1 / 35

องค์ประกอบที่ ๒

องค์ประกอบที่ ๒. โรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา. การรวบรวมพรรณไม้เข้าปลูกในโรงเรียน. พระราชดำริด้านป่าไม้ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว. ปี พ.ศ. 2519 ณ หน่วยงานพัฒนาต้นน้ำ ทุ่งจ๊อ ตำบลป่า แป๋   อำเภอแม่แตง  จังหวัดเชียงใหม่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้พระราชทาน พระราชดำริ ด้านป่าไม้

finn-potts
Download Presentation

องค์ประกอบที่ ๒

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. องค์ประกอบที่ ๒ โรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา การรวบรวมพรรณไม้เข้าปลูกในโรงเรียน

  2. พระราชดำริด้านป่าไม้ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพระราชดำริด้านป่าไม้ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ปี พ.ศ. 2519 ณ หน่วยงานพัฒนาต้นน้ำทุ่งจ๊อ ตำบลป่าแป๋  อำเภอแม่แตง  จังหวัดเชียงใหม่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานพระราชดำริด้านป่าไม้ มีใจความตอนหนึ่งดังนี้ “...เจ้าหน้าที่ป่าไม้ ควรจะปลูกต้นไม้ลงในใจคนเสียก่อน แล้วคนเหล่านั้นก็พากันปลูกต้นไม้ลงบนแผ่นดินและรักษาต้นไม้ด้วยตนเอง...”

  3. สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี พระราชทานแนวทางการดำเนินงานเกี่ยวกับสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน วันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2536 ณ อาคารที่ประทับในสำนักงานชลประทาน เขต 1 จังหวัดเชียงใหม่ “..การสอนและอบรมให้เด็กมีจิตสำนึกในการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช ควรใช้วิธีการปลูกฝังให้เด็กเห็นความงดงาม ความน่าสนใจของพืช พรรณ และเกิดความปีติที่จะทำการศึกษาและอนุรักษ์พืชพรรณต่อ ไป การใช้วิธีการสอนการอบรมที่ทำให้เกิดความรู้สึกกลัวว่าหากไม่ อนุรักษ์แล้วจะเกิดผลเสีย เกิดอันตรายแก่ตนเองจะทำให้เด็กเกิด ความเครียดซึ่งจะเป็นผลเสียต่อประเทศในระยะยาว..”

  4. องค์ประกอบที่ ๒ การรวบรวมพรรณไม้เข้าปลูกในโรงเรียน หลักการ คลุกคลี เห็นคุณ สุนทรีย์

  5. สาระการเรียนรู้ เรียนรู้พืชพรรณ และสภาพพื้นที่ วิเคราะห์พื้นที่ พิจารณาคุณและสุนทรียภาพพรรณไม้ ทำผังภูมิทัศน์ จัดหาพรรณไม้ ปลูก ดูแลรักษาและออกแบบบันทึกการเปลี่ยนแปลง เพื่อให้เห็นคุณ รู้ค่า ของพืชพรรณ

  6. การบูรณาการหลักสูตรโรงเรียนกับองค์ประกอบที่

  7. ลำดับการเรียนรู้

  8. องค์ประกอบที่ ๒ การรวบรวมพรรณไม้เข้าปลูกในโรงเรียน

  9. องค์ประกอบที่ ๒ การรวบรวมพรรณไม้เข้าปลูกในโรงเรียน

  10. องค์ประกอบที่ ๒ การรวบรวมพรรณไม้เข้าปลูกในโรงเรียน

  11. ๒.๒ กำหนดชนิดพรรณไม้ที่จะปลูกและกำหนดการใช้ประโยชน์ • ๑) กำหนดการใช้ประโยชน์ในพื้นที่ เป็นการรวบรวม วิเคราะห์ จำแนกจัดกลุ่มข้อมูลจากการสำรวจสภาพภูมิศาสตร์นำมากำหนดการใช้ประโยชน์ของพื้นที่ ให้สอดคล้องกับศักยภาพ สุนทรียภาพ และความสมดุลของธรรมชาติ จินตนาการสู่แนวคิด

  12. ใบความรู้

  13. ใบงานเปล่า การกำหนดการใช้ประโยชน์ในพื้นที่ตามจินตนาการ ศิลปะ คณิตศาสตร์ กำหนดทิศ มาตราส่วน พื้นที่ศึกษา คณิตศาสตร์ เกษตร

  14. ผลงานนักเรียน

  15. ๒.๒ ๒) กำหนดชนิดพรรณไม้ที่จะปลูก วัสดุปลูก เป็นการเลือกพรรณไม้ที่จะปลูกให้มีความสอดคล้องกับสภาพพื้นที่โดยพิจารณาพรรณไม้ที่มีในท้องถิ่นเป็นหลักหรือพิจารณาตามวัตถุประสงค์การใช้ประโยชน์และสุนทรียภาพของพรรณไม้

  16. ใบความรู้

  17. สร้างองค์ความรู้ให้กับนักเรียนสร้างองค์ความรู้ให้กับนักเรียน ไม้ต้น ไม้พุ่ม ถิ่นอาศัย ไม้ล้มลุก น้ำ กาฝาก ลักษณะวิสัย ไม้เลื้อย ไม้น้ำ ไม้ดอก ดิน

  18. พระราชทานแนวทางการดำเนินงานเกี่ยวกับสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนพระราชทานแนวทางการดำเนินงานเกี่ยวกับสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน “ การนำต้นไม้มาปลูกเพิ่มเติมให้เด็กรู้จักนั้นต้องไม่มีพืชเสพติด..” วันที่ 28 ธันวาคม 2538 โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์ตาก จังหวัดตาก

  19. วัสดุปลูกที่ใช้ในการขยายพันธุ์และปลูกพืชวัสดุปลูกที่ใช้ในการขยายพันธุ์และปลูกพืช วัสดุปลูกควรมีคุณสมบัติดังนี้ 1.  มีความคงตัวและแน่นเพียงพอสำหรับยึดกิ่งชำหรือเมล็ดในช่วงที่รากออกและการเพาะเมล็ด แต่ควรมีน้ำหนักเบา 2.   มีความโปร่ง มีการระบายน้ำ และการถ่ายเทอากาศได้ดี แต่สามารถเก็บรักษาความชื้นได้ดีด้วย 3.  มีธาตุอาหารเพียงพอที่พืชจะใช้ประโยชน์ได้นานพอสมควร 4.  ไม่เป็นกรดหรือด่างเกินไป หรือมีสารอื่น ๆ ที่เป็นพิษต่อพืช 5.  ไม่มีโรค ศัตรูพืชที่อาศัยอยู่ในดินและเมล็ดวัชพืช 6. มีราคาถูกและสามารถหาได้ง่าย

  20. วัสดุต่างๆที่ใช้ในการขยายพันธุ์และเพาะปลูกพืชวัสดุต่างๆที่ใช้ในการขยายพันธุ์และเพาะปลูกพืช

  21. วัสดุปลูกที่ใช้ในการขยายพันธุ์และปลูกพืชวัสดุปลูกที่ใช้ในการขยายพันธุ์และปลูกพืช • ดิน (soil)โครงสร้างของดินมีหลายประเภท เช่น ทราย ดินร่วน ดินตะกอนและดินเหนียว ประกอบ ด้วยแร่ธาตุอาหารที่พืชต้องการใช้อย่างครบถ้วน • ทราย (sand)ได้มาจากการผุพังของหินชนิดต่างๆ กลายเป็นหินก้อนเล็กๆ จึงมีน้ำหนักมาก มีความอยู่ตัวสูง ระบายน้ำได้ดี ทรายที่ใช้เป็นทรายหยาบ เหมาะใช้ผสมวัสดุปลูก

  22. วัสดุปลูกที่ใช้ในการขยายพันธุ์และปลูกพืชวัสดุปลูกที่ใช้ในการขยายพันธุ์และปลูกพืช • พีท (peat)ได้จากซากพืชที่อยู่ในน้ำ ในสภาพที่สลายตัวไม่สมบูรณ์ อุ้มน้ำได้มากถึง 15 เท่าของน้ำหนักแห้ง มีความเป็นกรดสูง มีธาตุอาหารอยู่น้อยหรือไม่มีเลย ใช้เพาะเมล็ดทางพืชสวน ราคาสูง • สแฟกนัมมอส (sphagnum moss)เป็นซากพืชที่ขึ้นตามหนองบึง หรือส่วนที่ยังมีชีวิตอยู่มาทำให้แห้ง มีน้ำหนักเบา อุ้มน้ำได้สูงถึง 10-20 เท่า มีแร่ธาตุอาหารน้อย นิยมใช้ปลูกกล้าไม้เล็กๆ หรือเก็บความชื้นให้กับรากและกิ่งขณะทำการขนส่ง • เวอร์มิคูไลท์ (vermiculite)เป็นแร่ไมก้าที่ขยายตัวเพิ่มขึ้นจากการผ่านความร้อน มีน้ำหนักเบา ไม่ละลายน้ำ สามารถอุ้มน้ำได้ 3-4 แกลลอนต่อลูกบาศก์ฟุต ประกอบด้วยธาตุแมกนีเซียมและโพแทสเซียมมากพอที่จะให้กับพืชทุกชนิด ที่มีจำหน่ายอยู่มีหลายเกรด ตามขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง

  23. วัสดุปลูกที่ใช้ในการขยายพันธุ์และปลูกพืชวัสดุปลูกที่ใช้ในการขยายพันธุ์และปลูกพืช • เพอร์ไลท์ (perlite)เป็นซิลิกาสีขาวอมเทาได้มาจากลาวาของภูเขาไฟ ผ่านการบดและสภาพความร้อนสูงถึง 760 องศาเซลเซียส ขยายตัวพองเหมือนฟองน้ำ มีน้ำหนักเบา สามารถอุ้มน้ำได้ 3-4 เท่า ไม่มีธาตุอาหาร • พัมมิซ (pumice)ประกอบด้วยซิลิคอนไดออกไซด์และอะลูมิเนียมออกไซด์เป็นส่วนมาก ช่วยทำให้วัสดุชำโปร่งขึ้น ระบายน้ำได้ดี • ร็อควูล (rockwool)เป็นวัสดุที่ได้มาจากการหลอมหินชนิดต่างๆ ที่อุณหภูมิ 1,200 องศาเซลเซียส แล้วนำมาปั่นจนเป็นเส้นใย มีความสามารถดูดน้ำได้ปริมาณมาก มีการนำมาใช้หลายรูปแบบเช่น แท่ง ชิ้น เม็ด แผ่น เป็นสี่เหลี่ยมลูกบาศก์

  24. วัสดุปลูกที่ใช้ในการขยายพันธุ์และปลูกพืชวัสดุปลูกที่ใช้ในการขยายพันธุ์และปลูกพืช • เปลือกไม้ชิ้นเล็กๆ และขี้เลื่อย (shredded bark and wood shavings) ราคาไม่แพง น้ำหนักเบา การสลายตัวช้า ควรหมัก ประมาณ 10-14 สัปดาห์ ก่อนนำมาใช้ • พลาสติกสังเคราะห์ (synthetic plastic aggregates) หรือเม็ดโฟม (urea formaldehyde foam)สามารถนำมาใช้ช่วยเพิ่มการระบายน้ำและอากาศ และลดความหนาแน่นของเครื่องปลูก มีน้ำหนักเบา • ปุ๋ยหมัก (compost)ได้มาจากอินทรีย์วัตถุที่หมักสลายตัวแล้วส่วนใหญ่ได้มาจากใบไม้ ช่วยเพิ่มฮิวมัสทำให้ดินอุ้มน้ำได้ดีขึ้น

  25. วัสดุปลูกที่ใช้ในการขยายพันธุ์และปลูกพืชวัสดุปลูกที่ใช้ในการขยายพันธุ์และปลูกพืช • ขุยมะพร้าว (coconut dust)น้ำหนักเบา สามารถอุ้มน้ำได้มาก ถ่ายเทอากาศดี มีความยืดหยุ่นตัวดีไม่อัดแน่นง่าย มีธาตุโพแทสเซียมอยู่ด้วย ใช้เป็นวัสดุตอนกิ่ง และผสมกับทรายหยาบเป็นวัสดุเพาะเมล็ดได้ดี • แกลบดิบหรือเปลือกข้าวน้ำหนักเบา หาได้ง่าย ราคาถูก มีการระบายน้ำและการถ่ายเทอากาศได้ดี จึงนิยมนำมาใช้เป็นส่วนผสมของวัสดุปลูก • ถ่านแกลบ,ขี้เถ้าแกล (paddy huskcharcoals)ได้จากการเผาแกลบดิบในสภาพเผาไหม้ยังไม่สมบูรณ์เต็มที่ มีน้ำหนักเบา สามารถอุ้มน้ำได้ดี มีความเป็นด่างสูงควรล้างก่อนใช้ นิยมนำมาใช้ผสมกับทรายหยาบเป็นวัสดุตัดชำ ถ้าใช้ในกระบะพ่นหมอกสามารถนำมาใช้ได้เลย

  26. การผสมวัสดุปลูกพืช • การผสมวัสดุปลูกพืช วัสดุหลัก ได้แก่ ดิน ทราย แกลบดิบ แกลบเผา และอื่นๆ แหล่งธาตุ อาหารพืช เช่น ใช้ปุ๋ยคอก ปุ๋ยหมักและปุ๋ยวิทยาศาสตร์ ในอัตราที่ เหมาะสมและเพียงพอกับความต้องการของพืชแล้วปรับค่าความ เป็นกรดด่าง มีการใช้สารเคมีช่วยปรับสภาพทางฟิสิกส์ และเคมีของดิน ได้แก่ Chloropicrin, Vapam Methyl bromide, และยากันราที่ ใช้ราดกับดิน เช่น Benlate, Terraclor

  27. ใบงานเปล่า คำชี้แจง ยกตัวอย่างประกอบ ชื่อพืช การใช้ประโยชน์ เหตุผลที่เลือก วัสดุปลูก วิธีการปลูก เกษตร

  28. ผลงานนักเรียน

  29. ๒.๓ การจัดทำผังภูมิทัศน์ คำว่า “ภูมิทัศน์” เป็นคำผสม พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.๒๕๔๒ บัญญัติว่าภูมิ ๑, ภูมิ- [พูม,พูมิ-, พูมมิ-] น. แผ่นดิน, ที่ดิน ทัศน-, ทัศน์, ทัศนะ, ทัศนา [ทัดสะนะ-, ทัด, ทัดสะ-] น. ความเห็น, การเห็น,เครื่องรู้เห็น, สิ่งที่เห็น, การแสดง, ทรรศนะ ภูมิทัศน์ หรือภูมิภาพ ตรงกับภาษาอังกฤษว่า Landscape เป็นคำผสม land แปลว่า ภูมิ (แผ่นดิน) scape แปลว่า ทัศน์ (สิ่งที่เห็น) หรือภาพ (รูปที่ปรากฏเห็น) แนวทาง การออกแบบ ปรับปรุงภูมิทัศน์ในโรงเรียน

  30. ๒.๓ การจัดทำผังภูมิทัศน์ เป็นการจัดทำรายละเอียดการปลูกพรรณไม้ในรูปแบบผังและตาราง เช่น รหัสประจำต้น ชื่อพรรณไม้ที่จะปลูก ขอบเขต ตำแหน่งที่ปลูก จำนวน ลักษณะวิสัย ขนาด เส้นผ่านศูนย์กลางของพุ่ม ระยะปลูก

  31. แนวคิดในการจัดสภาพแวดล้อมในโรงเรียนแนวคิดในการจัดสภาพแวดล้อมในโรงเรียน

  32. ใบงานเปล่า วิธีการ ผังภูมิทัศน์ตามจินตนาการ ศิลปะ คณิตศาสตร์

  33. ผลงานนักเรียน ม.ต้น N

  34. ผลงานนักเรียน ม.ปลาย N

  35. จบการนำเสนอ

More Related