1 / 50

การวิจัยเกี่ยวกับก ารเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศ และการเกษต ร

การวิจัยเกี่ยวกับก ารเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศ และการเกษต ร. อำนาจ ชิดไธสง บัณฑิตวิทยาลัยร่วมด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม ม. เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี amnat_c@jgsee.kmutt.ac.th. การศึกษาด้านสภาพภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง. ผลกระทบต่อมนุษย์และระบบนิเวศน์

finn-bowman
Download Presentation

การวิจัยเกี่ยวกับก ารเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศ และการเกษต ร

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การวิจัยเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและการเกษตรการวิจัยเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและการเกษตร อำนาจ ชิดไธสง บัณฑิตวิทยาลัยร่วมด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม ม. เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี amnat_c@jgsee.kmutt.ac.th

  2. การศึกษาด้านสภาพภูมิอากาศเปลี่ยนแปลงการศึกษาด้านสภาพภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง ผลกระทบต่อมนุษย์และระบบนิเวศน์ อาหารและทรัพยากรน้ำ ระบบนิเวศน์และความหลากหลายทางชีวภาพ การตั้งถิ่นฐาน สุขอนามัย Climate Change อุณหภูมิ ระดับน้ำทะเล ฝนเปลี่ยนแปลง ความแห้งแล้ง/น้ำท่วม การปรับตัว การปรับตัว ผลกระทบต่อสังคมและเศรษฐกิจ การเติบโตทางเศรษฐกิจ เทคโนโลยี ประชากร ธรรมาภิบาล การควบคุมการปล่อย และความเข้มข้นของ ก๊าซเรือนกระจกและ aerosols Mitigation Synthesis report IPCC

  3. บทบาทของการเกษตรกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศบทบาทของการเกษตรกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ • การเกษตรเป็นสาเหตุของโลกร้อน/การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ • การเกษตรเป็นฝ่ายที่ถูกกระทำหรือได้รับผลกระทบจากโลกร้อน/การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ • การเกษตรเป็นทางหนึ่งในการช่วยลดโลกร้อน/การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

  4. 1. การเกษตรเป็นสาเหตุของโลกร้อน:ก๊าซเรือนกระจก-ที่ไหน อย่างไร การเปลี่ยนแปลง • ก๊าซมีเทนและไนตรัสออกไซด์จากนาข้าว • ไนตรัสออกไซด์จากการเกษตรในที่ดอน • ก๊าซเรือนกระจกและ aerosols จากการเผา • การกำจัดของเสีย • การใช้พลังงานฟอสซิลในการเกษตร

  5. CH4 O2 มีเทนในนาข้าว

  6. Methane Emission from Thailand (Gg, 1994) Oil & Natural gas

  7. ก๊าซมีเทนในนาข้าว • เป็นประเด็นที่นักวิทยาศาสตร์เข้าใจมากที่สุดระบบหนึ่ง • ประเด็นที่ยังไม่ชัดเจน • ความผันแปรเชิงพื้นที่และผลต่อการประมาณการปลดปล่อยรวม • การ mitigate และความไม่แน่นอนที่จะเกิดขึ้น

  8. ทำไมการเพิ่มของมีเทนเกิดช้าลง?ทำไมการเพิ่มของมีเทนเกิดช้าลง?

  9. CH4 concentration across the globe Frankenberg et al. (2005), Science, 308: 1010-1014.

  10. N2O Khalil et al. 2002

  11. Source of N2O IPCC, 2007

  12. N2O in Thailand • 98% from agriculture (Livestock) • 2% from LULUCF & Energy

  13. Processes of N2O production Wrage et. al., 2001 Acetylene (C2H2)

  14. Weitz et al., 2001

  15. การปล่อยก๊าซ N2O • ความถูกต้องของการประมาณการ • ขาดข้อมูลทั้งในระดับโลก/ภูมิภาค/ประเทศ • ความไม่แน่นอน การผันแปรเชิงเวลาและพื้นที่ • การจัดการ

  16. การเผาวัสดุทางการเกษตรการเผาวัสดุทางการเกษตร Sirintornthep et al. 2007

  17. ATMOSPHERIC CO2 ( ± X1) X3.1 X3.2 X3.3 X3.4 X3.5 Irrigation water Crop Pesticides Soil ( -X2) Seed production Fertilizers and lime Farm machinery and operations CROP AND SOIL, INPUTS AGRICULTURAL ECOSYSTEM

  18. ความท้าทาย “การเพิ่มการผลิตหรือรักษาการผลิตให้เพียงพอต่อความต้องการพร้อมๆไปกับการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก”

  19. 2. โลกร้อนส่งผลต่อระบบการผลิตอย่างไร ที่ไหน เท่าไร และเมื่อใด • Effects of enhanced CO2 on crop growth • Effects of higher temperature • Available water • Climate variability • Soil fertility and erosion • Pests and diseases • Sea-level rise • Change in ocean chemistry

  20. Tilman et al, 2002

  21. ผลผลิตและประสิทธิภาพการใช้ปุ๋ยผลผลิตและประสิทธิภาพการใช้ปุ๋ย Tilman et al, 2002

  22. พืชต้องเจริญในสภาพที่อุณหภูมิและความเข้มข้น CO2ที่สูงขึ้น • ประสิทธิภาพการสังเคราะห์แสง • ประสิทธิภาพการใช้น้ำ-ปุ๋ย • การระบาดของโลกและแมลง

  23. การตอบสนองของข้าวต่ออุณหภูมิและ CO2

  24. Rice spikelet fertility

  25. Rice Yield Impact (%) Mathew et al. 1997

  26. Change in RAGWEED reproductionwith CO2 enrichment Plants produced more pollen with increased CO2.

  27. สภาพอากาศที่รุนแรง ความแปรปรวนของสภาพภูมิอากาศคือปัญหาเฉพาะหน้าที่สำคัญ กติ

  28. อุณหภูมิเฉลี่ยของประเทศไทยที่ต่างจากค่าปกติอุณหภูมิเฉลี่ยของประเทศไทยที่ต่างจากค่าปกติ อุณหภูมิที่แตกต่างจากค่าปกติ

  29. ตัวอย่างประเด็นวิจัย • Climate and weather risk-based decision support tools for agriculture. • Crop selection, livestock inventory, and production management based on regional climate forecasts and related information at the farm scale.

  30. การสนับงานวิจัยด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศโดย สกว. • ชุดโครงการการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและผลกระทบต่อประเทศไทย • ระยะที่ 1: 2549-2551 • ระยะที่ 2 : 2550-2553 (call for paper) • เน้นการศึกษาผลกระทบ โดยใช้แบบจำลองสภาพภูมิอากาศ และการสร้างข้อมูลเพื่อนำไปประเมินผลกระทบและหาแนวทางปรับตัว

  31. ระยะที่ 1 (2549-2552) ระยะที่ 2 (2550-2553) -การตอบสนองของระบบ -ผลกระทบการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศต่อระบบนิเวศน์/ภาคการผลิตต่างๆ -ความสามารถในการปรับตัว -ใช้/พัฒนา/ปรับปรุงแบบจำลองระดับภูมิภาคเพื่อสร้างภาพจำลองการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในอนาคต -ข้อมูลผลกระทบ/แนวโน้มจากอดีตถึงปัจจุบัน -องค์ความรู้/capacity -เสนอแนะแนวทางปรับตัวเพื่อลดผลกระทบ/ปรับตัวในพื้นที่และระบบนิเวศน์หลัก

  32. I. Selection of climate scenarios

  33. การเปลี่ยนแปลงปริมาณน้ำฝน 2xCO2 Southeast Asia START Regional Center, 2007

  34. กลุ่มที่ศึกษาแบบจำลองกลุ่มที่ศึกษาแบบจำลอง

  35. II. Physical impact assessment Temperature, Precipitation

  36. Effects in agriculture (yield changes)

  37. III. Socio-Economic impact assessment • มูลค่าความเสียหาย/การจัดการที่เพิ่มขึ้น • สังคมเกษตร—ความอ่อนไหว ความเสี่ยง ความสามารถในการปรับตัว • แนวทางจัดการปัญหา

  38. สูญเสียทั้งพื้นที่การเพาะปลูกและผลผลิตสูญเสียทั้งพื้นที่การเพาะปลูกและผลผลิต การแพร่ระบาดของโรคใหม่ ปริมาณน้ำฝนที่ไม่ตกตามฤดูกาล สาเหตุ พื้นที่เปลี่ยนไปไม่เหมาะสมกับพันธ์พืชที่เคยปลูก พืชและสัตว์เกิดอาการเครียด ผลผลิตไม่เป็นไปตามกำหนด การเปลี่ยนแปลงการจัดการด้านการเกษตร จัดการการเพาะปลูกในรูปแบบใหม่ การพัฒนาระบบชลประทานให้เหมาะสม การปลูกพืชใหม่ ที่ทนต่อสภาพการเปลี่ยนแปลง ผลกระทบ โครงสร้างตลาดเกษตรอาจเปลี่ยนแปลง แข่งขันทางการค้า ต้นทุนในการเกษตรเปลี่ยนไป เปลี่ยนวิธีการผลิตเนื่องจากวัตถุดิบน้อยลง การสร้าง line ผลิตที่ยืดหยุ่นต่อชนิดของวัตถุดิบมากขึ้น • ป้องกันไม่ให้มีการแย่งชิงพื้นที่หรือเกิดsurplus ผลผลิตมากเกินไป • -การzoning พื้นที่ตามกิจกรรมที่เหมาะสม • ข้อกำหนดด้านการจัดการน้ำให้เหมาะสม • สร้างเสียรภาพของราคาผลผลิตการเกษตร การดูแลอนุรักษ์พื้นที่เกษตร - จัดตั้งสภาการเกษตรในพื้นที่ - สร้างเครือข่ายเฝ้าระวัง และติดตาม สภาพภูมิอากาศทางการเกษตร - การวิจัยภูมิปัญญาท้องถิ่น • การฟื้นฟูรักษาพื้นที่เสื่อมโทรม • จัดตั้งกองทุนฟื้นฟูการเกษตร • ส่งเสริมผลิตพันธ์เกษตรที่ลดก๊าซเรือนกระจกเป็นต้น นโยบาย สิรินทรเทพ เต้าประยูร & อำนาจ ชิดไธสง

  39. ThaiFlux Network

  40. ที่มา: พูนภิพบ เกษมทรัพย์

  41. การเกษตรช่วยลดโลกร้อนได้อย่างไรการเกษตรช่วยลดโลกร้อนได้อย่างไร • การจัดการต่างๆในการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก • การกักเก็บคาร์บอนในดิน • การปลูกพืชพลังงานทดแทน

  42. Towprayoon et al.

  43. Net carbon flux from agricultural ecosystems

  44. Reducing emissions through management practices such as improved feeding efficiency or manure management; • Removing emissions through management practices that increase carbon in soils, pastures and trees; and • Replacing fossil fuels with renewable energy

  45. RESEARCH NEEDS • Improved soil mapping technologies • Improved technologies for tracking land use and management • Annual changes and within season activities • Fertilizer inputs • Cost effective measurement technologies and systems

  46. สรุป • ปรับปรุงความถูกต้องการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจก • ประเมินผลกระทบ/ความสามารถในการปรับตัว • การเพิ่มผลผลิตภายใต้สภาพที่ภูมิอากาศมีการเปลี่ยนแปลง • ลดการสูญเสียจากผลกระทบ/สร้างภูมิคุ้มกัน • สร้างเครื่องมือในการสนับสนุนการตัดสินใจ • Mitigate ก๊าซเรือนกระจก

  47. ขอบคุณครับ

More Related