1 / 33

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. โดย สุวรรณี คำมั่น รองเลขาธิการ วันที่ 5 มีนาคม 2554 ณ โรง แรมปริ๊นซ์พาเลซ นักบริหารชั้นสูง รุ่นที่ 3. กรอบการบรรยาย. วิวัฒนาการของแผนชาติและกระบวนการจัดทำแผน. แนวโน้มและสถานการณ์การเปลี่ยนแปลง.

fleur-solis
Download Presentation

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ โดย สุวรรณี คำมั่น รองเลขาธิการ วันที่ 5 มีนาคม 2554 ณ โรงแรมปริ๊นซ์พาเลซ นักบริหารชั้นสูง รุ่นที่ 3

  2. กรอบการบรรยาย • วิวัฒนาการของแผนชาติและกระบวนการจัดทำแผน • แนวโน้มและสถานการณ์การเปลี่ยนแปลง • ร่างแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 11 • ยุทธศาสตร์ที่เกี่ยวข้องด้านการศึกษา

  3. The National Economic and Social Development Plan (NESDP)A Road to Thailand’s development Gold Era of Planning Political Fluctuation Democracy Era Paradigm Shift Plan 1 (1961-66) People Centred Development Paradigm Participation Approach Sufficiency Economy Plan 2 (1967-71) Plan 3 (1972-76) Plan 4 (1977-81) crisis Plan 5 (1982-86) Economic Growth and Infrastructure Development and the Beginning of Social Development Economic Growth Led Development Plan 6 (1987-91) Plan 7 (1992-96) crisis Plan 8 (1997-2001) Economic Stability and Social Development Plan 9 (2002-06) Community Plan Plan 10 (2007-2011) crisis

  4. ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง “เศรษฐกิจพอเพียง” เป็นปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงมีพระราชดำรัสชี้แนะแนวทางการดำเนินชีวิตแก่พสกนิกรชาวไทย มาโดยตลอดนานกว่า 30 ปี ตั้งแต่ก่อนเกิดวิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจ และเมื่อภายหลังได้ทรงเน้นย้ำแนวทางการแก้ไขเพื่อให้ รอดพ้น และสามารถดำรงอยู่ได้อย่างมั่นคงและยั่งยืนภายใต้กระแสโลกาภิวัตน์และความเปลี่ยนแปลงต่างๆ

  5. ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ยึดหลักความพอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี อาศัยความรอบรู้ การมีคุณธรรม และความเพียรเป็นเงื่อนไข พอประมาณ • ไม่ทำเกินตัว ทำตามศักยภาพและความถนัดไม่ตามกระแส • ใช้เหตุผลในการคิด ตัดสินใจและดำเนินการ มีการจัดการวางแผนอย่างเป็นระบบ มองระยะยาว มีเหตุผล • สร้างภูมิคุ้มกัน โดยคำนึงถึงความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้น พร้อมรับมือและหาวิธีจัดการปรับตัวอย่างเหมาะสม มีภูมิคุ้มกัน ความรอบรู้ ใช้ข้อมูล ใช้ความรู้และประสบการณ์ที่เกี่ยวข้อง อย่างรอบคอบ ระมัดระวังในการปฏิบัติ ปรับการผลิต อาศัยฐานความรู้สู่การเพิ่มประสิทธิภาพ มีคุณธรรม ซื่อสัตย์ รับผิดชอบต่อส่วนรวม มีความไว้เนื้อเชื่อใจในการ ทำงานร่วมกัน ไม่โลภ ไม่เบียดเบียนผู้อื่น และสิ่งแวดล้อม เอื้ออาทร ต่อชุมชน และสังคม มีความเพียร มีความเพียรต่อการเรียนรู้ สิ่งใหม่ๆ เพื่อปรับวิธีการ ทำงาน มีสติ ใช้ปัญญา

  6. ผลกระทบจากกระแสโลกาภิวัตน์ผลกระทบจากกระแสโลกาภิวัตน์ “วิถีทางดำเนินของบ้านเมืองและของประชาชนโดยทั่วไปมีความเปลี่ยนแปลงมาตลอด เนื่องมาจากความวิปริตผันแปรของวิถีแห่งเศรษฐกิจ สังคม การเมือง และอื่นๆ ของโลก ยากยิ่งที่เราจะหลีกเลี่ยงให้พ้นได้ จึงต้องระมัดระวัง ประคับประคองตัวเรามากขึ้น โดยเฉพาะในเรื่องการเป็นอยู่โดยประหยัด เพื่อที่จะอยู่ให้รอดและก้าวหน้าต่อไปได้โดยสวัสดี” (พระราชดำรัสเนื่องในโอกาสวันขึ้นปีใหม่ : ๓๑ ธันวาคม ๒๕๒๑)

  7. ไทยกำลังผ่านพ้นช่วงโอกาสจากการปันผลทางประชากร โครงสร้างในอนาคตวัยประชากรวัยทำงานจะต้องแบกรับผู้สูงอายุที่เพิ่มมากขึ้น Pyramid of Thai Population 2570 2552 2513 Aging Population Baby Boom Demographic Dividend The working age population dominates the pyramid, so there is possibility that they will be well able to support the old and the young. 2513 2552 2570 The working age population has to support for a comparative large population of children. The working age population needs to support a large population of older people. Transform Transform Child Old Working Age Implication is Manpower Structure is changing due to demographic change

  8. Global Rules & Multi Polar Multi polar Global rules EU + + - ASEAN AMERICA + - Low carbon economy BRIC + - Japan Asia • Tariff Barrier i.e. Border Carbon Adjustment ; IUU Fishing, • Non –Tariff Barrier to trade i.e. Technical barrier : EU energy using product, Energy label , Carbon label/footprint, ROHs & REACH for chemicals, มาตรการสุขอนามัยและสุขอนามัยพืช (SPS) ; AFTA, FTA Africa

  9. กฎกติกาและข้อตกลงใหม่ของโลก (Global Rules) ด้านการค้า การลงทุน ผลจากการรวมตัวของโลก (Global Integration)

  10. กฎกติกาและข้อตกลงใหม่ของโลก (Global Rules) ด้านการค้า การลงทุน Source: Nitya Nanda ( 2009), ‘Expanding frontiers of global trade rules’; สศช. (2552) จากวิสัยทัศน์ 2570...สู่แผนฯ 11; www.dtn.go.thข้อมูล WTO

  11. ภาวะโลกร้อนส่งผลกระทบต่อการเสื่อมโทรมและความสูญเสียทรัพยากรมากขึ้นภาวะโลกร้อนส่งผลกระทบต่อการเสื่อมโทรมและความสูญเสียทรัพยากรมากขึ้น ก๊าซเรือนกระจกของโลก 77% เป็นก๊าซ CO2ซึ่งส่วนใหญ่ปล่อยจากภาคพลังงาน อุณหภูมิเฉลี่ยโลกเพิ่มขึ้น 0.2องศาเซลเซียส ช่วง 30 ปีที่ผ่านมา ปริมาณน้ำฝนเพิ่มขึ้นในเขตหนาว ลดลงในเขตร้อน เกิดน้ำท่วมใหญ่ในเอเชียเพิ่มขึ้น 6 เท่า ความแห้งแล้งเพิ่มขึ้น ภูเขาน้ำแข็งละลายระดับน้ำทะเลเพิ่มขึ้น 1.2-1.7 มม./ปี คลื่นความร้อนเกิดเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง แนวโน้มสถานการณ์ภาวะโลกร้อนในปี 2100 สถานการณ์ปัจจุบัน • อุณหภูมิเฉลี่ยของโลกจะเพิ่มเป็น 1.5-5.1 องศาเซลเซียส • น้ำทะเลสูงขึ้น 0.09-0.88 เมตร • ปริมาณฝนตกหนัก เกิดขึ้นบ่อยครั้ง • ความถี่และความรุนแรงของภัยธรรมชาติเพิ่มขึ้น ผลกระทบ • การขาดแคลนน้ำ ประชากร 1ใน 6 อาจเผชิญปัญหาขาดแคลนน้ำ • การสูญพันธุ์พืชและสัตว์ประมาณร้อยละ 20 • การเพิ่มขึ้นของโรคระบาด • น้ำท่วมบ่อยครั้ง • การกัดเซาะชายฝั่งสูญเสียพื้นที่เศรษฐกิจ แหล่งท่องเที่ยว • โครงสร้างดินอ่อนตัวลงจากการละลายของชั้นน้ำแข็งใต้ดินทำให้สิ่งก่อสร้างต่างๆ มีราคาแพง • มหานคร 22 แห่งตั้งอยู่ในเขตเสี่ยงภัยน้ำทะเลท่วมถึง

  12. อะไรจะเกิดขึ้นในอีก 10 – 15 ปีข้างหน้า Food Forecast INTERNAL: GLOBAL: World Food Demand ปริมาณการใช้พลังงานชีวภาพ ที่มา: สศช. *ล้านลิตรต่อวัน **ล้านไร่ World Food Production ที่มา: FAO ที่มา: สศก. จากการประมาณการโดยการปรับการความต้องการในปี 2551 จาก E10 และ B5 เป็น E85 และ B100 จะส่งผลให้พื้นที่เพาะปลูกของมันสำปะหลัง อ้อย และปาล์มเพื่อพลังงานเพิ่มขึ้นจาก 0.39 0.12 และ 0.19 ล้านไร่ เป็น 3.29 1.06 และ 1.86 ล้านไร่ ซึ่งมากกว่าปริมาณพื้นที่เพาะปลูกที่เหลืออยู่ในปัจจุบัน (พื้นที่เพาะปลูก - พื้นที่เพาะปลูกเพื่ออาหาร) คาดว่าในปี 2030 ความต้องการอาหารจะเพิ่มสูงขึ้น 40% ในขณะที่ความสามารถผลิตอาหารจะเพิ่มสูงขึ้นประมาณ 35% จากผลกระทบภาวะโลกร้อน ที่ส่งผลต่อสภาวะอากาศที่แปรปรวน ภัยธรรมชาติที่เพิ่มสูงขึ้นทั้งปริมาณและความรุนแรง และความต้องการพืชพลังงานที่เพิ่มสูงขึ้น ซึ่งจะส่งผลกระทบให้ราคาอาหารเพิ่มสูงขึ้นประมาณ 10–35 %

  13. เทคโนโลยี แนวโน้มสู่การผสมผสานของเทคโนโลยีหลัก (IT, Bio, Materials, Nano) เกิดเทคโนโลยีสาขาหลักใหม่ นำไปสู่การสร้างนวัตกรรมเพื่อมวลมนุษย์ 1. ผลกระทบต่อสังคมและวิถีชีวิตของปัจเจกบุคคล:สู่สังคมการสื่อสารไร้สาย มีวิทยาการที่เสริมสร้างสมรรถนะของคน 2. ผลกระทบต่อแผนการผลิตและรูปแบบการบริโภค: เน้นการลงทุนทางปัญญามากกว่าทางกายภาพ และมีนวัตกรรมเพื่อผลิตสินค้าและบริการ ที่ตอบสนองความต้องการที่หลากหลายได้อย่างมีคุณภาพ 3 ผลกระทบต่อพลวัตของการผลิต การค้าและบริการ เปลี่ยนแปลงสู่ธุรกิจภาคบริการรูปแบบใหม่ๆ 4 ผลต่อการจัดการปัญหาสิ่งแวดล้อมและพลังงาน: เทคโนโลยีมีบทบาทนำในการแก้ไขปัญหาฯ อย่างมีประสิทธิภาพ และสร้างทางเลือกในระยะยาว ที่มา : ปฐมบทสู่การเตรียมตัวเพื่ออนาคตของประเทศไทย, เอกสารประกอบการประชุมสมัชชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อการพัฒนา ครั้งที่ 6 (2550)

  14. ภาพรวมผลกระทบของภาวะวิกฤติเศรษฐกิจโลกต่อประเทศไทยภาพรวมผลกระทบของภาวะวิกฤติเศรษฐกิจโลกต่อประเทศไทย ผลต่อสังคม วิกฤติเศรษฐกิจโลก* ผลต่อเศรษฐกิจ การล้มละลาย&ปิดกิจการ ของสถาบันการเงิน ใน G7 จะต่อเนื่องถึงกลาง Q1 การส่งออกลดลง ลด OT/ ลดเงินเดือน การปลดคนงาน ทิศทางของหุ้น / ตราสารหนี้ /กองทุนไม่ตอบสนองมาตรการ Rescues Plan Bill ผู้จบใหม่ ไม่มีงานทำ การท่องเที่ยวลดลง โลกกำลังเข้าสู่ การขาดสภาพคล่อง การบริโภคหดตัว เศรษฐกิจสหรัฐอเมริกา / ญี่ปุ่น / ยุโรป / จะหดตัวสูงสุดในรอบ 70 ปี ราคาสินค้าเกษตรตกต่ำ ราคาน้ำมันและโภคภัณฑ์เกษตรทรงตัวไปถึง Q2 ปี 2009 กลับ ภูมิลำเนาเดิม ปัญหาสังคม คนว่างงาน Q3/09 GDP -2.7

  15. มาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจรอบแรก (13 มค. 52) 37,464.5 ล้านบาท 56,005.6 ล้านบาท รายการเงินสำรองจ่ายเพื่อกรณีฉุกเฉินหรือจำเป็น 4,090.4 ล้านบาท รายจ่ายเพื่อชดใช้เงินคงคลัง 19,139.5 ล้านบาท • แผนงานฟื้นฟูและเสริมสร้างความเชื่อมั่น • ด้านเศรษฐกิจ • ช่วยเหลือค่าครองชีพแก่ประชาชน • ต่ออายุโครงการ 5 มาตรการ 6 เดือน • 11,409.2.13 ล้านบาท • จัดทำและพัฒนาแหล่งน้ำเพื่อเกษตรกร • 2,000 ล้านบาท • ก่อสร้างทางในหมู่บ้าน 1,500 ล้านบาท • จำหน่ายสินค้าราคาถูก ธงฟ้า 1,000 ล้านบาท • ด้านสนับสนุนการท่องเที่ยว 1,000 ล้านบาท • แหล่งน้ำขนาดเล็ก 760 ล้านบาท • สนับสนุนอุตสาหกรรมอาหารและ SMEs 500 ล้านบาท • สร้างภาพลักษณ์ประเทศ 325 ล้านบาท • แผนงานเสริมสร้างรายได้ พัฒนาคุณภาพชีวิตและ • ความมั่นคงด้านสังคม • เรียนฟรี 15 ปี 19,001 ล้านบาท • เศรษฐกิจพอเพียงยกระดับชุมชน • 15,200 ล้านบาท • เงินยังชีพแก่ผู้สูงอายุ 9,000 ล้านบาท • เพิ่มศักยภาพผู้ว่างงาน 6,900 ล้านบาท • ค่าครองชีพอาสาสมัครสาธารณสุขประจำ • หมู่บ้าน 3,000 ล้านบาท • ก่อสร้างที่พักอาศัยแก่ตำรวจชั้นประทวน • 1,808.8 ล้านบาท • ปรับปรุงสถานีอนามัยในชนบท • 1,095.8 ล้านบาท 116,700 ล้านบาท

  16. แผนฟื้นฟูเศรษฐกิจ ระยะที่ 2 5. แผนงาน/โครงการ ภายใต้แผนฟื้นฟูฯ ตามมติ ค.ร.ม. 7 เมษายน 2552 ท่องเที่ยว6,637 ลบ. Program1.56 ล.ลบ. พัฒนาบริการสาธารณะ1.14 ล.ลบ. การศึกษา60,145 ลบ. ระบบน้ำ/การเกษตร230,645 ลบ. เศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์20,134 ลบ. ชุมชน100,000 ลบ. สาธารณสุข9,290 ลบ. การบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ ขนส่งและโลจิสติกส์ ส่งเสริมและพัฒนามรดกทางวัฒนธรรม เสริมสร้างการเรียนรู้ในชุมชน การผลิตและพัฒนาศักยภาพแพทย์และบุคลากรทางด้านสาธารณสุข SubProgram แผนงานการพัฒนาพื้นที่พิเศษ 5 จังหวัดชายแดนภาคใต้ ฟื้นฟูภาพลักษณ์ พลังงานและพลังงานทดแทน ส่งเสริมการจัดงานแสดงศิลปะและวัฒนธรรม ส่งเสริมตลาดท่องเที่ยว พัฒนาคุณภาพมาตรฐานการศึกษาและการเรียนรู้ในทุกระดับ การพัฒนาภาคเกษตร แผนงานลงทุนเพื่อสร้างอาชีพและรายได้ในชุมชน สร้างสรรค์สินค้าใหม่ ส่งเสริมและพัฒนาอุตสาหกรรมช่างฝีมือ การวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีทางการแพทย์ โทรคมนาคม พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานทางปัญญาและการเป็นศูนย์กลางทางการศึกษาของอนุภูมิภาคและภูมิภาค ฟื้นฟูแหล่งท่องเที่ยว ส่งเสริมและพัฒนากลุ่มสินค้าเชิงสร้างสรรค์ ท่องเที่ยว ส่งเสริมอุตสาหกรรมออกแบบซอฟต์แวร์ ปรับปรุงมาตรฐาน การศึกษา ยกระดับคุณภาพครูและปฎิรูปการศึกษา สาธารณสุข ส่งเสริมอุตสาหกรรมออกแบบ และการศึกษาวิจัยและพัฒนา สวัสดิภาพของประชาชน วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม

  17. ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (GDP) ไตรมาสที่ 4/2553 • GDP ขยายตัวร้อยละ 3.8 ชะลอตัวจากไตรมาสที่แล้วที่ขยายตัวร้อยละ 6.6 อย่างไรก็ตามยังมีปัจจัยสนับสนุนจาก • การส่งออกสินค้าและบริการสุทธิเพิ่มขึ้น • การท่องเที่ยวขยายตัว นักท่องเที่ยวต่างชาติเดินทางมาเมืองไทยเพิ่มขึ้น • การลงทุนภาคเอกชน อัตราการใช้กำลังการผลิตอยู่ในภาวะตึงตัวในหลายอุตสาหกรรม • การใช้จ่ายภาคครัวเรือนยังคงขยายตัว จากการเพิ่มขึ้นของรายได้เกษตรกรและอัตราการว่างงานอยู่ในเกณฑ์ดี

  18. ประมาณการเศรษฐกิจไทยปี 2554 และแนวโน้มปี 2554 (ณ วันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2554) ที่มา : สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 21 กุมภาพันธ์ 2554

  19. ทุนหกด้านของประเทศ Economic Capital (EC) Social Capital (SC) Natural Capital (NC) ทุนธรรมชาติ (Natural Capital) ทุนกายภาพ (Physical Capital) ทุนวัฒนธรรม (Cultural Capital) ทุนทางสังคม (Social Capital) ทุนมนุษย์ (Human Capital) ทุนทางการเงิน (Financial Capital)

  20. กรอบแนวคิดและหลักการของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11 วิสัยทัศน์ “สังคมที่อยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข ด้วยความเสมอภาค เป็นธรรม และมีภูมิคุ้มกันต่อการเปลี่ยนแปลง” เป้าหมายหลัก • การปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นพระประมุข • ภาคเกษตรเป็นฐานรองรับของรายได้และความมั่นคงอาหาร และสังคมชนบท • ยึดการพัฒนาประเทศบนฐานความรู้และเทคโนโลยีที่ทันสมัย • ส่งเสริมและรักษาค่านิยมของวัฒนธรรมไทย • ให้ชุมชนเป็นฐานที่มีความสามารถในการบริหารจัดการ การมีส่วนร่วมในการพัฒนาคุณภาพชีวิต และสามารถเชื่อมโยงกับสังคมสวัสดิการ • รักษาความเป็นเอกราช ความเป็นกลางในเวทีโลกและเป็นผู้นำในเวทีอาเซียน • สังคมไทยมีความสงบสุข อย่างมีธรรมาภิบาล • หลักประกันทางสังคมที่มีคุณภาพครอบคลุมประชากรไทยทุกคน • โครงสร้างเศรษฐกิจมีความสมดุล เข้มแข็งและพึ่งพาตนเอง • ความสามารถในการแข่งขันของประเทศสูงขึ้น • ทรัพยากรธรรมชาติอุดมสมบูรณ์ และคุณภาพสิ่งแวดล้อมดีขึ้น ภายใต้ภูมิคุ้มกัน

  21. 1 2 3 4 5 6 6 ยุทธศาสตร์การพัฒนาในแผนฯ 11(พ.ศ. 2555 – 2559) • สร้างโอกาสการเข้าถึงแหล่งทุน ทรัพยากร การประกอบอาชีพ • ยกระดับรายได้ สร้างความมั่นคงทางสังคมให้ทุกคนในสังคม • เสริมสร้างความสัมพันธ์ของคนในสังคมให้เป็นน้ำหนึ่งใจเดียวกัน การสร้างความเป็นธรรมทางสังคม • พัฒนาคนไทยทุกกลุ่มวัยให้มีศักยภาพ • เสริมสร้างสภาพแวดล้อมทางครอบครัว ชุมชนและสังคมให้มั่นคง และเอื้อต่อการพัฒนาคนสอดคล้องกับบริบทการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคมในอนาคต การพัฒนาคนสู่สังคมแห่งการเรียนรู้ • สร้างฐานภาคเกษตรให้เข้มแข็ง • สร้างความสมดุลและมั่นคงของผลิตผลการเกษตรเพื่อเป็นอาหารและพลังงาน • จัดหาพลังงานให้มีความมั่นคงเพียงพอกับความต้องการใช้ในประเทศ การสร้างความสมดุลและความมั่นคงของอาหารและพลังงาน • สนับสนุนให้ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางการผลิตสินค้าและบริการในภูมิภาคบนพื้นฐานแนวคิดสร้างสรรค์และการสร้างนวัตกรรม • ต่อยอดองค์ความรู้ให้สามารถสนับสนุนการสร้างมูลค่าในการปรับโครงสร้างภาคการผลิตและบริการเพื่อให้เศรษฐกิจสร้างสรรค์ขับเคลื่อนสู่เศรษฐกิจที่สมดุล • พัฒนาผู้ประกอบการใหม่ • สร้างเครือข่ายโครงสร้างพื้นฐานและโลจิสติกส์ภายในที่เชื่อมโยงในภูมิภาค การสร้างเศรษฐกิจฐานความรู้และปัจจัยแวดล้อม การสร้างความเชื่อมโยงกับเศรษฐกิจในภูมิภาค • เตรียมพร้อมและปรับตัวเข้าสู่บริบทโลกและภูมิภาคที่เปลี่ยนแปลงไป โดยเฉพาะการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน • เสริมสร้างความได้เปรียบด้านเศรษฐกิจจากศักยภาพที่ตั้งทางภูมิศาสตร์เศรษฐกิจของประเทศ • อนุรักษ์และฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติให้มีความอุดมสมบูรณ์ • ขับเคลื่อนการผลิตและบริโภคของประเทศไปสู่การเป็นสังคมที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม • สร้างภูมิคุ้มกันและเตรียมความพร้อมในการรองรับและปรับตัวต่อผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน

  22. ร่าง ยุทธศาสตร์การสร้างความเป็นธรรมในสังคม เป้าหมายการพัฒนา ภูมิคุ้มกัน ตัวชี้วัด • การกระจายรายได้และการถือครองทรัพย์สินประเภทต่างๆ ของกลุ่มต่างๆ ดีขึ้น • ยกระดับการคุ้มครองทางสังคมให้มีคุณภาพและครอบคลุมทั่วถึง มีความแตกต่างด้านคุณภาพบริการทางสังคมระหว่างพื้นที่/กลุ่มคนลดลง • โครงสร้างค่าจ้างแรงงานมีความเป็นธรรมมากขึ้นและสวัสดิการแรงงานปรับปรุงดีขึ้นและเหมาะสมกับการยกระดับคุณภาพชีวิต • การแข่งขันทางธุรกิจมีความเป็นธรรมมากขึ้น และธุรกิจขนาดกลางขนาดย่อมมีสัดส่วน/บทบาทมากขึ้นในระบบเศรษฐกิจ • ลดการผูกขาดการค้าและสร้างความรับผิดชอบต่อสังคมของภาคธุรกิจ เอกชน รวมทั้งความรับผิดชอบต่อผู้บริโภค/ผู้มีส่วนได้เสียอื่นๆ • ความเท่าเทียมทางเพศมีมากขึ้น ทั้งเรื่องรายได้ โอกาสทางอาชีพ โอกาสทางการเมือง และการดำรงตำแหน่งในระดับสูงและบริหารจัดการ • ยกระดับความเป็นพลเมืองที่ดีในสังคมไทยสูงขึ้น • ทุกคนในสังคมไทยมีความมั่นคงทางเศรษฐกิจและสังคม • กลุ่มผู้ด้อยโอกาสได้รับโอกาสและการพัฒนาศักยภาพอย่างทั่วถึงและเท่าเทียมกัน • ประชาชนมีความเข้มแข็งเป็นพลังร่วมของสังคมไทย • ทุกคนสามารถอยู่ในชุมชนและสังคมที่ยึดโยงเป็นน้ำหนึ่งใจเดียวกัน • ดัชนีชี้วัดความมั่นคงของรายได้ ที่อยู่อาศัย การทำงาน การศึกษา คุณภาพการศึกษา การดูแลสุขภาพ • สัดส่วนประชากรที่เข้าถึงการคุ้มครองทางสังคมที่มีคุณภาพจำแนกตามเพศ อายุ อาชีพ ในระบบและนอกระบบ และสัดส่วนของแรงงานนอกระบบประกันสังคมที่เข้าถึงระบบสวัสดิการสังคมของกำลังแรงงานทั้งหมด • สัดส่วนรายได้ระหว่างกลุ่มที่มีรายได้สูงสุด ร้อยละ ๑๐ แรกกับกลุ่มที่มีรายได้น้อยร้อยละ ๑๐ สุดท้าย • สัดส่วนการถือครองทรัพย์สินประเภทต่าง ๆ ของคนกลุ่มต่าง ๆ ในสังคมไทย • ระบบการคุ้มครองผู้บริโภคมีมาตรฐานดีขึ้น • สัดส่วนผู้หญิงที่ได้รับเลือกตั้ง/แต่งตั้งเป็นผู้แทนในรัฐสภา อบต. และผู้บริหารระดับสูงของราชการ • ช่องว่างรายได้หรือผลตอบแทนแรงงานชายและหญิง • ดัชนีชี้วัดความไว้วางใจในตัวบุคคล สถาบันทางสังคม และองค์กรต่างๆ • การเป็นสมาชิกในการดำเนินกิจกรรมทางการเมือง องค์การกุศล และกลุ่มสมาคมต่าง ๆ • สัดส่วนของประชาชนที่มีสิทธิได้รับคำปรึกษาทางกฎหมายโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย • ดัชนีภาพลักษณ์การทุจริตประพฤติมิชอบ

  23. แนวทางการสร้างความเป็นธรรมในสังคมแนวทางการสร้างความเป็นธรรมในสังคม การสร้างความมั่นคงทางเศรษฐกิจและสังคม เสริมสร้างความสัมพันธ์ของคนในสังคมให้เป็นน้ำหนึ่งใจเดียวกัน • พัฒนาความสัมพันธ์ของกลุ่มต่างๆ ในสังคมให้เข้มแข็ง • อนุรักษ์และฟื้นฟูวัฒนธรรมที่ดีงาม • ส่งเสริมวัฒนธรรมการเมืองที่มีธรรมาภิบาล • สร้างความเชื่อมั่นและความไว้วางใจให้เกิดขึ้นกับคนในสังคม • สร้างความแข็งแกร่งให้เศรษฐกิจฐานราก • ปรับระบบการคุ้มครองทางสังคมครอบคลุมทุกคน • ส่งเสริมการจัดสรรทรัพยากรให้เกิดความเป็นธรรม • ส่งเสริมการใช้ประโยชน์เทคโนโลยีสารสนเทศในการพัฒนาอาชีพและยกระดับคุณภาพชีวิต • สนับสนุนการพัฒนาสื่อสร้างสรรค์ ในการสร้างค่านิยมใหม่ Social Quality • เสริมสร้างพลังทางสังคมให้ทุกคนสามารถแสดงออกทางความคิดอย่างอิสระคืนอำนาจให้ชุมชนสามารถจัดการปัญหาต่างๆได้เอง • ส่งเสริมให้ภาคเอกชนเป็นพลังร่วมในการพัฒนาสังคมไทย • เสริมสร้างระบบบริหารราชการให้มีประสิทธิภาพ • สร้างโอกาสให้กลุ่มด้อยโอกาสเข้าถึงบริการทางสังคมอย่างเท่าเทียมและเป็นธรรม • เสริมสร้างความมั่นคงให้คนยากจนมีความพร้อมรับผลกระทบจากวิกฤตต่างๆ เพิ่มทางเลือกการใช้ชีวิตในสังคมและสร้างการมีส่วนร่วมในเชิงเศรษฐกิจ สังคม และการเมืองได้อย่างมีคุณค่าและศักดิ์ศรี เน้นการสร้างภูมิคุ้มกันระดับปัจเจกและสร้างการมีส่วนร่วมในกระบวนการตัดสินใจในการพัฒนาประเทศ การจัดบริการทางสังคมให้ทุกคนตามสิทธิพึงมีพึงได้ การเสริมสร้างพลังให้ทุกภาคส่วน

  24. ร่าง ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนสู่สังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างยั่งยืน เป้าหมายการพัฒนา ภูมิคุ้มกัน ตัวชี้วัด • พัฒนาคนให้มี ความรู้ ความคิด วิเคราะห์ สังเคราะห์ มีนิสัยใฝ่เรียนรู้ตลอดชีวิต มีความคิดสร้างสรรค์ มีคุณธรรมจริยธรรม มีค่านิยมความเป็นไทย รู้จักสิทธิหน้าที่ของตนเองและของผู้อื่น • ยกระดับคุณภาพการศึกษาไทยให้ได้มาตรฐานสากล • คนไทยยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเป็นแนวทางในการดำเนินชีวิต • คนไทยมีการเรียนรู้ตลอดชีวิต • คนไทยตระหนักถึงคุณค่าวัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย • ความเข้มแข็งของสถาบันทางสังคมเริ่มตั้งแต่สถาบันครอบครัว สถาบันศาสนา สถาบันการศึกษา (บวร) และชุมชน • รักษาอัตราการเจริญพันธ์ไม่ต่ำกว่า 1.6 • คุณภาพคนโดยรวมดีขึ้น โดย • อัตราเพิ่มของผลิตภาพแรงงานเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า ร้อยละ ๓/ปี • อัตราการป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อสำคัญ ๕ โรค (มะเร็ง หัวใจ เบาหวาน ความดัน หลอดเลือดสมอง) ลดลง • จำนวนคดีอาญาโดยรวมลดลงร้อยละ ๒๐ • คนไทยเข้าร่วมกิจกรรมที่เป็นประโยชน์ต่อสังคมเพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ ๕๐ • จำนวนผู้สูงอายุมีงานทำเพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ ๕๐ • ปีการศึกษาเฉลี่ยของคนไทยเป็น ๑๒ ปี • ประชากรวัยเด็กมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในวิชาหลักมีคะแนนเฉลี่ยมากกว่าร้อยละ ๕๐ • สัดส่วนผู้ใช้อินเทอร์เน็ตเพื่อการเรียนรู้ต่อประชากรอายุ ๖ ปี เพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ ๔๕ • สัดส่วนผู้เรียนมัธยมศึกษาตอนปลายสายอาชีพ:สายสามัญ ๖๐:๔๐ • จำนวนบุคลากรด้านการวิจัยและพัฒนาเพิ่มขึ้นเป็น ๑๐ คน/ประชากรหมื่นคน • สถาบันทางสังคมมีความเข้มแข็งมากขึ้น โดย • อัตราการจดทะเบียนหย่าไม่เกินร้อยละ ๔ • จำนวนสถาบันการศึกษาทุกระดับ/ประเภทผ่านการรับรองคุณภาพมาตรฐาน • จำนวนสภาองค์กรชุมชนที่ได้รับการจัดตั้งเพิ่มขึ้น

  25. แนวทางในยุทธศาสตร์การพัฒนาคนสู่สังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างยั่งยืนแนวทางในยุทธศาสตร์การพัฒนาคนสู่สังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างยั่งยืน ๑ ๒ ๓ ๔ • ให้บริการอนามัยเจริญพันธ์ที่เหมาะสมในทุกช่วงวัย • เพิ่มโอกาสการจ้างงาน • พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน บริการด้านเศรษฐกิจและสังคมให้เท่าเทียมกันระหว่างเมืองและชนบท เพื่อให้มีการกระจายตัวประชากรที่เหมาะสม ส่งเสริมและพัฒนาอนามัยเจริญพันธ์ควบคู่กับการกระจายตัวประชากรที่สอดคล้องกับศักยภาพและโอกาสของพื้นที่ • พัฒนาคุณภาพคนไทยทุกช่วงวัย เด็กปฐมวัย เลี้ยงดูเด็กให้มีพัฒนาการสมวัยเน้นบท บาทพ่อแม่ เด็กวัยเรียน สร้างความรู้ทางวิชาการ และเสริมสร้างทักษะชีวิตและพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม กำลังแรงงาน เน้นการสร้างนักวิทยาศาตร์นักวิจัย เน้นการเรียนตามแนวทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อสร้างสรรค์ด้วยปัญญา เตรียมรองรับเปิดเสรีกำลังแรงงานด้วยการพัฒนากรอบคุณวุฒิและระบบคุณวุฒิวิชาชีพ และเร่งบริหารจัดการแรงงานต่างด้าวอย่างมีระบบ ผู้สูงอายุ ส่งเสริมการมีงานทำและพัฒนาระบบการดูแลผู้สูงอายุ • เสริมสร้างสุขภาวะคนไทยอย่างบูรณาการ สร้างทักษะในการดูแลสุขภาพ และเร่งดำเนินการมาตรการลดปัจจัยเสี่ยงทางสุขภาพ พัฒนาคุณภาพคนไทยให้มีภูมิคุ้มกันต่อการเปลี่ยนแปลงและการพัฒนาประเทศในอนาคต • สร้างวัฒนธรรมการเรียนรู้ด้วยการสร้างกระแสสังคม • สร้างปัจจัยสนับสนุนให้เกิดการเรียนรู้ตลอดชีวิต (เช่น พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานทางปัญญาในระดับท้องถิ่น มีระบบการจัดการความรู้ในชุมชน ปรับปรุง/ผลักดันกฎหมายที่เกี่ยวข้อง) • ส่งเสริมการศึกษาทางเลือกที่สอดคล้องกับผู้เรียน • ส่งเสริมบทบาทของสถาบันทางสังคม นำคุณค่าอันดีงามของครอบครัวไทยมาพัฒนาต่อยอด นำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาเป็นเครื่องมือพัฒนาฟื้นฟูชุมชนท้องถิ่น นำความหลากหลายทางวัฒนธรรมมาต่อยอดพัฒนาเศรษฐกิจสร้างสรรค์ • บูรณาการกลไกการดำเนินงาน ด้านสิทธิมนุษยชน สิทธิในการเข้าถึงบริการของรัฐ และสิทธิชุมชน โดยสนับสนุนกลไกจังหวัดเป็นแกนหลักในการเชื่อมประสานภาคส่วนต่างๆ • สนับสนุนสถาบันครอบครัว การศึกษา ศาสนาปลูกฝังจิตสำนึกประชาธิปไตยในทุกระดับ สนับสนุนสถาบันสื่อให้ผลิตสื่ออย่างสร้างสรรค์ สนับสนุนสถาบันทางสังคมยกย่องคนดีที่เป็นต้นแบบ และส่งเสริมองค์กรธุรกิจเอกชนให้มีความรับผิดชอบต่อสังคม ส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต เสริมสร้างค่านิยมและวัฒนธรรมที่ดีงามของไทยมาขับเคลื่อนกระบวนการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม

  26. เครือข่ายสังคมเป็นตัวช่วยเครือข่ายสังคมเป็นตัวช่วย • ความเชื่อถือระหว่างผู้คนในเครือข่ายจนเกิดความร่วมมือ พันธมิตร • เครือข่ายความร่วมมือในสังคมเป็นที่มาของการถ่ายทอดต่อยอดความรู้ ทางธุรกิจ และ fine-tune ความคิดเพื่อนำไปใช้จริง • เครือข่ายที่ทำให้ทุกคนต้องมีความรับผิดชอบต่อสังคมส่วนรวม • ที่มา: The role of Social Capital in Today Economy คุณลักษณะของคนที่ควรเป็น ลักษณะของคนในอนาคต Disciplined Mind ทักษะ ในวิชาชีพ Occupational Capability ควบคู่กับ ability to think Synthesizing Mind Creative Mind Respectful Mind Ethical Mind ที่มา: Howard Gardner: Five Mind for the Future

  27. Economic Capital (EC) Natural Capital (NC) Cultural Capital (CC) Social Capital (SC) Natural Capital (NC) Financial Capital (FC) พัฒนาเศรษฐกิจสร้างสรรค์ • พัฒนาเศรษฐกิจสร้างสรรค์ควบคู่ไปกับการพัฒนา • เศรษฐกิจฐานความรู้ • ปรับโครงสร้างการผลิตและบริการ ให้มุ่งสู่การเป็นเศรษฐกิจ • สร้างสรรค์และเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม (Creative and Green Economy) Physical Capital (PC) ภาคเกษตรและทรัพยากรธรรมชาติ ใช้ประโยชน์จากการเป็นประเทศผู้ผลิตอาหารโลกรวมทั้งความหลากหลายทางชีวภาพและสมุนไพร ภาคอุตสาหกรรม สร้างสินค้าที่มีการออกแบบ (ODM) และสร้างตราสินค้าเป็นของตนเอง (OBM) นำความคิดสร้างสรรค์เข้าสู่กระบวนการผลิตสินค้าอุตสาหกรรม Human Capital (HC) Social Capital (SC) เน้นบริหารจัดการที่ดีและสร้างสินค้าท่องเที่ยวใหม่ รวมทั้งสร้างเรื่องราวของสินค้าท่องเที่ยวที่เชื่อมโยงกับวัฒนธรรมและวิถีชีวิต  ภาคบริการ-ไทยเป็น service-driven economy บนพื้น ฐานของความชำนาญเฉพาะด้านและเอกลักษณ์ความเป็นไทย

  28. ก้าวสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน 2558:การเคลื่อนย้ายแรงงานเสรีและผลกระทบต่อประเทศไทย ข้อตกลงจากที่ ประชุมสุดยอด อาเซียน ที่สิงคโปร์ 2550 ผลกระทบ เชิงบวก:ACE ผลกระทบ เชิงลบ:ACE • มี่ฐานการผลิตร่วม • และเป็นตลาดเดียว • บูรณาการเศรษฐกิจ • การเมืองและวัฒนธรรม • พิมพ์เขียวประชาคม • เศรษฐกิจอาเซียน • AEC 2558 • แรงงานต่างด้าว • การค้ามนุษย์ • แพร่โรคติดต่อ • ก่อการร้าย  เคลื่อนย้ายแรงงาน ผู้ให้บ ริการและ แรงงานที่มีทักษะ เคลื่อนย้ายได้โดยเสรี  เคลื่อนย้ายสินค้า บริการ การลงทุนอย่างเสรี:ลดภาษี อำนวยความสะดวก ลดต้นทุน เชื่อมโยงระบบขนส่ง

  29. ความท้าทายและทิศทางในอนาคตความท้าทายและทิศทางในอนาคต สร้างความพร้อมการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน Education hub, Medical Hub, NQF, กำลังคนใน7 ภาคเศรษฐกิจ-บัญชี วิศวกรรม การสำรวจ สถาปัตยกรรม การพยาบาล การแพทย์ และบริการ ทันตกรรม ความร่วมมือกับประเทศเพื่อนบ้านในระดับอนุภูมิภาค • นโยบายการพัฒนาการเจริญเติบโตอย่างมั่นคง: • สร้างความมั่นคงความปลอดภัยด้านอาหาร • - การค้ามนุษย์ แรงงานต่างด้าว • - แพร่โรคติดต่อ • ก่อการร้าย

  30. การมีงานทำและคุณภาพคนการมีงานทำและคุณภาพคน 1 คุณภาพการศึกษาของเยาวชนไทยยังมีปัญหาต่อเนื่อง การจัดอันดับสถานการณ์การศึกษาของประเทศไทยปี 2552-2553 การประเมินวิชาคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ในโครงการ PISA เน้นจิต ที่มา : IMD World Competitiveness Yearbook 2009 - 2010 ที่มา : สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี NESDB 4

  31. ภาพอนาคตที่มีผลต่อการศึกษาภาพอนาคตที่มีผลต่อการศึกษา • Global Trend – Free Flow • ขีดความสามารถในการแข่งขัน • การเปลี่ยนแปลงประชากร • การมีงานทำและตลาดแรงงาน • การกระจายอำนาจ • คุณภาพบัณฑิตในอนาคต • การประยุกต์ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ประเด็นยุทธศาสตร์ด้านศึกษา ประเด็นเชิงนโยบายการศึกษา • การเชื่อมโยงกับการศึกษาระดับอื่น ๆ • คุณภาพมาตรฐาน • การพัฒนาขีดความสามารถใน • ระบบวิจัยและนวัตกรรม • การจัดกลุ่มอุดมศึกษา-บริหารเชิงกลยุทธ์ • โครงสร้างพื้นฐานเพื่อการเรียนรู้ • การพัฒนาแบบบูรณาการ • การแนะแนวการศึกษาและอาชีพ • การเงินการคลังเพื่อการศึกษา

  32. ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ยึดหลักความพอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี อาศัยความรอบรู้ การมีคุณธรรม และความเพียรเป็นเงื่อนไข พอประมาณ • ไม่ทำเกินตัว ทำตามศักยภาพและความถนัดไม่ตามกระแส • ใช้เหตุผลในการคิด ตัดสินใจและดำเนินการ มีการจัดการวางแผนอย่างเป็นระบบ มองระยะยาว มีเหตุผล • สร้างภูมิคุ้มกัน โดยคำนึงถึงความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้น พร้อมรับมือและหาวิธีจัดการปรับตัวอย่างเหมาะสม มีภูมิคุ้มกัน ความรอบรู้ ใช้ข้อมูล ใช้ความรู้และประสบการณ์ที่เกี่ยวข้อง อย่างรอบคอบ ระมัดระวังในการปฏิบัติ ปรับการผลิต อาศัยฐานความรู้สู่การเพิ่มประสิทธิภาพ มีคุณธรรม ซื่อสัตย์ รับผิดชอบต่อส่วนรวม มีความไว้เนื้อเชื่อใจในการ ทำงานร่วมกัน ไม่โลภ ไม่เบียดเบียนผู้อื่น และสิ่งแวดล้อม เอื้ออาทร ต่อชุมชน และสังคม มีความเพียร มีความเพียรต่อการเรียนรู้ สิ่งใหม่ๆ เพื่อปรับวิธีการ ทำงาน มีสติ ใช้ปัญญา

  33. สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติwww.nesdb.go.thสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติwww.nesdb.go.th

More Related