1 / 15

กระบวนการกำหนดนโยบายสาธารณะ

กระบวนการกำหนดนโยบายสาธารณะ. กระบวนการนโยบาย มี 3 ขั้นตอนหลักๆ 1. การกำหนดนโยบาย ( policy making) ประกอบด้วย 1.1 การก่อตัวของนโยบายหรือการจัดตั้งประเด็นวาระเชิงนโยบาย( policy formation หรือ agenda setting) 1.2 การจัดทำหรือการร่างนโยบาย (policy formulation)

Download Presentation

กระบวนการกำหนดนโยบายสาธารณะ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. กระบวนการกำหนดนโยบายสาธารณะกระบวนการกำหนดนโยบายสาธารณะ

  2. กระบวนการนโยบาย มี 3 ขั้นตอนหลักๆ 1. การกำหนดนโยบาย (policy making)ประกอบด้วย 1.1 การก่อตัวของนโยบายหรือการจัดตั้งประเด็นวาระเชิงนโยบาย(policy formation หรือ agenda setting) 1.2 การจัดทำหรือการร่างนโยบาย (policy formulation) 1.3 การตัดสินใจหรือการรับนโยบาย (decision making or policy adoption) 1.4 การทำให้นโยบายชอบด้วยกฎหมาย (legitimation) 2. การนำนโยบายไปปฏิบัติ (policy implementation) 3. การประเมินผลนโยบาย (policy evaluation)

  3. 1. การกำหนดนโยบาย (policy making) 1.1 การก่อตัวของนโยบายหรือการจัดตั้งประเด็นวาระเชิงนโยบาย(policy formation หรือ agenda setting) - เกิดปัญหา ต้องมี - ปัญหาเชิงนโยบาย หมายถึง - - ความต้องการ (need) - - ความขาดแคลน - - ความไม่พอใจ - ผู้แสวงหาแนวทางแก้ไข - - ผู้ประสบปัญหา - - ตัวแทน - ต้องเป็นปัญหาที่มีความรุนแรง - - ก่อให้เกิดความวิตกกังวล - - ความเครียด - - ความไม่พอใจเพียงพอ - - เป็นปัญหาของสาธารณะมิใช่บุคคล

  4. 1. การกำหนดนโยบาย (policy making) 1.1 การก่อตัวของนโยบายหรือการจัดตั้งประเด็นวาระเชิงนโยบาย(policy formation หรือ agenda setting) 1.1.1 ปัญหาเชิงนโยบาย หมายถึง หัวข้อหรือปัญหาที่มีความสำคัญมากพอที่จะได้รับการแก้ไขโดยรัฐบาล หรือดึงดูดความสนใจผู้กำหนดนโยบาย - ผู้ใดควบคุม - - สามารถกำหนดทิศทางนโยบาย - ปัญหา - - ข้อเสนอแนะหรือประเด็นทางนโยบาย - - มีการแข่งขัน - ปัญหาเชิงนโยบายของสังคมโดยทั่วไป / ปัญหาเชิงนโยบายที่เป็นทางการ - ผู้มีบทบาทกำหนดนโยบาย - - IG - - ผู้นำ / ชนชั้นนำ - - สถาบันของรัฐ

  5. การกำหนดนโยบาย (policy making) 1.1 การก่อตัวของนโยบายหรือการจัดตั้งประเด็นวาระเชิงนโยบาย(policy formation หรือ agenda setting) 1.1.2 การขยายตัวของปัญหาไปสู่ปัญหาเชิงนโยบาย • ปัญหาจะถูกนำเป็นปัญหาเชิงนโยบาย 1)ปัญหาสอดคล้องกับกลุ่มที่มีความสำคัญ (กลุ่ม –อำนาจ – สถานภาพ – จำนวน) 2)สอดคล้องกับนโยบายหลักของผู้นำ 3)ประชาชนสนใจ - -สื่อ

  6. 1. การกำหนดนโยบาย (policy making) 1.2 การเตรียมเสนอร่างนโยบาย • ผู้ที่มีส่วนในการเตรียมร่าง ได้แก่ 1) ผู้กำหนดนโยบายที่เป็นทางการ 2) ที่ปรึกษาทางการเมือง 3) กลุ่มผลประโยชน์

  7. 1. การกำหนดนโยบาย (policy making) 1.2 การเตรียมเสนอร่างนโยบาย • มีกิจกรรมย่อยๆ ดังนี้ 1) การจัดระเบียบวาระและเปิดให้มีการอภิปราย (input) 2) การสำรวจสถานการณ์ - - นำไปสู่การเลือกแนวทางการจัดทำข้อเสนอนโยบาย - - กำหนดนโยบายขึ้นใหม่ - - หรือปรับปรุงนโยบายเดิม 3) กำหนดทางเลือก - - ตั้งสมมุติฐานจากการเก็บ/วิเคราะห์ข้อมูล - - อุปสรรค ข้อมูลครอบคลุม - - การสนับสนุน / ขัดแย้ง - - สอดคล้องกับพฤติกรรม - - สอดคล้องกับเวลาและสถานการณ์ 4) กำหนดแนวทางการกระทำหรือกิจกรรม

  8. 1. การกำหนดนโยบาย (policy making) 1.3 การกำหนดเป็นนโยบาย - ตัดสินใจเลือก/ปฏิเสธทางเลือก - ผู้กำหนดนโยบาย 1) ฝ่ายนิติบัญญัติ 2) ฝ่ายบริหาร

  9. 1. การกำหนดนโยบาย (policy making) 1.3 การกำหนดเป็นนโยบาย • การตัดสินใจเลือกนโยบาย (decision making) => เกณฑ์การตัดสินใจ (1) ทางเลือกต้องเป็นข้อเสนอที่แก้ไขปัญหาได้ดีที่สุด (2) เป็นไปได้มากที่สุด (3) อยู่ในขอบเขตที่ทำได้

  10. 1. การกำหนดนโยบาย (policy making) 1.3 การกำหนดเป็นนโยบาย • การตัดสินใจเลือกนโยบาย (decision making) => องค์ประกอบการตัดสินใจ (1) ผู้ทำหน้าที่ตัดสินใจ (2) เป้าหมาย (3) ทางเลือก (4) สภาวะแวดล้อม

  11. 1. การกำหนดนโยบาย (policy making) 1.3 การกำหนดเป็นนโยบาย • การตัดสินใจเลือกนโยบาย (decision making) => ทฤษฎีการตัดสินใจ (1) ทฤษฎีการตัดสินใจตามหลักเหตุผล (rational comprehensive decision making) (2) ทฤษฎีการตัดสินใจแบบค่อยเป็นค่อยไป (incremental decision making) (3) ทฤษฎีการตัดสินใจแบบผสมผสาน (mixed scanning)

  12. 1. การกำหนดนโยบาย (policy making) 1.3 การกำหนดเป็นนโยบาย • การตัดสินใจเลือกนโยบาย (decision making) =>เกณฑ์การตัดสินใจ (1) ค่านิยม - - ทางการเมือง - - ในองค์การ - - ส่วนบุคคล - - นโยบาย - - อุดมการณ์ (2) ความผูกพันต่อพรรคการเมือง (3) ผลประโยชน์ของผู้เลือกตั้ง (4) มติมหาชน

  13. 1. การกำหนดนโยบาย (policy making) 1.3 การกำหนดเป็นนโยบาย • การตัดสินใจเลือกนโยบาย (decision making) => รูปแบบของการตัดสินใจ (1) ต่อรอง (2) ชักชวน (3) ออกคำสั่ง

  14. 1. การกำหนดนโยบาย (policy making) 1.4 การประกาศเป็นนโยบาย • ประกาศให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องดำเนินการ - - รูปธรรม • ประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนทราบและปฏิบัติตาม • ช่องทาง - - แถลงการณ์ - - สื่อ - - สิ่งพิมพ์รัฐบาล

  15. THANK YOU BYE BYE

More Related