัดแย้งหรือความต่างกันของข้อมูล • การพัฒนาระบบใหม่ทำได้สะดวกรวดเร็ว ใช้เวลาสั้นและมีค่าใช้จ่ายต่ำลง • การรักษาความปลอดภัยของข้อมูลทำได้ง่าย • การทำให้ข้อมูลมีความถูกต้องมากขึ้น • ความสามารถในการป้องกันการสูญหายของข้อมูลหรือป้องกันฐานข้อมูลถูกทำลาย

  18. การจัดการฐานข้อมูล (Database Management) • การบริหารแหล่งข้อมูลที่ถูกเก็บรวบรวมไว้ที่ศูนย์กลางเพื่อการใช้งานอย่างมีประสิทธิภาพและลดการซ้ำซ้อนของข้อมูลรวมทั้งลดความขัดแย้งของข้อมูลที่เกิดขึ้นภายในองค์กร • ต้องอาศัยระบบที่ทำหน้าที่ในการกำหนดลักษณะข้อมูลที่จะเก็บไว้ในฐานข้อมูล • การบันทึกข้อมูลลงในฐานข้อมูล • การกำหนดผู้ที่ได้รับอนุญาตให้ใช้ฐานข้อมูล • การอำนวยความสะดวกในการค้นหาข้อมูล

  19. การแก้ไขปรับปรุงข้อมูลการแก้ไขปรับปรุงข้อมูล • การจัดทำข้อมูลสำรอง • โดยใช้ระบบการจัดการฐานข้อมูล Database Management System: DBMS) Microsoft Access, Oracle, Informix, dBase,FoxPro และ Paradox

  20. โครงสร้างข้อมูล (File Structure) • ลักษณะการจัดแบ่งค่าต่างๆของข้อมูลสำหรับระเบียน (Record) ในแฟ้มข้อมูลเพื่อให้คอมพิวเตอร์นำไปประมวลผล

  21. รูปแบบบของระบบฐานข้อมูลรูปแบบบของระบบฐานข้อมูล

  22. ฐานข้อมูลแบบลำดับชั้น (hierarchical data model)

  23. ฐานข้อมูลแบบเครือข่าย (network data model)

  24. ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ (relation data model)

  25. วงจรที่ใช้ในการพัฒนาฐานข้อมูล (Database Life Cycle , DBLC)

  26. 1. การศึกษาเบื้องต้นเพื่อจัดทำฐานข้อมูล • วัตถุประสงค์เพื่อทำความเข้าใจโครงสร้างการทำงานปัญหาการทำงานและขอบเขตของการจัดทำฐานข้อมูล • วิเคราะห์องค์กรศึกษานโยบายวัตถุประสงค์ สภาพการทำงานโครงสร้างของหน่วยงาน • กำหนดปัญหาและเงื่อนไขศึกษาปัญหาจากการปฏิบัติงานระบบข้อมูลที่มีอยู่ • กำหนดวัตถุประสงค์การทำฐานข้อมูล และผู้ที่จะใช้ฐานข้อมูล • กำหนดขอบเขตของการจัดทำฐานข้อมูล

  27. 2. การออกแบบฐานข้อมูล • ส่วนของธุรกิจ (business view) ต้องเข้าใจ • ปัญหาและความต้องการของผู้ใช้ฐานข้อมูลในแต่ละฝ่าย • สารสนเทศที่ต้องการ • ข้อมูลที่จะจัดทำสารสนเทศมีอะไรบ้าง • ส่วนของนักออกแบบ (designer view) ต้องคำนึงถึง • โครงสร้างฐานข้อมูลเป็นอย่างไร • การเข้าถึงและนำข้อมูลมาใช้ได้อย่างไร • ข้อมูลที่จะนำมาจัดทำมีอะไรบ้าง

  28. ขั้นตอนในการออกแบบฐานข้อมูลขั้นตอนในการออกแบบฐานข้อมูล

  29. การออกแบบระดับแนวคิด (conceptual design) 1) การวิเคราะห์ข้อมูลและความต้องการใช้ข้อมูล- ความต้องการใช้สารสนเทศ- ผู้ใช้ข้อมูล- แหล่งที่มาของข้อมูล- บทบาทของสารสนเทศ

  30. การออกแบบระดับแนวคิด (conceptual design) 2) การสร้างความสัมพันธ์ของข้อมูล • วิเคราะห์และสร้างความสัมพันธ์ของข้อมูลโดยใช้แบบจำลองอี-อาร์ไดอะแกรม • เอนทิตี้ (entity) ข้อมูลหลัก • แอตทริบิวต์ (attribute) รายละเอียดข้อมูลภายในเอนทิตี้ • ความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้ (relationship)

  31. ความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้ความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้ • แบบหนึ่งต่อหนึ่ง (one-to-one relationship, 1:1) • แบบหนึ่งต่อหลาย (one-to-many relationship, 1:m) • แบบหลายต่อหลาย (many-to-many relationship, m:n) ขั้นตอนการรสร้างความสัมพันธ์ของข้อมูลโดยใช้แบบจำลองอี-อาร์- กำหนดเอนทิตี้หลักและแอตทริบิวต์- กำหนดความสัมพันธ์ของแต่ละเอนทิตี้- กำหนดคีย์หลัก (primary key) รวมทั้งคีย์นอก (foreign key) เพื่อใช้ระบุในการเข้าถึงข้อมูลแต่ละตัว

  32. 3) การนอร์มัลไลเซชั่น (normalization) ตรวจสอบความซ้ำซ้อนและให้ข้อมูลครบถ้วนไม่ขาดหายไป

  33. การเลือกโปรแกรมระบบจัดการฐานข้อมูล (DBMS software selection) • ค่าใช้จ่าย • คุณสมบัติของโปรแกรมระบบจัดการฐานข้อมูล • โครงสร้างฐานข้อมูล • ความสามารถใช้กับหลายแพลตฟอร์ม • การใช้ทรัพยากรของโปรแกรมระบบจัดการฐานข้อมูล โปรแกรมระบบจัดการฐานข้อมูลแบบเชิงสัมพันธ์ DB2, Oracle, Informix, Ingress หรือ Microsoft Access

  34. 3. การจัดทำและนำข้อมูลเข้าสู่ฐานข้อมูล • การกำหนดเนื้อที่เพื่อจัดเก็บตารางต่างๆ • นำข้อมูลไปจัดเก็บในตารางต่างๆในฐานข้อมูล • กำหนดความปลอดภัยของการเข้าใช้ฐานข้อมูล

  35. 4. การทดสอบและประเมินผล 5. การใช้งานฐานข้อมูล การสอบถามข้อมูลในฐานข้อมูลผ่านภาษาสอบถาม การจัดทำรายงานต่างๆจากฐานข้อมูล • เป็นการทดสอบการทำงานของฐานข้อมูลที่จัดทำขึ้นก่อนนำไปใช้งาน

  36. 6. การบำรุงรักษา • การสำรองข้อมูลในฐานข้อมูล • การกู้ฐานข้อมูลขึ้นมาในกรณีฐานข้อมูลมีปัญหา • การปรับปรุงประสิทธิภาพการทำงานของฐานข้อมูลให้ทำงานเร็วขึ้น

  37. ความปลอดภัยของข้อมูล • ปัจจัยที่ทำให้เกิดความเสียหายต่อข้อมูลในสำนักงาน • คน • พนักงานของหน่วยงานที่ไม่เจตนาทำความเสียหายแก่ข้อมูล • พนักงานของหน่วยงานที่เจตนาทำความเสียหายแก่ข้อมูล • ฮาร์ดแวร์ • ซอฟต์แวร์ • ไวรัสคอมพิวเตอร์ • ภัยธรรมชาติ

  38. อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ • data diddling การปลอมแปลงเอกสารหรือปรับเปลี่ยนข้อมูลเพื่อหาประโยชน์ใส่ตัว • trojan horse อาชญากรรมโดยผู้ที่ได้รับความเสียหายไม่รู้ตัวเช่นการดักขโมยรหัสเพื่อผ่านเข้าไปใช้คอมพิวเตอร์ • salami attack การนำเศษเงินที่เป็นทศนิยมมารวมเป็นก้อนโต • Trapdoor / backdoor เป็นจุดที่เป็นความลับในโปรแกรมที่จัดทำขึ้นเป็นพิเศษเพื่อเข้าสู่โปรแกรมเป็นช่องโหว่ในการทุจริตได้

  39. อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ • electronic warfare การทำลายระบบคอมพิวเตอร์ • logic bomb การเขียนโปรแกรมโดยกำหนดเงื่อนไขเจาะจงไว้ล่วงหน้าเมื่อมีเหตุการณ์เกิดขึ้นตามเงื่อนไขที่กำหนดไว้โปรแกรมดังกล่าวจะทำงานทันที • e-mail bomb เป็นการส่งemail มาให้จำนวนมากจนกระทั่งไม่มีเนื้อที่เหลือในการทำงานหรือรับไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์อื่นๆอีกต่อไป

  40. การรักษาความปลอดภัยของข้อมูล 1. การกำหนดการใช้ข้อมูล(identification) การกำหนดสิทธิ์และการได้รับอนุญาตให้ใช้ข้อมูล1.1 การใช้บัตร (card) กุญแจ (key) หรือบัตรผ่านทาง (badge) เพื่อผ่านทางเข้าไปใช้ระบบหรือข้อมูลที่จัดเก็บในคอมพิวเตอร์1.2การใช้รหัสเพื่อเข้าสู่ระบบ1.3 การใช้ลายเซ็นดิจิทัล (digital key) 1.4 การตรวจสอบผู้มีสิทธิ์ก่อนเข้าสู่ระบบเช่นการอ่านลายนิ้วมือการอ่านรูปทรงมือการตรวจม่านตาหรือเรตินา (retina)

  41. การรักษาความปลอดภัยของข้อมูล 2. การเข้ารหัส • การเข้ารหัส (encryption) • แปลงเนื้อหาที่ปรากฏให้ไม่สามารถเข้าใจได้สำหรับผู้ลักลอบข้อมูลไปทำให้ใช้ประโยชน์ไม่ได้ • ข้อมูลที่เข้ารหัสจะต้องผ่านกระบวนการถอดรหัส (decryption) เพื่อถอดรหัส (decode) ให้เหมือนข้อความต้นฉบับ

  42. การรักษาความปลอดภัยของข้อมูล 3. การควบคุมในด้านต่างๆ3.1 การควบคุมการเข้าถึงและเรียกใช้ข้อมูล (access control) เป็นการกำหนดระดับของสิทธิ์ในการเข้าถึงและเรียกใช้ข้อมูล3.2 การควบคุมการตรวจสอบ (audit control)3.3 การควบคุมคน (people control)3.4 การควบคุมระบบคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่างๆ (physical facilities control)

  43. การรักษาความปลอดภัยของข้อมูล 4. การมีโปรแกรมเพื่อตรวจสอบและป้องกันไวรัสคอมพิวเตอร์ (anti virus program) 5. การจัดทำแผนรองรับกรณีเหตุร้ายหรือแผนฉุกเฉิน (disaster & recovery plan)

  44. การจัดการเอกสาร

  45. การจัดการเอกสาร • เป็นการดำเนินการเอกสารที่ใช้ในสำนักงานให้เป็นระบบนับตั้งแต่ • การผลิต • การใช้ • การจัดเก็บการค้นคืน • การกำจัด • ไม่ว่าจะเป็นเอกสารจากภายในหรือภายนอก • โดยมีกระบวนการในการจัดการเอกสารพร้อมทั้งการนำเทคโนโลยีต่างๆมาใช้เพื่อให้บริการในด้านต่างๆที่เกี่ยวข้องกับเอกสารภายในสำนักงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ

More Related