1 / 24

บูรณาการประเทศไทย ก้าวพ้นภัยพิบัติ

บูรณาการประเทศไทย ก้าวพ้นภัยพิบัติ. ดร.ธงชัย โรจนกนันท์ สำนักงานผู้ประสานงานด้านสภาพภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง กระทรวงมหาดไทย 21 ธันวาคม 2554. ประเด็นหลัก.

flo
Download Presentation

บูรณาการประเทศไทย ก้าวพ้นภัยพิบัติ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. บูรณาการประเทศไทย ก้าวพ้นภัยพิบัติ ดร.ธงชัย โรจนกนันท์ สำนักงานผู้ประสานงานด้านสภาพภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง กระทรวงมหาดไทย 21 ธันวาคม 2554

  2. ประเด็นหลัก • ๐ ผังเมืองจะมีส่วนช่วยบรรเทาปัญหาน้ำท่วมได้หรือไม่ และประเด็นของการใช้พื้นที่โดยไม่ได้วางแผนดีพอ เช่นการขยายตัวของเมือง การใช้พื้นที่เกษตรเป็นอุตสาหกรรม ทำให้ภาวะน้ำท่วมที่ผ่านมารุนแรงมากน้อยแค่ไหน อย่างไร • ๐ ผลของวิกฤติอุทกภัยครั้งนี้ ทำให้พื้นที่ต่างๆ เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไรบ้าง • ๐ แผนการจัดทำผังเมืองใหม่เพื่อแก้ไขปัญหาน้ำท่วม สำหรับย่านที่อยู่ พื้นที่อุตสาหกรรม พื้นที่รับน้ำ พื้นที่เกษตร และการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน ควรเป็นเช่นไรบ้าง

  3. กรุงเทพและปริมณฑลเป็นที่ลุ่มต่ำ...ใครบ้างไม่รู้?กรุงเทพและปริมณฑลเป็นที่ลุ่มต่ำ...ใครบ้างไม่รู้? แหล่งข้อมูล : คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

  4. น้ำท่วมใหญ่ปี 2554 เป็นบทเรียนไม่ใช่ประสบการณ์

  5. ผังเมืองมีส่วนช่วยบรรเทาปัญหาน้ำท่วมได้ ด้วยการกำหนดการใช้ประโยชน์ที่ดินและการขยายตัวของเมืองที่เหมาะสม

  6. ราวปี 2527-2531 กรมการผังเมืองได้แสดงความเห็นค้านการพัฒนาอุตสาหกรรมบนพื้นที่ลุ่มเกษตรกรรมเดิม (อยุธยา)

  7. ผังเมืองรวมกทม. ปี 2535 ปรากฏ Floodway ชัดเจน

  8. แต่ผังเมืองปริมณฑลเอาบ้านจัดสรร ไม่เอา Floodway

  9. ปัจจุบันมีบ้านจัดสรรมากกว่า 90 โครงการบน Floodway

  10. มาตรการผังเมือง-อนุรักษ์พื้นที่น้ำท่วมหลาก (Floodway)โครงการตามแนวพระราชดำริ ผังเมืองรวมเมืองชุมพร 2543

  11. ผังควบคุมการใช้ประโยชน์ที่ดิน และแนวน้ำท่วมหลาก ลุ่มน้ำเพชรบุรี 2548

  12. มาตรการผังเมืองป้องกันน้ำท่วมถูกเสนอแนะกรณีหาดใหญ่ศึกษาวิเคราะห์เสร็จ 2545 ระบุแนวน้ำท่วมหลากและแก้มลิง

  13. ผลของวิกฤติอุทกภัยครั้งนี้ บางพื้นที่เกิดการเปลี่ยนแปลงบางแห่งเสี่ยงภัยน้ำท่วมมากขึ้น เพราะต่างแข่งกันถมที่ดินสูงขึ้นสร้างกำแพงคอนกรีตสูงมากขึ้น ต่างเอาตัวรอด

  14. ต้องทบทวนแนวความคิดการป้องกันน้ำท่วม..เลิกถมคลองสร้างเขื่อนทำลายภูมิทัศน์ คลองแคบลง ทำลายระบบนิเวศ เปลี่ยนสังคมชนบท

  15. ต่อจากนี้..ชุมชนริมน้ำตอนบนจะแข่งกันสร้างกำแพงคอนกรีตต่อจากนี้..ชุมชนริมน้ำตอนบนจะแข่งกันสร้างกำแพงคอนกรีต

  16. ไม่เอา Floodway เสนอ Flood Tunnel ยาว 100 กิโลเมตรจากบางปะอินถึงสมุทรปราการ 200000 ล้านบาท

  17. แผนการจัดทำผังเมืองใหม่เพื่อแก้ไขปัญหาน้ำท่วม สำหรับย่านที่อยู่ พื้นที่อุตสาหกรรม พื้นที่รับน้ำ พื้นที่เกษตร และการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน ควรเป็นเช่นไรบ้าง

  18. เร่งแก้ปัญหาสำคัญ-ท้องถิ่นไม่เข้มงวดกฎหมายผังเมืองและกฎหมายควบคุมการก่อสร้างอาคารเร่งแก้ปัญหาสำคัญ-ท้องถิ่นไม่เข้มงวดกฎหมายผังเมืองและกฎหมายควบคุมการก่อสร้างอาคาร

  19. เตรียมแผนรับภัยพิบัติระดับชาติ ภาค เมือง และชุมชน Source;www/hydro.iis.u-tokyo.ac.jp/.../map/drainage.gif

  20. ต้องมีแผนรองรับระดับลุ่มน้ำ รักษาแก้มลิงและ Floodway • Source; Royal Irrigation Department

  21. กรุงเทพมหานครและปริมณฑลเป็นพื้นที่เสี่ยงภัยแผ่นดินไหวตามประกาศกฎกระทรวง ลงวันที่ 18 พฤศจิกายน 2550

  22. เปลือกโลกบริเวณกรุงเทพมหานครกำลังทรุดตัวลงเปลือกโลกบริเวณกรุงเทพมหานครกำลังทรุดตัวลง

  23. อนาคตภัยธรรมชาติจะรุนแรงขึ้นสภาพภูมิอากาศจะแปรปรวนเกินกว่าคาดการณ์อนาคตภัยธรรมชาติจะรุนแรงขึ้นสภาพภูมิอากาศจะแปรปรวนเกินกว่าคาดการณ์

  24. จบการนำเสนอ

More Related