1 / 99

การบริหารจัดการ องค์กรชั้นเลิศ ตามเกณฑ์ PMQA

Organization Self Assessment TQA Criteria 2004. การบริหารจัดการ องค์กรชั้นเลิศ ตามเกณฑ์ PMQA. เพื่อเป็นการถ่ายทอดนโยบายรัฐบาล แผนการบริหารราชการแผ่นดิน มากำหนดเป็นทิศทางการปฏิบัติราชการ (ยุทธศาสตร์)ของแต่ละหน่วยงาน เพื่อให้เกิดประโยชน์สุขแก่ประชาชน.

Download Presentation

การบริหารจัดการ องค์กรชั้นเลิศ ตามเกณฑ์ PMQA

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. OrganizationSelf AssessmentTQA Criteria 2004 การบริหารจัดการ องค์กรชั้นเลิศ ตามเกณฑ์ PMQA

  2. เพื่อเป็นการถ่ายทอดนโยบายรัฐบาล แผนการบริหารราชการแผ่นดิน มากำหนดเป็นทิศทางการปฏิบัติราชการ (ยุทธศาสตร์)ของแต่ละหน่วยงาน เพื่อให้เกิดประโยชน์สุขแก่ประชาชน • เพื่อเป็นการถ่ายทอดยุทธศาสตร์มาเป็นแผนการปฏิบัติงานราชการประจำปี คือ โครงการที่แสดงรายละเอียดผลผลิต ผลลัพธ์ ทรัพยากรที่จะใช้ มีการวิเคราะห์ความเสี่ยงในการดำเนินงานด้านต่างๆ แผนการใช้เงิน การบริหารเงินสดผ่านระบบ GFMIS • ทั้งนี้ ให้มีการวิเคราะห์ gaps ในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ เพื่อจัดทำการบริหารการเปลี่ยนแปลง ในด้านต่างๆ เช่น โครงสร้าง กระบวนงาน เทคโนโลยี พัฒนาขีดความสามารถ กระบวนทัศน์ ค่านิยมของบุคลากร • เพื่อเป็นการทบทวน ติดตาม ประเมินผลตามแผนการปฏิบัติราชการ โดยให้หน่วยงานจัดทำ SAR และให้มีการเข้าไปตรวจสอบ ทานผล รวมทั้งให้ผู้ประเมินอิสระเป็นผู้ประเมินผลด้วย • ให้มีการให้รางวัลตอบแทนผลการปฏิบัติงานที่บรรลุตามเป้าหมาย ปรับเปลี่ยน วัฒนธรรมองค์การ ออกแบบองค์การ และกระบวนงาน บริหารทุนด้าน ทรัพยากรบุคคล ประเมินผล การปฏิบัติงาน ตลาดและ ลูกค้าสัมพันธ์ บริหาร จัดการข้อมูล บริหารจัดการ ด้านการเงิน จัดการ ยุทธศาสตร์ สร้างเครือข่าย HPO การควบคุม กำกับ ยุทธศาสตร์ (Strategic Control) การวางยุทธศาสตร์ (Strategy Formulation) การนำยุทธศาสตร์ ไปสู่การปฏิบัติ (Strategy Implementation) Strategy Map วิธีการ • Networking Individual SC ศูนย์บริการร่วม Value Chain GSMS/GFMIS Benchmarking การจัดทำบัญชีต้นทุน PMQA ประเมินความคุ้มค่า Structure Design SWOTAnalysis Capacity Building Risk Management Blueprint for Change Change Management Process Improvement Knowledge Management Technology Development สำรวจความพึงพอใจผู้รับบริการ eAuction/eProcurement • Participation Balanced Scorecard

  3. 1. ภาพรวมการแปลงระบบประเมินผลลงสู่ระดับคณะ/โปรแกรมและระดับบุคคล วิสัยทัศน์ ประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ การประเมินผลในภาพรวมขององค์กร (Corporate Scorecard) แผนปฏิบัติการ (Action Plan) แผนผังเชิงยุทธศาสตร์ (Strategy Map) แผนงาน/ โครงการ ค่า เป้าหมาย เป้าประสงค์ งบประมาณ ตัวชี้วัด Run the Business ประสิทธิผล Serve the Customer คุณภาพ Manage Resources ประสิทธิภาพ Capacity Building พัฒนาองค์กร ตัวชี้วัดระดับสำนัก/กอง ตัวชี้วัดระดับบุคคล

  4. องค์กรที่มุ่งเน้นยุทธศาสตร์องค์กรที่มุ่งเน้นยุทธศาสตร์ Strategy-focused Organization การบริหารกระบวนการ ประสิทธิภาพ efficiency ลดรอบระยะเวลาดำเนินการ การพัฒนาขั้นตอนการทำงานให้ดีขึ้น ลดต้นทุน & ความสูญเสีย Reengineering Lean Enterprise Six Sigma TQM เพิ่มผลผลิต กระบวนการบริหารลูกค้า ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง Blueprint for Change คุณภาพ quality เพิ่มคุณค่า Value Creation เพิ่มความพึงพอใจ การดูแลผู้รับบริการ เพิ่มความไว้วางใจ ความโปร่งใส มีส่วนร่วม effectiveness ขีดสมรรถนะ capacity-building การวางระบบบริหารจัดการสินทรัพย์ที่จับต้องไม่ได้ เพิ่มความพร้อมเชิง ยุทธศาสตร์ ทุนมนุษย์ ทุนข้อมูลสารสนเทศ&ทุนความรู้ ทุนองค์กร

  5. เพิ่มศักยภาพการแข่งขันเพิ่มศักยภาพการแข่งขัน Competitiveness 4 ปรับปรุง Improvement 3 • ใช้เครื่องมือปรับปรุง • ใช้แนวปฏิบัติที่ดี วิเคราะห์ Gap analysis 2 • เปรียบเทียบวิเคราะห์ความต่าง • ตั้งเป้าหมาย ประเมิน Assessment 1 • ประเมินจุดแข็งจุดอ่อน ดัชนี Index • จัดทำดัชนีชี้วัดและมาตรวัด • ทำสัญญาณเตือนภัย

  6. OrganizationSelf AssessmentTQA Criteria 2004 การศึกษาหลักการบริหารจัดการที่ดี โดยใช้แนวคิดตามเกณฑ์ของ Thailand Quality Award (TQA) Malcolm Baldrige National Quality Award (MBNQA) (www.quality.nist.gov) PMQA

  7. OrganizationSelf AssessmentTQA Criteria 2004 MBNQA Countries 70ประเทศ

  8. OrganizationSelf AssessmentTQA Criteria 2004 Criteria 4 Factors 11 Core Values 7 Management Categories 4 Radar Steps 6 Strength Levels

  9. OrganizationSelf AssessmentTQA Criteria 2004 11แนวคิดและค่านิยมหลัก การนำองค์การ อย่างมีวิสัยทัศน์ การมุ่งเน้นอนาคต 1 5 การจัดการโดยใช้ ข้อมูลจริง 9 ความรับผิดชอบ ต่อสังคม 2 6 ความคล่องตัว 10 การมุ่งเน้นที่ผลลัพธ์ และการสร้างคุณค่า 7 การเรียนรู้ขององค์การ และของแต่ละบุคคล การให้ความสำคัญกับ พนักงานและคู่ค้า 3 4 ความเป็นเลิศ ที่มุ่งเน้นที่ลูกค้า 8 การจัดการเพื่อ นวัตกรรม มุมมองเชิงระบบ 11

  10. OrganizationSelf AssessmentTQA Criteria 2004 7หมวดของการจัดการที่ดี โครงร่างองค์การ : P การวางแผน เชิงกลยุทธ์ การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล 2 5 การนำองค์การ 1 ผลลัพธ์ ทางธุรกิจ 7 การจัดการ กระบวนการ การมุ่งเน้น ลูกค้าและตลาด 3 6 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ 4

  11. OrganizationSelf AssessmentTQA Criteria 2004 P โครงร่างองค์การ P1สภาพแวดล้อมองค์การ P2ความท้าทายขององค์การ 2.การวางแผนเชิงกลยุทธ์ 2.1.การจัดทำกลยุทธ์ 2.2.การนำกลยุทธ์ไปปฏิบัติ 5.การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล 5.1.ระบบงาน 5.2.การเรียนรู้และการสร้างแรงจูงใจ 5.3.ความผาสุกและความพึงพอใจของ พนักงาน 1.การนำองค์กร 1.1. ภารนำองค์กร 1.2. ความรับผิดชอบต่อสังคม 7. ผลลัพธ์ทางธุรกิจ 7.1 ผลลัพธ์ด้านการมุ่งเน้นลูกค้า 7.2 ผลลัพธ์ด้านผลิตภัณฑ์และบริการ 7.3 ผลลัพธ์ด้านการเงินและตลาด 7.4 ผลลัพธ์ด้านทรัพยากรบุคคล 7.5 ผลลัพธ์ด้านประสิทธิผลขององค์กร 7.6 ผลลัพธ์ด้านบรรษัทภิบาลและ ความรับผิดชอบทางสังคม 3.การมุ่งเน้นลูกค้าและตลาด 3.1.ความรู้เกี่ยวกับลูกค้าและตลาด 3.2.ความสัมพันธ์กับลูกค้าและ ความพึงพอใจของลูกค้า 6.การจัดการกระบวนการ 6.1.กระบวนการที่สร้างคุณค่า 6.2.กระบวนการสนับสนุน 4. การวัด การวิเคราะห์และการจัดการความรู้ 4.1.การวัดและวิเคราะห์การดำเนินการขององค์กร 4.2.การจัดการสารสนเทศและความรู้

  12. OrganizationSelf AssessmentTQA Criteria 2004 Cause - Effect Driver System Results 1.การนำองค์กร 1.1. ภารนำองค์กร 1.2. ความรับผิดชอบต่อสังคม 2.การวางแผนเชิงกลยุทธ์ 2.1.การจัดทำกลยุทธ์ 2.2.การนำกลยุทธ์ไปปฏิบัติ 5.การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล 5.1.ระบบงาน 5.2.การเรียนรู้และการสร้างแรงจูงใจ 5.3.ความผาสุกและความพึงพอใจของ พนักงาน 7. ผลลัพธ์ 7.1 ผลลัพธ์ด้านการมุ่งเน้นลูกค้า 7.2 ผลลัพธ์ด้านผลิตภัณฑ์และบริการ 7.3 ผลลัพธ์ด้านการเงินและตลาด 7.4 ผลลัพธ์ด้านทรัพยากรบุคคล 7.5 ผลลัพธ์ด้านประสิทธิผลขององค์กร 7.6 ผลลัพธ์ด้านบรรษัทภิบาลและ ความรับผิดชอบทางสังคม 3.การมุ่งเน้นลูกค้าและตลาด 3.1.ความรู้เกี่ยวกับลูกค้าและตลาด 3.2.ความสัมพันธ์กับลูกค้าและ ความพึงพอใจของลูกค้า 4. การวัด การวิเคราะห์และ การจัดการความรู้ 4.1.การวัดและวิเคราะห์ การดำเนินการขององค์กร 4.2.การจัดการสารสนเทศและความรู้ 6.การจัดการกระบวนการ 6.1.กระบวนการที่สร้างคุณค่า 6.2.กระบวนการสนับสนุน

  13. OrganizationSelf AssessmentTQA Criteria 2004 ลำดับหมวดของเกณฑ์ CATEGORY 1 Leadership ITEM 1.1 ITEM 1.2 Organizational Leadership Public Responsibility and Citizenship AREA TO ADDRESS 1.1a AREA TO ADDRESS 1.2a AREA TO ADDRESS 1.2b Senior Leadership Direction Responsibilities to the Public Support of Key Communities AREA TO ADDRESS 1.1b SUBPART (1) Organizational Performance Review SUBPART (2) Elements SUBPART (3)

  14. OrganizationSelf AssessmentTQA Criteria 2004 ลำดับหมวดของเกณฑ์ Category 7 Item 19 Area to Address 32 Subpart 88 Element 200

  15. OrganizationSelf AssessmentTQA Criteria 2004 2 5 การวางแผน เชิงกลยุทธ์ การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล 1 7 ผลลัพธ์ ขององค์การ การนำ องค์การ 3 6 การมุ่งเน้น ลูกค้าและตลาด การจัดการ กระบวนการ 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ ภาพรวม

  16. Strategy & Process mapping end end โครงการ โครงการ โครงการ โครงการ โครงการ โครงการ ขั้นตอนการทบทวนยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด.... การวิเคราะห์และทบทวนยุทธศาสตร์ Pre-workshop I : 21-22 ธ.ค.48 Pre-workshop II : 4-5 ม.ค. 49 Strategy Reformulation แผนงาน Benchmarking เสนอ ค.ร.ม. 6 ม.ค. 49 ประเด็นยุทธศาสตร์ การนำไปสู่การปฏิบัติ ระบบสนับสนุนต่าง ๆ Next step การติดตามประเมินผล

  17. ตัวอย่าง ตารางการวิเคราะห์ความแข็งแกร่งและโดดเด่นของแต่ละยุทธศาสตร์ในเชิงเศรษฐกิจและสังคม ความแข็งแกร่งและโดดเด่นของแต่ละยุทธศาสตร์ ความแข็งแกร่งและโดดเด่นของแต่ละยุทธศาสตร์ ในด้านสังคม Global Regional Local Potential 1 2 1 2 3 4 เกษตร เกษตร คุณภาพ ชีวิต ท่องเที่ยว สินค้า อุตสาหกรรม โอกาสในการเติบโตของแต่ละยุทธศาสตร์ 6 ศูนย์ คมนาคม อุตสาหกรรม ผลกระทบทางสังคม (Social Impact) 5 7 8 3 4 ท่องเที่ยว ศูนย์ คมนาคม คุณภาพ ชีวิต

  18. ยุทธศาสตร์ที่จะเลือกมุ่งเน้นยุทธศาสตร์ที่จะเลือกมุ่งเน้น • การเสริมสร้างสันติสุข • การพัฒนากลุ่มจังหวัดให้เป็นศูนย์กลางอุตสาหกรรมฮาลาล • การเป็นศูนย์กลางอิสลามศึกษานานาชาติ • การค้าชายแดนและการท่องเที่ยว

  19. ตาราง Business Portfolio ความแข็งแกร่งและโดดเด่นของแต่ละยุทธศาสตร์ Global Regional Local Potential 1 2 3 4 การเสริมสร้างสันติสุข การเป็นศูนย์กลาง อุตาสาหกรรมฮาลาล การเป็นศูนย์กลาง อิสลามศึกษานานาชาติ 6 โอกาสในการเติบโตของแต่ละยุทธศาสตร์ 5 7 8 การค้าชายแดนและ การท่องเที่ยว

  20. ตาราง Social Portfolio ความแข็งแกร่งและโดดเด่นของแต่ละยุทธศาสตร์ ในด้านสังคม 1 2 การเสริมสร้างสันติสุข การเป็นศูนย์กลาง อุตาสาหกรรม ฮาลาล การเป็นศูนย์กลาง อิสลามศึกษานานาชาติ Social Impact 3 4 การค้าชายแดนและ การท่องเที่ยว

  21. ความแข็งแกร่งและโดดเด่นของแต่ละยุทธศาสตร์ความแข็งแกร่งและโดดเด่นของแต่ละยุทธศาสตร์ ความแข็งแกร่งและโดดเด่นของแต่ละยุทธศาสตร์ ในด้านสังคม Global Regional Local Potential การเสริมสร้างสันติสุข 1 2 1 2 3 4 การเสริมสร้างสันติสุข การเป็นศูนย์กลาง อุตาสาหกรรม ฮาลาล การเป็นศูนย์กลาง อุตาสาหกรรม ฮาลาล การเป็นศูนย์กลาง อิสลามศึกษานานาชาติ การเป็นศูนย์กลาง อิสลามศึกษานานาชาติ Social Impact โอกาสในการเติบโตของแต่ละยุทธศาสตร์ 3 4 5 6 7 8 การค้าชายแดนและ การท่องเที่ยว การค้าชายแดนและ การท่องเที่ยว

  22. ยุทธศาสตร์ที่จะเลือกมุ่งเน้นยุทธศาสตร์ที่จะเลือกมุ่งเน้น • การเสริมสร้างสันติสุข • การพัฒนากลุ่มจังหวัดให้เป็นศูนย์กลางอุตสาหกรรมฮาลาล

  23. ผลลัพธ์สุดท้าย ผลสัมฤทธิ์ End Results หรือ Ultimate Results จากยุทธศาสตร์ ได้แก่ 2. การพัฒนากลุ่มจังหวัดให้เป็นศูนย์กลางอุตสาหกรรมฮาลาล • เพิ่มมูลค่าอุตสาหกรรมฮาลาลให้ได้มาตรฐานเพื่อการส่งออก

  24. 2.การเป็นศูนย์กลางอุตสาหกรรมอาหารฮาลาล2.การเป็นศูนย์กลางอุตสาหกรรมอาหารฮาลาล

  25. มิติประสิทธิผลตามยุทธศาสตร์มิติประสิทธิผลตามยุทธศาสตร์ เพิ่มมูลค่าอุตสาหกรรมอาหารฮาลาลพื่อการส่งออก เพิ่มรายได้ของเกษตรกร มิติคุณภาพการให้บริการ สิทธิประโยชน์ด้านการส่งเสริมการลงทุน(BOI) มาตรการทางภาษีศุลกากร และมาตรการพิเศษด้านแหล่งทุน พัฒนาโครงข่ายโครงสร้างพื้นฐาน / ระบบโลจิสติกส์ที่ทันสมัย สินค้ามีคุณภาพได้มาตรฐาน พัฒนาระบบบริหาร และจัดการ สร้างแรงจูงใจให้เกิดการค้าการลงทุน พัฒนาขีดความสามารถของผู้เกี่ยวข้องในภาคการผลิต พัฒนาปัจจัยพื้นฐานและระบบ โลจิสติกส์ พัฒนาด้านการตลาดและช่องทางการจัดจำหน่าย มิติประสิทธิภาพการปฏิบัติราชการ วิจัยและพัฒนาอุตสาหกรรมอาหารฮาลาล พัฒนามาตรฐานที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมอาหารฮาลาล มิติการพัฒนาองค์กร

  26. Value Chainการเป็นศูนย์กลางอุตสาหกรรมอาหารฮาลาล พัฒนาระบบบริหาร และจัดการ กำหนดนโยบายและจัดทำแผนแม่บทเพื่อพัฒนาด้านการผลิตการค้า การลงทุนและsme ใน 3 จังหวัดภาคใต้ ส่งเสริมและกำกับดูแลการดำเนินงานให้เป็นไปตามแผนแม่บทการพัฒนา smeและอุตสาหกรรมใน 3 จังหวัดภาคใต้ กำหนดกลไกในการบริหารและกำกับดูแลการพัฒนาด้านผลิต มาตรฐานฟาร์มการค้า การลงทุน การบริหารจัดการระบบ One stop service พัฒนาปัจจัยพื้นฐานและโลจิสติกส์ พัฒนาโครงข่ายโครงสร้างพื้นฐานและระบบสาธารณูปโภค การพัฒนาต้นแบบการประกอบการ ในวิสาหกิจขนาดกลางขนาดย่อม พัฒนาอาชีพ และฝีมือแรงงาน ส่งเสริมและพัฒนาแหล่งวัตถุดิบ โรงงาน สร้างแรงจูงใจให้เกิดการค้าการลงทุน จัดตั้งศูนย์บริการข้อมูลด้านการค้า การลงทุนและการประชาสัมพันธ์ศักยภาพของกลุ่มจังหวัด เสริมสร้างโอกาสและจัดหา แหล่งทุนเพื่อพัฒนา ด้านการค้า การลงทุน การศึกษาและสร้างแรงจูงใจในการนำเข้าและส่งออกด้านด่านชายแดน การพัฒนาเขตส่งเสริมการลงทุนพิเศษและนิคมอุตาสาหกรรม วิจัยแบบมีส่วนร่วมและพัฒนาวิทยาการและเทคโนโลยี กำหนดมาตรฐาน และหลักสูตรการพัฒนาผู้ประกอบการ เพื่อการส่งออก ควบคุมมาตรฐานการประกอบการและสภาวะแวดล้อม พัฒนาศักยภาพความพร้อมของผู้ประกอบการ เสริมสร้างการรวมกลุ่มผู้เลี้ยง ผู้แปรรูปและผู้ส่งออกและสร้างเครือข่ายด้านการค้าและการลงทุน การส่งเสริมการนำองค์ความรู้และนวัตกรรมสู่การปฏิบัติ ส่งเสริมให้มีช่องทางการจัดจำหน่ายในระดับท้องถิ่นและระดับสากล การศึกษาข้อมูลเชิงลึกด้านการตลาดในและต่างประเทศ ส่งเสริมการเชื่อมโยงผู้ประกอบการทั้งในและต่างประเทศ ทั้งภาครัฐและเอกชน ในกลุ่มประเทศเป้าหมาย ส่งเสริมและสนับสนุน การพัฒนาระบบการค้าพาณิชย์อิเลคทรอนิกส์ พัฒนาด้านการตลาดและช่องทางการจัดจำหน่าย สร้างภาพลักษณ์ตราสินค้าจากแหล่งผลิตของกลุ่มจังหวัด 2

  27. การเป็นศูนย์กลางอุตสาหกรรมอาหารฮาลาลการเป็นศูนย์กลางอุตสาหกรรมอาหารฮาลาล

  28. สำหรับมิติที่ 1 และ 2

  29. การจัดลำดับความสำคัญของโครงการ

  30. สำหรับมิติที่ 3 และ 4

  31. สำหรับมิติที่ 3 และ 4

  32. OrganizationSelf AssessmentTQA Criteria 2004 2 5 การวางแผน เชิงกลยุทธ์ การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล 1 7 ผลลัพธ์ ขององค์การ การนำ องค์การ 3 6 การมุ่งเน้น ลูกค้าและตลาด การจัดการ กระบวนการ 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ ภาพรวม

  33. OrganizationSelf AssessmentTQA Criteria 2004 อธิบายโครงร่างองค์กร คือ ภาพรวมขององค์กร สิ่งสำคัญที่มีผลต่อการดำเนินการและความท้าทายที่สำคัญที่องค์กรเผชิญอยู่ P โครงร่างองค์กร P1 ลักษณะองค์กร P2 ความท้าทายต่อองค์กร

  34. OrganizationSelf AssessmentTQA Criteria 2004 อธิบายถึงสภาพแวดล้อมทางธุรกิจขององค์กร และความสัมพันธ์ที่สำคัญกับลูกค้า ผู้ส่งมอบและคู่ค้า P1 ลักษณะองค์กร a สภาพแวดล้อม ขององค์กร b ความสัมพันธ์ ระดับองค์กร

  35. OrganizationSelf AssessmentTQA Criteria 2004 P.1 ลักษณะองค์กร a) สภาพแวดล้อมของ องค์กร สินค้าและบริการหลัก การส่งมอบ วัฒนธรรมองค์กร วิสัยทัศน์ พันธกิจ ข้อมูลทั่วไป ของพนักงาน เทคโนโลยีหลัก เงื่อนไขข้อบังคับ การรับรอง จดทะเบียน

  36. OrganizationSelf AssessmentTQA Criteria 2004 P.1 ลักษณะองค์การ b) ความสัมพันธ์ระดับองค์กร ผังโครงสร้างองค์กรและ ธรรมาภิบาล กลุ่มลูกค้าและตลาด ความต้องการและความคาดหวัง บทบาทและประเภทผู้ส่งมอบและผู้จัดจำหน่ายที่สำคัญ ความสัมพันธ์และความสื่อสาร ระหว่างองค์กรกับผู้ส่งมอบ กับลูกค้า

  37. OrganizationSelf AssessmentTQA Criteria 2004 อธิบายถึงสภาพการแข่งขัน ความท้าทายที่สำคัญในเชิงกลยุทธ์ และระบบการปรับปรุงผลการดำเนินการขององค์กร P2 ความท้าทายต่อองค์กร a การแข่งขัน b กลยุทธ์ c การปรับปรุง

  38. OrganizationSelf AssessmentTQA Criteria 2004 P.2 ความท้าทาย ต่อองค์กร a) สภาพการแข่งขัน สถานภาพการแข่งขัน ปัจจัยสำคัญที่จะทำให้แข่งขันได้ การเปลี่ยนแปลงที่จะกระทบ แหล่งข้อมูลสำคัญ เชิงเปรียบเทียบ

  39. OrganizationSelf AssessmentTQA Criteria 2004 P.2 ความท้าทายต่อองค์การ b) ความท้าทายเชิงกลยุทธ์ ความท้าทาย ทั้งด้านธุรกิจ และการปฏิบัติ และพนักงาน c) ระบบการปรับปรุงผลการดำเนินการ การมุ่งปรับปรุงการดำเนินงาน อย่างต่อเนื่อง วิธีแลกเปลี่ยนเรียนรู้องค์ความรู้ในองค์กร

  40. OrganizationSelf AssessmentTQA Criteria 2004 2 5 การวางแผน เชิงกลยุทธ์ การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล 1 7 ผลลัพธ์ ขององค์การ การนำ องค์การ 3 6 การมุ่งเน้น ลูกค้าและตลาด การจัดการ กระบวนการ 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ 1. การนำองค์การ

  41. OrganizationSelf AssessmentTQA Criteria 2004 อธิบายถึงการดำเนินการของผู้นำระดับสูงในการชี้นำองค์กร อธิบายถึงระบบธรรมาภิบาลขององค์กร และอธิบายว่าผู้นำระดับสูงทบทวนผลการดำเนินการอย่างไร 1 การนำองค์การ 1.1 การนำองค์การ 1.2 รับผิดชอบต่อสังคม อธิบายว่าองค์กรได้ดำเนินการอย่างไรเพื่อแสดงความรับผิดชอบต่อสาธารณะ และทำให้มั่นใจว่าองค์กรมีการดำเนินงานอย่างมีจริยธรรมและบำเพ็ญตนเป็นพลเมืองดี a กำหนดทิศทาง b ธรรมาภิบาล c ทบทวนผล a ต่อสาธารณะ b จริยธรรม c ต่อชุมชน

  42. OrganizationSelf AssessmentTQA Criteria 2004 1.1 การนำองค์การ a) กำหนดทิศทาง 1 สื่อสาร กำหนด ถ่ายทอด ผลักดัน ค่านิยม ทิศทางระยะสั้น ทิศทางระยะยาว ผลการดำเนินงาน ที่คาดหวัง พนักงาน คู่ค้าและผู้ส่งมอบ สร้างคุณค่าและสมดุล ระหว่าง ลูกค้ากับผู้มีส่วนได้เสีย

  43. OrganizationSelf AssessmentTQA Criteria 2004 1.1 การนำองค์การ a) กำหนดทิศทาง 2 การสร้างบรรยากาศที่ดีในเรื่อง การกระจายอำนาจ การตัดสินใจ การสร้าง นวัตกรรม การสนองต่อการ เปลี่ยนแปลง การสร้าง จริยธรรม การเป็นองค์กร แห่งการเรียนรู้ สู่ระบบงานในองค์กร

  44. OrganizationSelf AssessmentTQA Criteria 2004 1.1 การนำองค์การ b) ธรรมาภิบาล ความรับผิดชอบ ด้านการดำเนินงานและด้านการเงิน ความอิสระของการตรวจสอบ จากบุคคลภายใน ความอิสระของการตรวจสอบ จากบุคคลภายนอก การปกป้องผลประโยชน์ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกกลุ่ม

  45. OrganizationSelf AssessmentTQA Criteria 2004 1.1 การนำองค์การ c) ทบทวนผล 1 การทบทวนผลการดำเนินงาน ประเมิน ความสำเร็จขององค์การ การบรรลุเป้าหมาย ระยะสั้น การบรรลุเป้าหมาย ระยะยาว การตอบสนองต่อ การเปลี่ยนแปลง

  46. OrganizationSelf AssessmentTQA Criteria 2004 1.1 การนำองค์การ c) ทบทวนผล 2 การปฏิบัติการวัด ผลการดำเนินงาน อย่างสม่ำเสมอ ด้วย การกำหนด ตัววัดหลัก ผลการใช้ ตัววัดหลัก

  47. OrganizationSelf AssessmentTQA Criteria 2004 1.1 การนำองค์การ c) ทบทวนผล 3 การนำผลการทบทวน ไปสู่ การจัดลำดับ เพื่อการปรับปรุง การสร้างโอกาส ด้านนวัตกรรม การผลักดันให้เกิดขึ้น ทั่วทั้งองค์การ การสื่อสารผล ไปสู่คู่ค้าตามเหมาะสม

  48. OrganizationSelf AssessmentTQA Criteria 2004 1.1 การนำองค์การ c) ทบทวนผล 4 การประเมินผลการปฏิบัติงานของ ผู้บริหารระดับสูง และ คณะกรรมการ นำผลไปสู่ การปรับปรุงประสิทธิผลของตนเอง การปรับปรุงประสิทธิผล ของคณะทำงาน การปรับปรุง ระบบความเป็นผู้นำ

  49. OrganizationSelf AssessmentTQA Criteria 2004 1.2 รับผิดชอบต่อสังคม a) ความรับผิดชอบต่อสาธารณะ 1 ศึกษาผลกระทบ ที่มีต่อ สังคม จากสินค้า บริการ และ การดำเนินงาน การกำหนด กระบวนการ การกำหนด ตัววัด การกำหนด เป้าหมาย การประเมินและ จัดการ ความเสี่ยง ให้เป็นไปตาม หรือ ดีกว่าข้อบังคับและกฎหมาย

  50. OrganizationSelf AssessmentTQA Criteria 2004 1.2 รับผิดชอบต่อสังคม a) ความรับผิดชอบต่อสาธารณะ 2 คาดการณ์ ความวิตกกังวลของ สังคม จากสินค้า บริการ และ การดำเนินงาน การกำหนด กระบวนการ การกำหนด ตัววัด การกำหนด เป้าหมาย การประเมิน ความเสี่ยง สู่การจัดการเชิงป้องกันมากกว่าการแก้ไข

More Related