1 / 22

กรอบแนวทางการดำเนินงาน

กรอบแนวทางการดำเนินงาน. อาหารปลอดภัย ( Food Safety). ธนชีพ พีระธรณิศร์ นักวิชาการสาธารณสุข 8ว (02)590-4638,4180 tha@anamai.moph.go.th http:\foodsan.anamai.moph.go.th. นโยบาย 2547.

Download Presentation

กรอบแนวทางการดำเนินงาน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. กรอบแนวทางการดำเนินงานกรอบแนวทางการดำเนินงาน อาหารปลอดภัย (Food Safety) ธนชีพ พีระธรณิศร์ นักวิชาการสาธารณสุข 8ว (02)590-4638,4180 tha@anamai.moph.go.th http:\\foodsan.anamai.moph.go.th

  2. นโยบาย 2547 * ครัวไทย ครัวโลก * ปีแห่งสุขภาพอนามัย * ปีอาหารปลอดภัย (Food Safety) * เมืองไทยสุขภาพดี(Healthy Thailand)

  3. เมืองไทยสุขภาพดี (Healthy Thailand) 2547 มกราคม - ธันวาคม 2547

  4. เป้าหมาย อาหารที่ผลิตและบริโภคภายในประเทศ มีความปลอดภัยในระดับสากล และเป็นครัวอาหารของโลก

  5. สถานการณ์ความปลอดภัยด้านอาหารสถานการณ์ความปลอดภัยด้านอาหาร ร้อยละของร้านอาหารและแผงลอยที่ได้มาตรฐาน Clean Food Good Taste รายเขต แหล่งข้อมูล : กองสุขาภิบาลอาหารและน้ำ วันที่ 29 ธันวาคม 2546

  6. สถานการณ์ความปลอดภัยด้านอาหารสถานการณ์ความปลอดภัยด้านอาหาร จำนวนตลาดสดน่าซื้อรายเขต(ระดับ๓ดาวขึ้นไป) แหล่งข้อมูล : สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม วันที่ 1 ธันวาคม 2546

  7. ตัวชี้วัดกระทรวง 1. ปัจจัยการผลิต ไม่มีสารปนเปื้อน 6 ชนิด 2. อาหารสดมีป้ายอาหารปลอดภัย 3. ตลาดสดมีป้ายตลาดสดน่าซื้อ 4. อาหารแปรรูปมีเครื่องหมาย อย. 5. ร้านอาหารและแผงลอยมีป้าย อาหารสะอาดรสชาติอร่อย 6. สถานที่ผลิตอาหารได้มาตรฐาน GMP xx-x-xxx-x-xxxx

  8. ตัวชี้วัดดำเนินงาน 1. เป้าหมายกระทรวงสาธารณสุข ร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหารปรับปรุง ได้มาตรฐานร้อยละ 45 2. ตัวชี้วัดกรมอนามัย ร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหารปรับปรุงให้ ได้มาตรฐาน Clean Food Good Taste ร้อยละ 30 ร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหารทั่วประเทศ ได้มาตรฐานท้องถิ่น ร้อยละ 45

  9. ร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหารทั่วประเทศปรับปรุงร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหารทั่วประเทศปรับปรุง มาตรฐาน 8 ข้อ ครบ 100% ประกอบด้วย • 1. วางจำหน่ายอาหารพร้อมบริโภคสูงจากพื้นอย่างน้อย 60 ซม. • 2.ผู้สัมผัสอาหารผ่านการอบรมหลักสูตรสุขาภิบาลอาหาร • 3.ผู้สัมผัสอาหารแต่งกายสะอาด สวมเสื้อมีแขน ผูกผ้ากันเปื้อน • และสวมหมวก/เน็ทคลุมผม • 4.ผู้สัมผัสอาหารใช้อุปกรณ์หยิบจับอาหารพร้อมบริโภคทุกชนิด • 5.ต้องมีการปกปิดอาหารพร้อมบริโภคที่วางจำหน่าย • 6.ไม่แช่สิ่งของ/อาหารทุกชนิดในน้ำแข็งที่ใช้บริโภค • 7.ล้างภาชนะอุปกรณ์ด้วยน้ำยาล้างจาน ตามหลักสุขาภิบาลอาหาร • และอุปกรณ์การล้างต้องสูงจากพื้นอย่างน้อย 60 ซม. • 8.เก็บภาชนะอุปกรณ์ตามหลักสุขาภิบาลอาหาร ให้สูงจาก • พื้นอย่างน้อย 60 ซม.

  10. กลยุทธ์ ประกอบด้วย 1 พัฒนาองค์ความรู้ และเทคโนโลยี 2 ถ่ายทอดองค์ความรู้ และเทคโนโลยี 3 สนับสนุนการดำเนิน งานภาคีที่เกี่ยวข้อง

  11. กิจกรรมที่สำคัญ ประกอบด้วย 1 รวบรวม วิเคราะห์ พัฒนา ศึกษา วิจัยองค์ความรู้ 2 พัฒนา ศึกษา วิจัย เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้อง 3 พัฒนาศักยภาพบุคลากรที่เกี่ยวข้อง 4 พัฒนาระบบข้อมูลข่าวสาร บริการประชาชน 5 เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ องค์ความรู้และเทคโนโลยี 6 พัฒนาศักยภาพภาคีร่วมดำเนินงาน 7 สนับสนุนภาคี จัดการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์งาน เช่น งานมหกรรมอาหาร,เทศกาลต่างๆ 8 สนับสนุนภาคเอกชนพัฒนาความรู้ให้กับผู้ประกอบการค้าอาหาร 9 เผยแพร่ประชาสัมพันธ์มาตรฐาน Clean Food Good Taste ให้เป็นทางเลือกทั้งภายในประเทศและต่างประเทศ

  12. แผนการดำเนินงาน ปี 2547 * ประชุมเร่งรัดการดำเนินงานเจ้าหน้าที่ กุมภาพันธ์ สาธารณสุขจังหวัด * ประชุมภาคีชมรมทั่วประเทศ พฤษภาคม * จัดมหกรรมอาหารรายเขตและภาค ตลอดปี * เผยแพร่ประชาสัมพันธ์กิจกรรมต่างๆ ตลอดปี * จัดอบรมผู้ประกอบการค้าอาหาร 4 ภาค ตลอดปี * การติดตามประเมินผล เมษายน-กันยายน

  13. ขั้นตอนการดำเนินงาน 30%/อำเภอ 2547 45% มาตรฐานท้องถิ่น มาตรฐาน 8 ข้อ 100% มาตรฐาน 5 ข้อ 100% 2546

  14. เกณฑ์มาตรฐานท้องถิ่น * ร้านอาหาร ผ่านเกณฑ์พื้นฐานทางกายภาพ 15 ข้อ, แผงลอย จำหน่ายอาหาร 12 ข้อของกรมอนามัย * ร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหารผ่านเกณฑ์ข้อกำหนดท้องถิ่น ที่มีข้อกำหนดได้เกณฑ์มาตรฐาน * สุ่มตรวจเพื่อรับรองมาตรฐาน แล้วแต่ท้องถิ่นกำหนด * ต่อมาตรฐานอายุ ทุกๆ 1 ปี ลงทะเบียน/รายงาน ขออนุญาติ ตรวจแนะนำ/อบรม ประเมิน

  15. เกณฑ์มาตรฐาน Clean Food Good Taste (ได้ป้าย Clean Food Good Taste ) * ร้านอาหาร ผ่านเกณฑ์พื้นฐานทางกายภาพ 15 ข้อ, แผงลอย จำหน่ายอาหาร 12 ข้อของกรมอนามัย * ร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหารผ่านการตรวจเชื้อทางแบคทีเรีย ร้อยละ 90 ของการตรวจ 10 ตัวอย่างผ่านการตรวจด้วยน้ำยา SI-2 (อาหาร 5 ตัวอย่าง,ภาชนะ 3 ตัวอย่าง และมือผู้สัมผัสอาหาร 2 ตัวอย่าง) * สุ่มตรวจเพื่อรับรองมาตรฐาน ทุกๆ 2 เดือน * ต่ออายุ ทุกๆ 1 ปี

  16. รับสมัคร ตรวจแนะนำ/อบรม แบบสำรวจ/น้ำยา/ผ้ากันเปื้อน ประเมินกายภาพ มาตรฐานท้องถิ่น ประเมินชีวภาพ SI-2 SI-2 ลงทะเบียน/รายงาน FSMIS FSMIS/E-INSPECTION สนับสนุนป้าย/ปชส WEB/PR/ป้าย มหกรรมอาหาร

  17. เกณฑ์ข้อกำหนด 8 ข้อ * ร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหารผ่านเกณฑ์ข้อกำหนด 8ข้อ ของกรมอนามัย * ตรวจประเมินเพื่อรับรองทุกพื้นที่ สติกเกอร์ ลงทะเบียน/รายงาน รับรอง แบบสำรวจ ตรวจแนะนำ/อบรม ประเมิน

  18. สิ่งสนับสนุน * ภาครัฐ 1. การประชาสัมพันธ์ 2. ป้ายมาตรฐาน Clean Food Good Taste 3. คู่มือและแบบสำรวจ 4. น้ำยา SI-2 * ภาคเอกชน 1. น้ำยาล้างจาน 2. ผ้ากันเปื้อน 3. สื่อเผยแพร่ต่างๆ

  19. ระบบการประเมิน 1. Clean Food Good Taste 30% ต่ออำเภอ 1.1 การประเมิน ส่วนกลาง สุ่มประเมิน เขตละ 1 จังหวัด (10% CFGT) ศูนย์ฯเขต สุ่มประเมินทุกจังหวัดในเขต(10 % CFGT) สสจ. ร่วมกับพื้นที่ประเมิน ทุก ๆ 2 เดือน (6 ครั้งครบ 100% CFGT)

  20. 1.2 การรายงาน สสจ. ระบบ E-Inspection รายงานรายเดือน ศูนย์ฯเขตWeb Report (http:\\Foodsan.anamai.moph.go.th) รายงานรายเดือน กอง สอ. - ประชุมกรมทุกเดือน - รายงานศูนย์ Food Safety

  21. 2. มาตรฐานท้องถิ่น 45 % 2.1 การประเมิน ส่วนกลาง สุ่มประเมิน เขตละ 1 จังหวัด ศูนย์ฯเขต ประเมินทุกจังหวัดในเขต สสจ. ประเมินพื้นที่รับผิดชอบ 2.2 การรายงาน สสจ. E-Inspection รายงานทุกเดือน ศูนย์ฯเขตWeb Report กรมอนามัย ทุกเดือน กองสอ.และน้ำ - รายงานที่ประชุมกรมทุกเดือน - รายงานศูนย์ Food Safety

  22. 3. ข้อกำหนด 8 ข้อ 100 % 3.1 การประเมิน ส่วนกลาง สุ่มประเมิน เขตละ 1 จังหวัด ศูนย์ฯเขต ประเมินทุกจังหวัดในเขต สสจ. ประเมินทุกพื้นที่รับผิดชอบ 3.2 การรายงาน สสจ.รายงานให้ศูนย์ฯ เขต ทุกเดือน ศูนย์ฯเขตWeb Report กรมอนามัย ทุกเดือน

More Related