1 / 19

นโยบายมหภาค

นโยบายมหภาค. อัตราเงินเฟ้อ. อัตราการว่างงาน. แก้ปัญหาได้อย่างไร. บัญชีรายได้ประชาชาติ. ดุลการชำระเงิน. ทบทวน. ตัวแปรสำคัญในวิชามหเศรษฐศาสตร์. ประเด็นสำคัญในวิชามหเศรษฐศาสตร์. 1. ปัญหาเงินเฟ้อหรือเงินฝืด. 2. ปัญหาการว่างงาน. 3. ปัญหาการผันผวนของผลิตและรายได้ของประชาชนโดยรวม.

Download Presentation

นโยบายมหภาค

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. นโยบายมหภาค

  2. อัตราเงินเฟ้อ อัตราการว่างงาน แก้ปัญหาได้อย่างไร บัญชีรายได้ประชาชาติ ดุลการชำระเงิน ทบทวน ตัวแปรสำคัญในวิชามหเศรษฐศาสตร์ ประเด็นสำคัญในวิชามหเศรษฐศาสตร์ 1. ปัญหาเงินเฟ้อหรือเงินฝืด 2. ปัญหาการว่างงาน 3. ปัญหาการผันผวนของผลิตและรายได้ของประชาชนโดยรวม แก้ด้วยนโยบาย 4. ปัญหาดุลงบประมาณกับการเก็บภาษี (เรื่องภายในประเทศ) 5. ปัญหาการผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยนเงิน (เรื่องระหว่างประเทศ) 2

  3. จุดประสงค์การเรียนรู้ในชั่วโมงนี้จุดประสงค์การเรียนรู้ในชั่วโมงนี้ ยกตัวอย่างของชนิดของนโยบายหลักที่ใช้ควบคุมเศรษฐศาสตร์แบบมหภาคและอธิบายหลักการของนโยบายนั้นๆได้ 3

  4. นโยบายการคลัง (Fiscal Policy) เป็นนโยบายการบริหารฐานะทางการคลังของรัฐ ซึ่งจะมีคณะรัฐมนตรีและรัฐสภาเป็นผู้กำกับดูแล นโยบายการเงิน (Monetary Policy) นโยบายอัตราการแลกเปลี่ยน นโยบายรายได้และการผลิต (Income and Growth Policy) ที่มา ตีรณ พงศ์เมฆพัฒน์ (2542)เศรษฐศาสตร์มหภาค ทฤษฎี นโยบาย และการวิเคราะห์สมัยใหม่ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย นโยบายมหภาค Macro Policy เป็นนโยบายเกี่ยวกับปริมาณเงินตราที่ไหลเวียนในระบบเศรษฐกิจซึ่งจะมีธนาคารกลางเป็นผู้ดูแลรับผิดชอบ เป็นนโยบายเกี่ยวกับอัตราการแลกเปลี่ยนระหว่างเงินของประเทศและเงินสกุลต่างๆ เป็นนโยบายที่ใช้ดูแลให้เศรษฐกิจเติบโตอย่างมีเสถียรภาพในระยะยาว มักได้รับความสนใจน้อย มีหน่วยงานหรือกระทรวงที่เกี่ยวข้องหลายส่วน 4

  5. เพื่อซื้อสินค้าและ บริการจากภาคเอกชน รายจ่ายของรัฐ Government expenditure เพื่อเป็นเงินเดือน หรือค่าจ้างให้ข้าราชการและลูกจ้างรัฐ เงินโอนที่รัฐจ่ายให้แก่ภาคครัวเรือนหรือสถาบันต่างๆเพื่อช่วยเหลือในด้านสวัสดิการ ใช้ดูแลงบประมาณแผ่นดิน รายรับของรัฐ Government revenue ดูตัวอย่างในslide แผ่นต่อไป ดูตัวอย่างในslide แผ่นต่อไป ที่มา ตีรณ พงศ์เมฆพัฒน์ (2542)เศรษฐศาสตร์มหภาค ทฤษฎี นโยบาย และการวิเคราะห์สมัยใหม่ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย นโยบายการคลัง(Fiscal Policy) รายจ่ายที่รัฐบาลจับจ่ายใช้สอยเพื่อบริหารประเทศ มักเป็นการจัดหาสินค้าและบริการสาธารณะให้แก่ประชาชน รายได้ของรัฐบาลซึ่งมักมีองค์ประกอบหลักคือ รายได้ภาษีและค่าธรรมเนียมต่างๆ 5

  6. ตัวอย่างรายจ่ายของรัฐตัวอย่างรายจ่ายของรัฐ 6 ที่มา อเนก เธียรถาวร (2524)เศรษฐศาสตร์มหภาค 1

  7. เงินปันผลที่ได้จากกิจการที่รัฐมีหุ้นส่วนเช่นเงินส่วนแบ่งจากธนาคารแห่งประเทศไทย, รายได้จากกิจการรถไฟ, การไฟฟ้า, การประปา ตัวอย่างรายรับของรัฐ ล้านบาท 7 ที่มา อเนก เธียรถาวร (2524)เศรษฐศาสตร์มหภาค 1

  8. ดุลงบประมาณแผ่นดิน หมายถึงผลต่างระหว่างรายได้กับรายจ่ายของรัฐ B = T- G > 0 เกินดุล = 0 ได้ดุล < 0 ขาดดุล B : ดุลงบประมาณแผ่นดิน T : รายได้ (หลักๆจะเป็นค่าภาษีที่เป็นฟังชั่นของรายได้ประชาชาติ) G : รายจ่าย (สินค้าสาธารณะ, เงินเดือน, เงินโอนพวกดอกเบี้ยหรือสวัสดิการ) มักไม่แน่นอน เกินดุล G, T T ขาดดุล G NI0 National Income ประยุกต์จาก ตีรณ พงศ์เมฆพัฒน์ (2542)เศรษฐศาสตร์มหภาค ทฤษฎี นโยบาย และการวิเคราะห์สมัยใหม่ จุฬาลงกรณ์ และ รัตนา สายคณิต (2537) มหเศรษฐศาสตร์วิเคราะห์ จากทฤษฎีสู่นโยบาย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย การกำหนดนโยบายการคลัง จะปรากฎชัดเจนออกมาในรูปของการตัดสินใจเกี่ยวกับดุลของงบประมาณแผ่นดิน ดังนั้นก่อนอื่นเราควรทำความเข้าใจกับฟังชั่นดุลงบประมาณแผ่นดินดังนี้ 8

  9. = C (consumer) ค่าใช้จ่ายในด้านอุปโภคบริโภคของเอกชน + I (investment) ค่าใช้จ่ายในด้านการลงทุนของเอกชน + G (government) ค่าใช้จ่ายของรัฐ + X - Mมูลค่าการส่งออกสุทธิ อุปสงค์รวม (Aggregate Demand) ใน ใน ใน นำเข้า นำเข้า นำเข้า M X:(Export) มูลค่าสินค้าส่งออก, M: (Import)มูลค่าสินค้านำเข้า สิ่งสนองแรงกระตุ้น ตัวกระตุ้นให้เกิดผลผลิต อุปทานรวม (Aggregate Supply) = C (consumer) รายได้ ในด้านอุปโภคบริโภคของเอกชน + S (saving) เงินออม + T (tax) รายรับของรัฐจากการเก็บภาษีต่างๆ ประยุกต์จาก อเนก เธียรถาวร (2524)คู่มือเศรษฐศาสตร์มหภาค 1 เมื่อไม่ได้ดูเฉพาะงบประมาณแผ่นดิน และขยายมุมมองไปพิจารณาความเคลื่อนไหวโดยรวมของกิจกรรมเศรษฐกิจทั้งหมดในประเทศ จะพบว่า 9

  10. เมื่อระบบเศรษฐกิจรวมได้ดุลยภาพ จะพบว่า อุปสงค์รวม(Aggregate Demand) = อุปทานรวม(Aggregate Supply) C + I + G + X – M = C + S + T ดุลงบประมาณแผ่นดิน กำหนดได้ด้วยนโยบายการคลัง I + X – M = S + T - G 10

  11. 1. นโยบายภาษีอากร การใช้วิธีกำหนดอัตราภาษีชนิดใหม่, เปลี่ยนแปลงหรือยกเลิกอัตราภาษีเดิมเพื่อป้องกันหรือแก้ปํญหาเศรษฐกิจมหภาคต่างๆ อุปสงค์รวม อุปทานรวม C + I + G + X – M C + S + T ก็อาจใช้นโยบายลดภาษีเพื่อให้ระบบเศรษฐกิจรวมได้ดุลยภาพณรายได้ที่ใกล้เคียงกับสภาพก่อนเกิดปัญหา หากเศรษฐกิจซบเซา ความต้องการในการลงทุนลดลง ตัวอย่างนโยบายการคลัง ตัวอย่าง1 กรณีความต้องการในการลงทุนในระบบเศรษฐกิจรวมลดลง ถาม ในกรณีนี้งบประมาณแผ่นดินขาดดุล, ได้ดุลหรือ เกินดุล? 11 ถาม แล้วหลังจากนี้จะมีอะไรเปลี่ยนแปลงหรือไม่?

  12. อุปสงค์รวม (AD) อุปทานรวม (AS) ระดับราคาสินค้าและบริการ AS0 AS1 AD0 AD1 National Income NI1 NI0 C2 + I2 + G + X – M C2 + S2 + T ระดับราคาสินค้าและบริการ AS2 AD2 NI1 NI2 National Income C + I1 + G + X – M C + S + T1 เป็นวิธีแก้ปัญหาที่อาจทำให้ NI1 กลับมามีค่าเท่าๆกับ NI0 เดิม 12

  13. 2. นโยบายรายจ่าย การใช้วิธีลดหรือเพิ่มรายจ่ายเพื่อป้องกันหรือแก้ปํญหาเศรษฐกิจมหภาคต่างๆ อุปสงค์รวม AD C1 I1 อุปทานรวม C + I + G + X – M C + S + T อาจใช้นโยบายลดรายจ่ายเพื่อให้ระดับราคาสินค้าณจุดดุลยภาพต่ำลง ระดับราคาสินค้าและบริการ AS P1 P2 P0 AD2 AD1 AD National Income ตัวอย่าง1 กรณีเกิดปัญหาเงินเฟ้อ 13 ถาม ในกรณีนี้งบประมาณแผ่นดินขาดดุล, ได้ดุลหรือ เกินดุล?

  14. นโยบายการเงิน(Monetary Policy) เป็นนโยบายที่ธนาคารกลางใช้ควบคุมปริมาณเงินหรืออัตราดอกเบี้ยให้อยู่ในปริมาณที่เหมาะสม เพื่อปรับเศรษฐกิจให้เป็นไปในทิศทางที่ต้องการ ตัวอย่างนโยบายการเงิน ตัวอย่าง  แบบฝึกหัด กรณีเกิดปัญหาเงินฝืดจะใช้นโยบายลดหรือเพิ่มอัตราดอกเบี้ย และจงเขียนกราฟอธิบาย อุปสงค์รวม AD อุปทานรวม C + I + G + X – MC + S + T ระดับราคาสินค้าและบริการ C1 I1 ? National Income 14

  15. เฉลย อุปสงค์รวม AD อุปทานรวม C + I + G + X – M C + S + T C1 I1 อาจใช้นโยบายลดดอกเบี้ยธนาคารเพื่อให้ระดับราคาสินค้าณจุดดุลยภาพสูงขึ้น เพราะ Sเพิ่มขึ้น ระดับราคาสินค้าและบริการ AS1 เพราะ Sลดลง AS2 P0 AS0 P1 AD1 AD2 AD0 National Income เพราะ I เพิ่มขึ้น P2 ระดับราคาสินค้าณจุดดุลยภาพสูงจาก P1 เป็น P2 15

  16. นโยบายอัตราแลกเปลี่ยนนโยบายอัตราแลกเปลี่ยน เป็นนโยบายที่รัฐบาลใช้ควบคุมดุลการชำระเงินระหว่างประเทศให้อยู่ในปริมาณที่เหมาะสม เพื่อปรับเศรษฐกิจให้เป็นไปในทิศทางที่ต้องการ ตัวอย่างนโยบายอัตราแลกเปลี่ยน ตัวอย่าง กรณีที่ดุลการชำระเงิน=0 แต่ เงินฝืดแล้วเกิดปัญหาคนว่างงาน รัฐบาลสามารถแก้แก้ปัญหาได้โดยใช้นโยบายปรับอัตราแลกเปลี่ยนเงินระหว่างประเทศ อุปสงค์รวม AD อุปทานรวม AS C + I + G + X – M C + S + T เงินฝืด อุปสงค์ลดลง อาจแก้ปํญหาได้โดยลดค่าเงินบาทเพื่อ เพิ่มอุปสงค์ในส่วนระหว่างประเทศขึ้น ถาม หลังจากปรับอัตราแล้วดุลการชำระเงินขาดดุล, ได้ดุลหรือ เกินดุล? 16

  17. เพิ่มขึ้น แสดงว่ามากกว่า0 เกินดุล กล่าวคือ ด้านเครดิต(credit) ด้านเดบิต(debit) บัญชีเดินสะพัด บัญชีทุน บัญชีเงินบริจาค บัญชีทุนสำรองระหว่างประเทศ รวม C + I + G + X – M credit debit 17

  18. ดุลยภาพของระบบเศรษฐกิจดุลยภาพของระบบเศรษฐกิจ อุปสงค์รวม อุปทานรวม C + I + G + X – M =C + S + T นโยบายการคลัง นโยบายการเงิน นโยบายอัตราการแลกเปลี่ยน ปัญหาเศรษฐกิจซบเซา ปัญหาเงินฝืด ปัญหาเงินฝืด ตัวอย่าง ปัญหาเงินเฟ้อ สรุปเนื้อหาวันนี้ เกี่ยวข้องกับดุลการชำระเงิน เกี่ยวข้องกับดุลงบประมาณแผ่นดิน 18

  19. แบบฝึกคิด เมื่องบประมาณแผ่นดินขาดดุล แล้วรัฐบาลคิดแก้ปัญหาโดยพิมพ์ธนบัตรออกขายให้แก่ธนาคารเพื่อเอาเงินมาบริหารประเทศ นศ.คิดว่าวิธีนี้แก้ปัญหาระยะยาวได้หรือไม่ หากไม่จงบอกว่าจะเกิดปัญหาใดต่อไป 19

More Related