1 / 33

โดย ชุติมา จันทร์เจริญ นิรมล เกษณา ประกาย สอนอุ่น

โดย ชุติมา จันทร์เจริญ นิรมล เกษณา ประกาย สอนอุ่น. สำนักงานพัฒนาที่ดินเขต 8. เกษตรกรหลายรายในประเทศทำการเกษตรแบบอินทรีย์. ที่มาโครงการ. กรมพัฒนาที่ดินเป็นหน่วยงานหลักในโครงการเกษตรอินทรีย์. เกษตรกรเชื่อว่าการปลูกข้าวอินทรีย์ ลดต้นทุนการผลิต ผลผลิตดีขึ้น ดินดีขึ้น.

Download Presentation

โดย ชุติมา จันทร์เจริญ นิรมล เกษณา ประกาย สอนอุ่น

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. โดย ชุติมา จันทร์เจริญนิรมล เกษณาประกาย สอนอุ่น สำนักงานพัฒนาที่ดินเขต 8

  2. เกษตรกรหลายรายในประเทศทำการเกษตรแบบอินทรีย์เกษตรกรหลายรายในประเทศทำการเกษตรแบบอินทรีย์ ที่มาโครงการ กรมพัฒนาที่ดินเป็นหน่วยงานหลักในโครงการเกษตรอินทรีย์ เกษตรกรเชื่อว่าการปลูกข้าวอินทรีย์ ลดต้นทุนการผลิต ผลผลิตดีขึ้น ดินดีขึ้น แต่ไม่มีรายงานด้านวิชาการเกี่ยวกับ การเปลี่ยนแปลงคุณลักษณะของดิน

  3. วัตถุประสงค์ • เปรียบเทียบคุณลักษณะของดินที่ปลูกข้าวอินทรีย์ตามระยะเวลาต่าง ๆ กับการปลูกข้าวแบบใช้ปุ๋ยเคมี • 2. เปรียบเทียบผลผลิตข้าวอินทรีย์ตามระยะเวลาต่าง ๆ กับการปลูกข้าวแบบใช้ปุ๋ยเคมี

  4. สถานที่ดำเนินการทดลองสถานที่ดำเนินการทดลอง ดำเนินการร่วมกับ นายสมาน แสงสว่าง นายไพบูลย์ เนตรใส สถานที่ หมู่ 8 บ้านนิคม ต.เขาเจ็ดลูก อ.ทับคล้อ จ.พิจิตร ระยะเวลาดำเนินการ ปี 2549-2550

  5. วิธีการทดลอง วิธีการที่ 1 ปลูกข้าวแบบเคมี วิธีการที่ 2 ปลูกข้าวอินทรีย์ 1 ปี วิธีการที่ 3 ปลูกข้าวอินทรีย์ 2 ปี วิธีการที่ 4ปลูกข้าวอินทรีย์ 3 ปี วิธีการที่ 5ปลูกข้าวอินทรีย์ 4 ปี

  6. วิธีการที่ 1 ปลูกข้าวแบบเคมี ปลูกข้าวขาวดอกมะลิ 105 ใส่ปุ๋ยเคมีสูตร 16-8-8 อัตรา 25 กก./ไร่ และ 46-0-0 อัตรา 25 กก./ไร่ เมื่อข้าวอายุ 40 วัน กำจัดวัชพืชและศัตรูพืชโดยสารเคมี

  7. วิธีการที่ 2 ปลูกข้าวอินทรีย์ 1 ปี ไถกลบปอเทือง ปุ๋ยหมักอัดเม็ด 500 กก./ไร่ น้ำหมักชีวภาพ น้ำหมักจากสมุนไพรไล่แมลง ฉีดพ่นทุก 10 วัน กำจัดวัชพืชโดยแรงงานคน คัดเลือกพื้นที่ที่ไม่เคยปลูก ข้าวอินทรีย์ และเริ่มปลูกข้าวอินทรีย์เป็นปีแรก ปลูกข้าวขาวดอกมะลิ 105

  8. คัดเลือกพื้นที่ปลูกข้าวอินทรีย์มาแล้ว 1 ปี วิธีการที่ 3 ปลูกข้าวอินทรีย์ 2 ปี ปลูกข้าวขาวดอกมะลิ 105 ไถกลบปอเทือง ปุ๋ยหมักอัดเม็ด 500 กก./ไร่ น้ำหมักชีวภาพ น้ำหมักจากสมุนไพรไล่แมลง ฉีดพ่นทุก 10 วัน กำจัดวัชพืชโดยแรงงานคน

  9. ไถกลบปอเทือง ปุ๋ยหมักอัดเม็ด 500 กก./ไร่ น้ำหมักชีวภาพ น้ำหมักจากสมุนไพรไล่แมลง ฉีดพ่นทุก 10 วัน กำจัดวัชพืชโดยแรงงานคน คัดเลือกพื้นที่ปลูกข้าวอินทรีย์มาแล้ว 2 ปี วิธีการที่ 4 ปลูกข้าวอินทรีย์ 3 ปี ปลูกข้าวขาวดอกมะลิ 105

  10. วิธีการที่ 5 ปลูกข้าวอินทรีย์ 4 ปี คัดเลือกพื้นที่ปลูกข้าวอินทรีย์มาแล้ว 3 ปี ปลูกข้าวขาวดอกมะลิ 105 ไถกลบปอเทือง ปุ๋ยหมักอัดเม็ด 500 กก./ไร่ น้ำหมักชีวภาพ น้ำหมักจากสมุนไพร ไล่แมลง ฉีดพ่นทุก 10 วัน กำจัดวัชพืชโดยแรงงานคน

  11. สภาพพื้นที่แปลงทดลอง แปลงทดลองทั้ง 5 แปลง อยู่ในกลุ่มชุดดินที่ 17 มีเนื้อดินเป็นดินร่วนปนทรายหรือดินร่วน ส่วนดินชั้นล่างเป็นดินร่วนปนดินเหนียวปนทรายหรือดินร่วนเหนียวสีน้ำตาลอ่อนถึงสีเทา วัตถุต้นกำเนิด เกิดจากตะกอนที่น้ำพัดพามาทับถมกันเป็นเวลานาน ภูมิสัณฐานเป็นตะพักลำน้ำระดับต่ำ และเนินตะกอนรูปพัด สภาพพื้นที่และความลาดเทราบเรียบถึงค่อนข้างเรียบ สภาพการระบายน้ำของดินการระบายน้ำค่อนข้าวเลวถึงเลว พืชพรรณและการใช้ประโยชน์ส่วนใหญ่ใช้ในการทำนาในฤดูฝน ไม่มีการชะล้างพังทลายหน้าดิน

  12. การเก็บข้อมูล ผลผลิต เก็บเกี่ยวผลผลิตข้าวในพื้นที่ 10 ตร.ม. คุณลักษณะของดิน เก็บตัวอย่างดิน 3 ครั้งในช่วงเวลา ก่อนปลูก ระหว่างปลูก และเก็บเกี่ยว วิเคราะห์ข้อมูล เปรียบเทียบข้อมูลแต่ละวิธีการโดยใช้ T-test

  13. ผังการทดลอง T5 T4 T3 T1 T2

  14. การวิเคราะห์ pH %OM Available P ExchangeableK Bulk density Microbial biomass วิธีการ ดิน : น้ำ 1:1 Walkley&Black Double acid Double acid Core method Chloroform fumigation extraction เอกสารอ้างอิง กรมพัฒนาที่ดิน, 2547 Nunan et. al, 1998 วิธีการศึกษาคุณลักษณะของดิน

  15. มวลชีวภาพของจุลินทรีย์ดิน (microbial biomass) มวลชีวภาพของจุลินทรีย์ดิน เป็นตัวบ่งชี้ถึงการเปลี่ยนแปลง ของดิน และเป็นสมบัติของดินที่อ่อนไหวง่าย (Doran , 1987) จากรายงานของ Fraser et al. (1988) มวลชีวภาพคาร์บอนของจุลินทรีย์ในดินมีผลต่อ * การเพิ่มปริมาณและคุณภาพของคาร์บอนในดิน *เพิ่มความเป็นประโยชน์ของธาตุอาหารจากเศษพืชอินทรียวัตถุ *การที่ดินมีปริมาณจุลินทรีย์เพิ่มขึ้นทำให้อัตราการย่อยสลายธาตุ อาหารและพืชดูดใช้ธาตุอาหารพืชในดินและปริมาณการดูดใช้ ธาตุอาหารเพิ่มขึ้น *จุลินทรีย์ดินยังช่วยส่งเสริมการกระจายของรากพืชให้พืชดูดใช้ ธาตุอาหารที่เป็นประโยชน์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

  16. ลักษณะดินก่อนการทดลองลักษณะดินก่อนการทดลอง

  17. ผลการทดลอง

  18. เปอร์เซ็นต์อินทรียวัตถุหลังเก็บเกี่ยวข้าว ปี 2549 หมายเหตุ ns = ไม่แตกต่างทางสถิติ * = แตกต่างกันทางสถิติ ที่ระดับความเชื่อมั่น 95 เปอร์เซ็นต์

  19. เปอร์เซ็นต์อินทรียวัตถุหลังเก็บเกี่ยวข้าว ปี 2550 หมายเหตุ ns = ไม่แตกต่างทางสถิติ * = แตกต่างกันทางสถิติ ที่ระดับความเชื่อมั่น 95 เปอร์เซ็นต์

  20. มวลชีวภาพคาร์บอนของจุลินทรีย์ในดินระหว่างปลูกข้าว ปี 2549 หมายเหตุ ns = ไม่แตกต่างทางสถิติ * = แตกต่างกันทางสถิติ ที่ระดับความเชื่อมั่น 95 เปอร์เซ็นต์

  21. มวลชีวภาพคาร์บอนของจุลินทรีย์ในดินระหว่างปลูกข้าว ปี 2550 หมายเหตุ ns = ไม่แตกต่างทางสถิติ * = แตกต่างกันทางสถิติ ที่ระดับความเชื่อมั่น 95 เปอร์เซ็นต์

  22. ผลผลิตข้าว ปี 2549 หมายเหตุ ns = ไม่แตกต่างทางสถิติ * = แตกต่างกันทางสถิติ ที่ระดับความเชื่อมั่น 95 เปอร์เซ็นต์

  23. ผลผลิตข้าว ปี 2550 หมายเหตุ ns = ไม่แตกต่างทางสถิติ * = แตกต่างกันทางสถิติ ที่ระดับความเชื่อมั่น 95 เปอร์เซ็นต์

  24. รูปกิจกรรม

  25. สรุปผลการทดลอง คุณลักษณะของดิน • % OM ในดินที่ปลูกข้าวแบบเคมีจะต่ำกว่าที่ทำการปลูกข้าวอินทรีย์มากกว่า 2 ปี (หลังการทดลอง) • Mbc ของจุลินทรีย์ดินสูงในช่วงระหว่างมีการปลูกข้าวพบว่าดินที่มีการปลูกข้าวอินทรีย์มากกว่า 3 ปี Mbcของ จุลินทรีย์ดินสูงกว่าการปลูกข้าวแบบเคมี • คุณลักษณะของดินด้านอื่น ๆ ได้แก่ pH P K และ BD ไม่มีความแตกต่างกัน

  26. สรุปผลการทดลอง ผลผลิตข้าว ผลผลิตข้าวโดยรวม 2 ปี พบว่าการปลูกข้าวอินทรีย์ 2 ปี 3 ปี และ 4 ปี ให้ผลผลิตมากกว่าการปลูกข้าวแบบใช้ปุ๋ยเคมี

  27. ข้อเสนอแนะ การศึกษาการเปลี่ยนแปลงของดิน ที่ทำการเกษตรแบบอินทรีย์นั้น น่าจะมีการศึกษาในระยะยาว เพื่อให้ได้ข้อมูลที่ชัดเจนยิ่งขึ้น

  28. ขอบคุณค่ะ

More Related