1 / 45

อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต

บทที่ 6 การบริหารเงินทุนหมุนเวียน ( Working Capital Management ). อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต. ความหมายของการบริหารเงินทุนหมุนเวียน อธิบายได้ดังนี้

Download Presentation

อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. บทที่ 6 การบริหารเงินทุนหมุนเวียน(Working Capital Management) อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต

  2. ความหมายของการบริหารเงินทุนหมุนเวียนอธิบายได้ดังนี้ความหมายของการบริหารเงินทุนหมุนเวียนอธิบายได้ดังนี้ • เงินทุนหมุนเวียนรวม (Gross Working Capital) หมายถึงเงินทุนที่ธุรกิจใช้ลงทุนในสินทรัพย์หมุนเวียนซึ่งจะเปลี่ยนสภาพเป็นเงินสดได้ภายในระยะเวลา 1 ปี • เงินทุนหมุนเวียนสุทธิ (Net Working Capital) หมายถึง ผลต่างระหว่างสินทรัพย์หมุนเวียนกับหนี้สินหมุนเวียน อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต

  3. วัตถุประสงค์ของการจัดการเงินทุนหมุนเวียนวัตถุประสงค์ของการจัดการเงินทุนหมุนเวียน เป้าหมายของธุรกิจคือแสวงหาความมั่งคั่งสูงสุดให้กับผู้ถือหุ้นหรือเจ้าของกิจการฉะนั้นวัตถุประสงค์ของการจัดการเงินทุนหมุนเวียนก็คือธุรกิจควรถือสินทรัพย์หมุนเวียนไว้เท่าใดและมีส่วนประกอบของสินทรัพย์หมุนเวียนอย่างไรจึงจะทำให้ธุรกิจมีสภาพคล่องและมีกำไรในระดับที่น่าพอใจ อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต

  4. ความสัมพันธ์ของเงินทุนหมุนเวียนสภาพคล่องความเสี่ยงและกำไรความสัมพันธ์ของเงินทุนหมุนเวียนสภาพคล่องความเสี่ยงและกำไร เงินทุนหมุนเวียนสภาพคล่องความเสี่ยงกำไร เงินทุนหมุนเวียนสภาพคล่องความเสี่ยงกำไร อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต

  5. ลักษณะของสินทรัพย์หมุนเวียนลักษณะของสินทรัพย์หมุนเวียน • สินทรัพย์หมุนเวียนส่วนถาวรคือสินทรัพย์ขั้นต่ำที่ธุรกิจจะต้องมีไว้ตลอดเวลาของการดำเนินงาน • สินทรัพย์หมุนเวียนส่วนผันแปรคือสินทรัพย์ที่ธุรกิจมีไว้เป็นครั้งคราวมากน้อยเปลี่ยนแปลงไปตาม ฤดูกาล อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต

  6. จำนวนเงิน สินทรัพย์หมุนเวียนส่วนผันแปร สินทรัพย์หมุนเวียนส่วนถาวร สินทรัพย์ถาวร เวลา การกำหนดสัดส่วนเงินทุนจากแหล่งระยะสั้นและระยะยาว อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต

  7. การจัดหาเงินทุนจากแหล่งระยะสั้นเช่นเจ้าหนี้การค้าค่าใช้จ่ายค้างจ่ายเป็นต้นควรนำมาลงทุนในสินทรัพย์หมุนเวียน • การจัดหาเงินทุนจากแหล่งระยะยาวเช่นหนี้สินระยะยาวหุ้นกู้เป็นต้นควรนำมาลงทุนในสินทรัพย์ถาวร อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต

  8. ลักษณะของผู้บริหารต่อนโยบายเงินทุนหมุนเวียนลักษณะของผู้บริหารต่อนโยบายเงินทุนหมุนเวียน 1.       ผู้บริหารมีลักษณะกล้าได้กล้าเสีย (Aggressive ) จะเป็นผู้ที่ชอบความเสี่ยงต้องการกำไรสูงผู้บริหารประเภทนี้จะคงระดับเงินทุนหมุนเวียนไว้ต่ำเพื่อนำเงินทุนหมุนเวียนไปดำเนินงานให้ได้ผลกำไรมากที่สุด อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต

  9. 2.ผู้บริหารมีลักษณะยึดความมั่นคงปลอดภัย (Conservative ) จะไม่ค่อยกล้าเสี่ยงโดยจะยึดหลักความมั่นคงไว้ก่อนและมีนโยบายคงระดับเงินทุนหมุนเวียนไว้มากเพื่อให้ธุรกิจมีสภาพคล่องสูงไม่มีความเสี่ยงแม้ว่ากำไรจะต่ำไปบ้างก็ตาม อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต

  10. 3. ผู้บริหารมีลักษณะผสม ( Average) คือมีลักษณะกึ่งกลางระหว่างแบบกล้าได้กล้าเสียกับแบบยึดความมั่นคงปลอดภัยโดยพิจารณาให้ได้กำไรในระดับที่มีความเสี่ยงเหมาะสม อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต

  11. น/ส หมุนเวียน ส/ท หมุนเวียน น/ส หมุนเวียน ส/ท หมุนเวียน สภาพคล่อง น/ส หมุนเวียน ส/ท หมุนเวียน • รูปภาพแสดงลักษณะของผู้บริหารต่อนโยบาย เงินทุนหมุนเวียน • ผู้บริหารมีลักษณะกล้าได้กล้าเสี่ยง ( Aggressive ) • ผู้บริหารมีลักษณะยึดความมั่นคงปลอดภัย ( Conservative ) • ผู้บริหารมีลักษณะผสม( Average ) อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต

  12. ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อความต้องการเงินทุนหมุนเวียนปัจจัยที่มีผลกระทบต่อความต้องการเงินทุนหมุนเวียน • ยอดขาย (Sale) • ปัจจัยของฤดูกาลและวัฏจักร (Seasonal and Cycle Factor ) • สภาพคล่อง (Liquidity ) • นโยบายของบริษัท (Policy of the Firm ) อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต

  13. ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อขนาดของเงินทุนหมุนเวียนปัจจัยที่มีผลกระทบต่อขนาดของเงินทุนหมุนเวียน • ขนาดของธุรกิจ • ลักษณะการดำเนินงานของธุรกิจ • โอกาสการกู้ยืม • กำไรและความเสี่ยง อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต

  14. บทที่ 7 เงินสดและหลักทรัพย์ตามความต้องการของตลาด (Cash and Marketable Securities Management) อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต

  15. วัตถุประสงค์ในการถือเงินสดวัตถุประสงค์ในการถือเงินสด • ใช้ในการดำเนินธุรกิจ • ใช้เพื่อเหตุฉุกเฉิน • เพื่อเก็งกำไร อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต

  16. ผู้บริหารการเงินจะต้องมีเทคนิคในการบริหารเงินสดดังนี้ • นโยบายการเร่งเงินสดรับ • นโยบายชะลอเงินสดจ่าย อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต

  17. นโยบายเร่งเงินสดรับ • การเช่าตู้ไปรษณีย์ (Lock Boxes System) • การโอนเงินผ่านธนาคาร (On line) • การจัดตั้งตัวแทนหรือศูนย์จัดเก็บเงิน (Concentration Banking) อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต

  18. นโยบายชะลอเงินสดจ่าย • การชำระหนี้ด้วยเช็คเงินสด • การกำหนดขั้นตอนการจ่ายเงินของกิจการ • การชำระเงินตามเงื่อนไขที่กำหนด อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต

  19. หลักทรัพย์ตามความต้องการของตลาดหลักทรัพย์ตามความต้องการของตลาด คือหลักทรัพย์ที่สามารถเปลี่ยนมาเป็นเงินสดได้ง่าย (ซื้อง่าย ขายคล่อง)รวมทั้งอาจได้ผลตอบแทนจากหลักทรัพย์นั้นๆด้วย หลักทรัพย์ตามความต้องการของตลาดมีหลายชนิดเช่นตั๋วเงินคลัง (Treasury Bills) พันธบัตรรัฐบาล (Government Bonds) ตราสารพาณิชย์ (Commercial Paper) เป็นต้น อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต

  20. การลงทุนในหลักทรัพย์ใดนั้นจะต้องคำนึงถึงการลงทุนในหลักทรัพย์ใดนั้นจะต้องคำนึงถึง • อัตราผลตอบแทนจากการลงทุน • ความคล่องตัวในการซื้อขาย • ความเสี่ยงในการผิดนัดชำระหนี้ • ภาษีที่ต้องจ่าย อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต

  21. อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต

  22. อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต

  23. อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต

  24. อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต

  25. อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต

  26. อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต

  27. อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต

  28. อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต

  29. อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต

  30. อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต

  31. อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต

  32. อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต

  33. อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต

  34. อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต

  35. อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต

  36. อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต

  37. อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต

  38. อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต

  39. อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต

  40. อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต

  41. อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต

  42. อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต

  43. อ. ม น ช ย า ส ภ า นุ ช า ต

More Related