1 / 46

วินัยข้าราชการพลเรือน

วินัยข้าราชการพลเรือน. ปรีชา นิศารัตน์. จริยธรรม. ในการประกอบวิชาชีพ. ในการทำงาน. ในทางศาสนา. ปทัสถาน. ศีลธรรม. จรรยาบรรณ. วินัย. ประกาศิต. พึง. ต้อง. ควร. คุณธรรม. จรรยา. วินัย. พฤติกรรม. จุดมุ่งหมาย. เพื่อคน + งาน. เพื่องาน. เพื่อคน. ประสิทธิผล. ศักดิ์ศรี + ประสิทธิผล.

Download Presentation

วินัยข้าราชการพลเรือน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. วินัยข้าราชการพลเรือนวินัยข้าราชการพลเรือน ปรีชา นิศารัตน์

  2. จริยธรรม ในการประกอบวิชาชีพ ในการทำงาน ในทางศาสนา ปทัสถาน ศีลธรรม จรรยาบรรณ วินัย ประกาศิต พึง ต้อง ควร คุณธรรม จรรยา วินัย พฤติกรรม จุดมุ่งหมาย เพื่อคน + งาน เพื่องาน เพื่อคน ประสิทธิผล ศักดิ์ศรี + ประสิทธิผล ผล ดี

  3. ข้าราชการต้อง ซื่อสัตย์สุจริต ตั้งใจปฏิบัติหน้าที่ รักษาความลับ ปฏิบัติตามคำสั่ง รักษาชื่อเสียง ฯลฯ วินัย คือ แบบแผนความประพฤติ หรือ ข้อปฏิบัติ

  4. วินัยคือลักษณะเชิงพฤติกรรมที่แสดงออกมาเป็นการวินัยคือลักษณะเชิงพฤติกรรมที่แสดงออกมาเป็นการ • ควบคุมตนเอง • ปฏิบัติตามการนำ • อยู่ในระเบียบแบบแผน • มีความเป็นระเบียบ

  5. จุดมุ่งหมายและขอบเขตของวินัยข้าราชการจุดมุ่งหมายและขอบเขตของวินัยข้าราชการ 1. เพื่อให้ราชการดำเนินไปด้วยดี มีประสิทธิภาพ 2. เพื่อความเจริญ ความสงบ เรียบร้อย ของประเทศชาติ

  6. The 2003 - 2004 Corruption Perception Index (CPI) By Transparency International (TI) 2004 2005 Rank Country Point Rank Country Point 5 Singapore 9.3 5 Singapore 9.4 24 Japan 6.9 21 Japan 7.3 39 Malaysia 5.0 39 Malaysia 5.1 64 Thailand 3.6 59 Thailand 3.8 71 China 3.4 78 China 3.2 102 Philippines 2.6 107 Vietnam 2.6 102 Vietnam 2.6 117 Philippines 2.5 133 Indonesia 2.0 137 Indonesia 2.2

  7. The Corruption Perception Index ( CPI ) by TI THAILAND s RANK Year CPI Rank Coverage ( countries ) 1998 3.00 61 85 1999 3.20 68 99 2000 3.20 68 98 2001 3.20 61 91 2002 3.20 64 102 2003 3.30 70 133 2004 3.60 64 146 2005 3.80 59 159 10 Points = Most Transparent 0 point = Most Corruption

  8. “ ... ถ้าทุจริตแม้แต่นิดเดียว ก็ขอแช่งให้มีอันเป็นไป พูดอย่างนี้หยาบคาย แต่ว่าขอให้มีอันเป็นไป แต่ถ้าไม่ทุจริต สุจริตและมีความตั้งใจมุ่งมั่นสร้างความเจริญก็ขอให้ต่ออายุ ได้ถึง 100 ปี ส่วนคนไหนที่มีอายุมากแล้ว ขอให้แข็งแรง ความสุจริตจะทำให้ประเทศไทยรอดพ้นอันตราย...” พระราชดำรัส พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พระราชทาน แก่คณะผู้ว่าราชการจังหวัดแบบบูรณาการ ในโอกาสเข้าเฝ้า ถวายสัตย์ปฏิญาณ เมื่อวันที่ 8 ตุลาคม 2546

  9. ...ท่านผู้ใหญ่ไปตรวจราชการที่ไหน ถ้าไปถึงไม่มี ใครเลี้ยงก็โกรธ แต่ถ้าไปถึงแล้วเลี้ยงก็พอใจ แต่ว่าเงินที่เลี้ยง น่ะเอามาจากไหน เมื่อไม่มีเงินรับรองของส่วนภูมิภาค ก็ต้องไปเรี่ยไรกัน ไปเรี่ยไรจากข้าราชการชั้นผู้น้อย หรือ ไม่อย่างนั้นก็ไปขูดรีดจากพ่อค้า แล้วพ่อค้าก็ต้องถือว่าเป็น การลงทุน ก็กลายเป็นคอร์รัปชั่นไป” พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน 2512

  10. จุดมุ่งหมายและขอบเขตของวินัยข้าราชการจุดมุ่งหมายและขอบเขตของวินัยข้าราชการ 1. เพื่อให้ราชการดำเนินไปด้วยดี มีประสิทธิภาพ 2. เพื่อความเจริญ ความสงบ เรียบร้อย ของประเทศชาติ 3. เพื่อความผาสุกของประชาชน 4. เพื่อสร้างภาพพจน์ชื่อเสียงที่ดี ของทางราชการ

  11. ความดี • เพิ่มพลังงาน • เพิ่มประสิทธิภาพ • เพิ่มประสิทธิผล • ประชาชนศรัทธา ความสำเร็จ ความเจริญ

  12. สาเหตุวินัยเสื่อม • อบายมุข

  13. อบายมุข 6 ผีหนึ่ง ชอบดื่มสุราเป็นอาจิณ ไม่ชอบกินข้าวปลาเป็นอาหาร ผีสอง ชอบท่องเที่ยวยามวิกาล ไม่รักลูกรักบ้านของตน ผีสาม ชอบเที่ยวดูการละเล่น ไม่ละเว้นบาร์คลับละครโขน ผีสี่ ชอบคบคนชั่วมั่วกับโจร หนีไม่พ้นอาญาตราแผ่นดิน ผีห้า ชอบเล่นไพ่เล่นม้ากีฬาบัตร สารพัดถั่วโปไฮโลสิ้น ผีหก ชอบเกียจคร้านการหากิน มีทั้งสิ้นหกผีอัปรีย์เอย

  14. สาเหตุวินัยเสื่อม • อบายมุข • ตัวอย่างไม่ดี • ขวัญไม่ดี • งานล้นมือ • โอกาสเปิดช่องล่อใจ

  15. โอกาส ไม่ผิด ผิด ความ ปรารถนา

  16. สาเหตุวินัยเสื่อม • อบายมุข • ตัวอย่างไม่ดี • ขวัญไม่ดี • งานล้นมือ • ความจำเป็นในการครองชีพ • โอกาสเปิดช่องล่อใจ • การปล่อยปละละเลยของผู้บังคับบัญชา

  17. เหตุทางใจที่ก่อให้เกิดการกระทำผิดวินัยเหตุทางใจที่ก่อให้เกิดการกระทำผิดวินัย * ล่อใจ * ไม่เข้าใจ * ตามใจ * ไม่มีจิตใจ * ไม่ใส่ใจ * จำใจ * ชะล่าใจ * เจ็บใจ * เผลอใจ * ตั้งใจ

  18. เอาใจใส่ สังเกตการณ์ ขจัดเหตุ สอบสวน ลงโทษ ทักท้วง การ รักษาวินัย ป้องกัน ปราบปราม เสริมสร้างและพัฒนา ปฏิบัติตน ฝึกอบรม สร้างขวัญ จูงใจ การอื่น เป็นแบบอย่าง พัฒนา กำลังใจ

  19. โทษทางวินัย • 1. โทษสำหรับความผิดอย่างไม่ร้ายแรง • ภาคทัณฑ์ • ตัดเงินเดือน • ลดขั้นเงินเดือน • 2. โทษสำหรับความผิดอย่างร้ายแรง • ปลดออก • ไล่ออก

  20. อำนาจการลงโทษสถานเบา (กฎ ก.พ. ฉบับที่ 8 (พ.ศ. 2536)) โทษ ภาคทัณฑ์ ตัดเงินเดือน ลดขั้น ฯ เลขานุการกรม ผู้อำนวยการกอง หัวหน้ากอง หัวหน้าส่วนราชการที่ต่ำกว่ากอง หัวหน้าส่วนราชการที่สูงกว่ากอง นายกรัฐมนตรี รัฐมนตรี ปลัดกระทรวง อธิบดี ผู้ว่าราชการจังหวัด ผู้ได้รับมอบหมายตามมาตรา 43 ในฐานะอธิบดี ผู้บังคับบัญชา 5% 1 เดือน 5% 2 เดือน 5% 3 เดือน 1 ขั้น

  21. ประเทศชาติ ประชาชน ผู้บังคับบัญชา ข้าราชการ ตำแหน่งหน้าที่ ผู้ร่วมงาน ตนเอง

  22. มาตรา 80 ข้าราชการต้องรักษาวินัยโดยกระทำการหรือ ไม่กระทำการตามที่บัญญัติไว้ในหมวดนี้โดยเคร่งครัดอยู่เสมอ ข้าราชการผู้ปฏิบัติราชการในต่างประเทศนอกจากต้องรักษาวินัยตามที่บัญญัติไว้ในหมวดนี้แล้ว ต้องรักษาวินัยโดยกระทำการหรือไม่กระทำการตามที่กำหนดใน กฎ ก.พ.ด้วย

  23. มาตรา 81 ข้าราชการต้องสนับสนุนการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ด้วยความบริสุทธิ์ใจ

  24. มาตรา 82 ข้าราชการต้องกระทำการอันเป็นข้อปฏิบัติต่อไปนี้ 1. ซื่อสัตย์ สุจริต และเที่ยงธรรม 2. ปฏิบัติหน้าที่ราชการตามกฎหมาย กฎ ระเบียบ มติคณะรัฐมนตรี นโยบายของรัฐบาล และปฏิบัติตามระเบียบแบบแผนของทางราชการ 3. ปฏิบัติหน้าที่ราชการให้เกิดผลดีหรือความก้าวหน้าแก่ราชการด้วยความตั้งใจ อุตสาหะ เอาใจใส่ และรักษาประโยชน์ของทางราชการ

  25. 4. ปฏิบัติตามคำสั่งของผู้บังคับบัญชาซึ่ง สั่งในหน้าที่ราชการโดยชอบด้วยกฎหมายและระเบียบของทางราชการ (เสนอให้ผู้บังคับบัญชาทบทวนได้) 5. อุทิศเวลาของตนให้แก่ราชการ 6. รักษาความลับของทางราชการ 7. สุภาพเรียบร้อย รักษาความสามัคคี และช่วยเหลือกันในการปฏิบัติราชการ

  26. 8. ต้อนรับ ให้ความสะดวก ให้ความเป็นธรรม และให้การสงเคราะห์แก่ประชาชนผู้ติดต่อราชการเกี่ยวกับหน้าที่ของตน 9. วางตนเป็นกลางทางการเมืองในการปฏิบัติหน้าที่ราชการ และปฏิบัติตามระเบียบของทางราชการว่าด้วยมารยาททางการเมืองของข้าราชการ 10. รักษาชื่อเสียงของตน รักษาเกียรติศักดิ์ ของตำแหน่งหน้าที่ราชการของตนมิให้เสื่อมเสีย 11. กระทำการอื่นใดตามที่กำหนดในกฎ ก.พ.

  27. มาตรา 83 ข้าราชการต้องไม่กระทำการใดอันเป็นข้อห้าม ดังต่อไปนี้ 1. ไม่รายงานเท็จต่อผู้บังคับบัญชา 2. ไม่ปฏิบัติราชการอันเป็นการกระทำการ ข้ามผู้บังคับบัญชา 3. ไม่อาศัย หรือยอมให้ผู้อื่นอาศัยตำแหน่งหน้าที่ราชการของตนหาประโยชน์ให้แก่ตนเองหรือผู้อื่น

  28. 4. ไม่ประมาทเลินเล่อในหน้าที่ราชการ 5. ไม่กระทำการหรือยอมให้ผู้อื่นกระทำการ หาผลประโยชน์อันอาจทำให้เสียความเที่ยงธรรมหรือเสื่อมเสียเกียรติศักดิ์ของตำแหน่งหน้าที่ราชการของตน 6. ไม่เป็นกรรมการผู้จัดการ หรือผู้จัดการ หรือดำรงตำแหน่งอื่นใดที่มีลักษณะงานคล้ายคลึงกับในห้างหุ้นส่วนหรือบริษัท

  29. 7. ไม่กระทำการอย่างใดที่เป็นการกลั่นแกล้ง กดขี่ หรือข่มเหงกันในการปฏิบัติราชการ 8. ไม่กระทำการอันเป็นการล่วงละเมิดหรือคุกคามทางเพศตามที่กำหนดในกฎ ก.พ. 9. ไม่ดูหมิ่น เหยียดหยาม กดขี่ หรือข่มเหงประชาชนผู้ติดต่อราชการ 10. ไม่กระทำการอื่นใดตามที่กำหนดในกฎ ก.พ.

  30. มาตรา 84 การกระทำผิดวินัยในลักษณะดังต่อไปนี้ เป็นความผิดวินัยอย่างร้ายแรง 1. ปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่ราชการโดย มิชอบเพื่อให้เกิดความเสียหายอย่างร้ายแรงแก่ผู้หนึ่งผู้ใด หรือปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่ราชการโดยทุจริต 2. ละทิ้งหน้าที่ราชการโดยไม่มีเหตุผลอันสมควรเป็นเหตุให้เสียหายแก่ราชการอย่างร้ายแรง 3. ละทิ้งหน้าที่ราชการติดต่อในคราวเดียวกันเป็นเวลาเกินกว่าสิบห้าวันโดยไม่มีเหตุผลอันสมควร หรือมีพฤติการณ์อันแสดงถึงความจงใจไม่ปฏิบัติตามระเบียบ ของทางราชการ

  31. 4. กระทำการอันได้ชื่อว่าเป็นผู้ประพฤติชั่ว อย่างร้ายแรง 5. ดูหมิ่น เหยียดหยาม กดขี่ ข่มเหง หรือ ทำร้ายประชาชนผู้ติดต่อราชการอย่างร้ายแรง 6. กระทำความผิดอาญาจนได้รับโทษจำคุกหรือโทษที่หนักจากจำคุกโดยคำพิพากษาถึงที่สุด เว้นแต่เป็นโทษสำหรับความผิดที่ได้กระทำโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ

  32. 7. ละเว้นการกระทำหรือกระทำการใด ๆ อันเป็นการไม่ปฏิบัติตามมาตรา 82 หรือฝ่าฝืน ข้อห้ามตามมาตรา 83 อันเป็นเหตุให้เสียหายแก่ราชการอย่างร้าย 8. ละเว้นการกระทำใด ๆ อันเป็นการไม่ปฏิบัติตามมาตรา 80 วรรคสอง มาตรา 82 (11) หรือ ฝ่าฝืนข้อห้ามตามมาตรา 83 (10) ที่มีกฎ ก.พ.กำหนดให้เป็นความผิดวินัยอย่างร้ายแรง

  33. บริการประทับใจ 6. อ่อนหวานน่ารัก 7. ไม่สักแต่ทำ 8. น้ำคำไพเราะ 9. เหมาะสมสถานที่ 10. ไม่มีนอกใน 1. ยิ้มแย้มแจ่มใส 2. เต็มใจช่วยเหลือ 3. ไม่เบื่อคำถาม 4. ฟังความครบถ้วน 5. รีบด่วนบริการ

  34. บริการยอดแย่ 6. ล้าสมัย 7. ไม่แน่ชัด 8. ปัดสวะ 9. ละเลย 10. เฉยชา 1. ปากหมา 2. หน้ายักษ์ 3. ตักตวง 4. ถ่วงเรื่อง 5. เชื่องช้า

  35. วินัยต่อผู้บังคับบัญชาวินัยต่อผู้บังคับบัญชา • ปฏิบัติตามคำสั่ง (ม.88) • ไม่กระทำการข้ามผู้บังคับบัญชา • ( ม.89) • ไม่รายงานเท็จ(ม.90)

  36. วินัยต่อผู้ร่วมงาน ( ม. 93) • สุภาพเรียบร้อย • รักษาความสามัคคี • ช่วยเหลือกันในหน้าที่ • ไม่กลั่นแกล้งกัน

  37. วินัยต่อตำแหน่งหน้าที่ราชการวินัยต่อตำแหน่งหน้าที่ราชการ • ซื่อสัตย์สุจริต (ม. 82) • แห่งพระราชบัญญัตระเบียบข้าราชการ • พลเรือน พ.ศ. 2535

  38. ซื่อสัตย์สุจริต • ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความซื่อสัตย์ สุจริต • และเที่ยงธรรม • ไม่อาศัยอำนาจหน้าที่ราชการ หาประโยชน์ให้ • แก่ตนเองหรือผู้อื่น • ไม่ทุจริตต่อหน้าที่ราชการ

  39. การทุจริตต่อหน้าที่ราชการการทุจริตต่อหน้าที่ราชการ องค์ประกอบ 1. มีหน้าที่ราชการที่จะต้องปฏิบัติ 2. ปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่ โดยมิชอบ 3. เพื่อให้ตนเองหรือผู้อื่นได้ประโยชน์ที่มิควรได้

  40. วินัยต่อตำแหน่งหน้าที่ราชการ (ต่อ) 2. ตั้งใจปฏิบัติหน้าที่ให้เกิดผลดี / ความก้าวหน้าแก่ราชการ (ม. 83) 3. ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความอุตสาหะ เอาใจใส่ ระมัดระวังรักษาประโยชน์ ของทางราชการ/ไม่ประมาทเลินเล่อ (ม. 84) 4. ปฏิบัติหน้าที่ให้เป็นไปตามกฎหมาย ระเบียบ มติ ค.ร.ม. และนโยบายรัฐบาล โดยไม่เสียหายแก่ราชการ ( ม. 85)

  41. วินัยต่อตำแหน่งหน้าที่ราชการ (ต่อ) 5. รักษาความลับของทางราชการ (ม.87) 6. ปฏิบัติตามระเบียบและแบบธรรมเนียมของทางราชการ และจรรยาบรรณตามที่ ก.พ. กำหนด 7. อุทิศเวลาให้แก่ราชการ (ม. 92 ) 8. ไม่หาประโยชน์อันอาจทำให้เสียความเที่ยงธรรม หรือเสื่อมเสียเกียรติศักดิ์ของตำแหน่งหน้าที่ (ม. 95 ) 9. ไม่เป็นกรรมการผู้จัดการ หรือผู้จัดการ ในห้างหุ้นส่วนหรือบริษัท ( ม. 96 ) 10. วางตนเป็นกลางทางการเมือง ( ม. 97 )

  42. วินัยต่อตนเอง • ไม่เป็นผู้ประพฤติชั่ว (ม.98) • ต้องรักษาชื่อเสียงของตน • ต้องรักษาเกียรติศักดิ์ของตำแหน่งหน้าที่ ราชการของตนมิให้เสื่อมเสีย • โดยไม่กระทำการใด ๆ อันได้ชื่อว่าเป็นผู้ประพฤติชั่ว ประพฤติชั่วอย่างร้ายแรง/กระทำผิดอาญา จนได้รับโทษจำคุก เป็นความผิดวินัยอย่างร้ายแรง

  43. แนวทางการพิจารณาเรื่อง “ประพฤติชั่ว” • เสียเกียรติของตำแหน่งหน้าที่การงาน • สังคมรังเกียจ • กระทำโดยเจตนา

  44. ความผิดทางวินัย • ไม่มีอายุความ • การลงโทษต้องดำเนินกระบวนการตามกฎหมาย • ผู้สั่งลงโทษต้องเป็นผู้บังคับบัญชาที่มีอำนาจลงโทษได้ • สภาพการเป็นข้าราชการ • - ขณะกระทำผิด • - ขณะลงโทษ

  45. หลักประกันความเป็นมืออาชีพหลักประกันความเป็นมืออาชีพ ให้มีคณะกรรมการพิทักษ์ระบบคุณธรรม (ก.พ.ค.) แยกองค์กรออกกฎกับตรวจกฎ องค์กรบังคับใช้กฎกับรับร้องทุกข์องค์กรสั่งลงโทษกับอุทธรณ์ อำนาจหน้าที่ หลักประกันความเป็นธรรม กรอบการพิจารณา หลักประกันความเป็นอิสระในการใช้ดุลพินิจของ ก.พ.ค. • คุณสมบัติ:เทียบเท่าตุลาการศาลปกครองชั้นต้น • ทำงานเต็มเวลา การวางมาตรการพิทักษ์ระบบคุณธรรม • ระยะเวลาสูงสุดของการพิจารณาอุทธรณ์๑๒๐+๖๐+๖๐ วัน • ทุกข์ที่เกิดจากปลัดกระทรวง,รมต.หรือ นรม.ให้ร้องต่อ ก.พ.ค. • ก.พ.ค.มีมติประการใดให้ผู้บังคับบัญชาดำเนินการนั้น • ไม่พอใจ ฟ้องศาลปกครองสูงสุดได้ • ที่มา:คกก.คัดเลือก • ประธานศาลปกครองสูงสุด • รองประธานศาลฎีกา • กรรมการ ก.พ. ผู้ทรงคุณวุฒิ • เลขาธิการ ก.พ. • ลักษณะต้องห้าม - เป็น ขรก.พนง.ของรัฐ ผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง ฯลฯ • วาระ: ๖ ปีเป็นได้ครั้งเดียว • ฝ่ายบริหารปลดไม่ได้ • ลธ.กพ.เป็นเพียงเลขานุการ • กำกับตรวจสอบให้การบริหาร “คน” เป็นไปตามระบบคุณธรรม • กำกับตรวจสอบความชอบกฎหมายของกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ คำสั่งของ ก.พ./สรก./ผบ. • พิจารณาวินิจฉัยอุทธรณ์และเรื่องร้องทุกข์ • หลักการพื้นฐาน • พ.ร.บ./กฎหมายลูกบท

  46. ปรีชา นิศารัตน์ ที่ปรึกษาระบบราชการ สำนักงาน ก.พ. โทร . (02) 547-1602 (081) 829-0695

More Related