1 / 14

“ทิศทางธุรกิจโลจิสติกส์ไทย กับการก้าวสู่ประชาคมอาเซียน ”

“ทิศทางธุรกิจโลจิสติกส์ไทย กับการก้าวสู่ประชาคมอาเซียน ”. โดย ดร.ธนิต โสรัตน์ รองประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย วันที่ 12 ตุลาคม 2555. www.tanitsorat.com. ปี 2553. ปี 2558. ภาษี 0%. ลดภาษีตามลำดับ. ภาษี 0%. อาเซียน - 6. เวียดนาม ลาว พม่า กัมพูชา.

Download Presentation

“ทิศทางธุรกิจโลจิสติกส์ไทย กับการก้าวสู่ประชาคมอาเซียน ”

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. “ทิศทางธุรกิจโลจิสติกส์ไทยกับการก้าวสู่ประชาคมอาเซียน”“ทิศทางธุรกิจโลจิสติกส์ไทยกับการก้าวสู่ประชาคมอาเซียน” โดย ดร.ธนิต โสรัตน์ รองประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย วันที่ 12 ตุลาคม 2555 www.tanitsorat.com

  2. ปี 2553 ปี 2558 ภาษี 0% ลดภาษีตามลำดับ ภาษี 0% อาเซียน - 6 เวียดนาม ลาว พม่า กัมพูชา เศรษฐกิจไทยภายใต้ AEC ปี 2015 เขตประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนจุดเปลี่ยนประเทศไทย การเป็นฐานการผลิตร่วมกัน Customs Union & Co-Production “ ขจัดภาษีนำเข้าสินค้าทุกรายการ ” ส่งออกสินค้าไปอาเซียน ไม่ต้องเสียภาษีนำเข้า ที่มา: กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ 2 www.tanitsorat.com

  3. AEC กับธุรกิจบริการโลจิสติกส์ของคนไทยแข่งขันได้หรือไม่...??? เมื่อเข้าสู่ AEC ธุรกิจผู้ให้บริการโลจิสติกส์ของไทย เป็นกลุ่มธุรกิจที่มีความเปราะบางมากที่สุด เกือบทั้งหมดเป็น SMEs มีเพียงธุรกิจขนาดกลางที่เป็นของคนไทยมีน้อยมาก ขาดความสามารถในการแข่งขันและขาดโอกาสในการเข้าถึงประโยชน์ของการเข้าสู่ AEC ไม่สามารถตอบสนองความต้องการที่หลากหลายและงานให้บริการสมัยใหม่ โดยเฉพาะกับ บริษัทข้ามชาติทั้งของไทยและต่างชาติที่งานบริการมีความซับซ้อน การแข่งขันในธุรกิจบริการโลจิสติกส์ มีความรุนแรงและจะมีมากขึ้นเมื่อมีการเข้าสู่ AEC www.tanitsorat.com

  4. ธุรกิจในภาคบริการโลจิสติกส์Business In Logistics Service Provider (LSP) ที่มา : ดร.ธนิต โสรัตน์

  5. ขีดความสามารถในการแข่งขันของ LSP ไทยต่ำกว่าระดับปานกลาง การบริหารจัดการไม่เป็นสากล ขาดบุคลากรที่มีความสามรถ ส่วนใหญ่เป็นธุรกิจขนาดเล็ก การบริหารแบบครอบครัว ทำให้มีข้อจำกัดในการให้บริการบริษัทข้ามชาติ ไม่สามารถให้บริการแบบครบวงจร (Integrated Logistics Service Provider) เชี่ยวชาญงานเฉพาะด้านและมีขีดจำกัดในการให้บริการ ส่วนใหญ่แยกการให้บริการเป็นแต่ละส่วนงานโลจิสติกส์ ขาดความสะดวกและยุ่งยากในการใช้บริการ ขาดเครือข่ายไม่สามารถให้บริการในลักษณะที่เป็น Door to Door Service เพราะขาดเครือข่ายทั้งในประเทศและต่างประเทศ Non-Asset Logistics Service เป็นผู้ให้บริการที่ไม่มีคลังสินค้า รถบรรทุก เครื่องมืออุปกรณ์ในการให้บริการ ทำให้รับงานได้เฉพาะงานให้บริการพื้นฐาน เช่น งานชิปปิ้ง งานตัวแทนหรือนายหน้า งานเอกสาร เป็นต้น ต้นทุนต่อหน่วยสูงทำให้แข่งขันไม่ได้ เพราะขาดอำนาจต่อรอง และต้องไปว่าจ้าง Subcontract ขาดโอกาสในการเข้าถึงแหล่งทุนราคาถูก เพราะไม่มีหลักประกันและระบบบัญชีไม่น่าเชื่อถือ มีข้อจำกัดในการเข้าเป็นโซ่อุปทานกับคู่ค้า การพัฒนาขาดความเชื่อมโยงกันระหว่างภาคการผลิตกับภาคผู้ให้บริการ โลจิสติกส์ การพัฒนาที่ผ่านมา ด้านผู้ให้บริการกับผู้ใช้บริการไม่มีการเชื่อมโยง การพัฒนาเป็นแบบคู่ขนาน ขาดการบูรณาการและขาดองค์กรกลางที่เข้มแข็ง สมาคมที่เกี่ยวข้องกับผู้ให้บริการโลจิสติกส์มีอยู่เป็นจำนวนมาก ต่างดำเนินธุรกรรมโดยไม่เชื่อมโยงกัน ขาดการพัฒนาและภาครัฐไม่เข้าใจ ตามตัวเลขของกระทรวงพาณิชย์ แจ้งว่ามีผู้ประกอบการเกือบ 20,000 ราย ธุรกิจเหล่านี้แข่งขันไม่ได้ จำเป็นจะต้องมียุทธศาสตร์ มีเจ้าภาพอย่างแท้จริง www.tanitsorat.com

  6. Logistics Service Big Playerแบ่งตามศักยภาพการแข่งขัน www.tanitsorat.com

  7. ภาคอุตสาหกรรมต้องการอะไรจากธุรกิจบริการโลจิสติกส์What Customer Need From Service Provider? Responsiveness ความสามารถในการสนองความต้องการที่หลากหลายและซับซ้อนรวมทั้งการมีนวัตกรรมและเทคโนโลยีที่ทันสมัยในการให้บริการ (Innovation Technology) อันเกิดจากสภาวะแข่งขันและการลดต้นทุนของลูกค้าในรูปแบบต่างๆ เช่น Zero Stock Management / VMI Logistics/LEAN Production/ Just in Sequent Delivery/ Kamban / Milk Run Delivery etc. Reliabilityความน่าเชื่อถือเกี่ยวข้องกับความเชื่อมั่นที่มีต่อผู้ให้บริการ เกี่ยวข้องกับมาตรฐานการทำงาน (Standardization) การบริหารจัดการที่ทันสมัยและการพัฒนาบุคลากร (HRD) ความเป็นมืออาชีพ การบริหารความเสี่ยง (Risk Management) การดำเนินธุรกิจต่อเนื่องภายใต้วิกฤตต่างๆ (BCM) การเป็นที่รู้จักและน่าเชื่อถือ (Brand & Profile) Reduction ขีดความสามารถในการลดเวลา ลดบุคคลากร ลดงาน ลดต้นทุน เกี่ยวข้องกับความสามารถในการทำงานหรือการให้บริการ เกี่ยวข้องกับทักษะของผู้ปฏิบัติงาน ประสบการณ์ในงานที่เกี่ยวข้อง ความพร้อมของอุปกรณ์เครื่องใช้ เครื่องมือ วัสดุที่เกี่ยวข้อง Responsibilityความรับผิดชอบต่อความเสียหาย ความรับผิดชอบทางกฎหมาย ความรับผิดชอบทางสังคม ความรับผิดชอบด้านสิ่งแวดล้อม Reclaim การเรียกกลับความเสียหาย เกี่ยวข้องกับความสามารถในการชดใช้ค่าเสียหายจากความเสียหายที่เกิดขึ้น Reasonably Price ค่าบริการที่มีเหตุผลและแข่งขันได้ www.tanitsorat.com

  8. การเตรียมพร้อมของธุรกิจบริการโลจิสติกส์ (ไทย)ภายใต้ AEC VISSION: วิสัยทัศน์ เห็นโอกาสและความท้าทายภายใต้ AEC SWOT : วิเคราะห์ศักยภาพของธุรกิจ(จุดแข็งและจุดอ่อน) BUSINESS DIRECTION: กำหนดทิศทางธุรกิจให้ชัดเจนว่าจะไปทางไหน STRATEGY: กำหนดยุทธศาสตร์ของธุรกิจในการเพิ่มขีดความสามารถ ในการแข่งขัน PROFESSIONAL IN BUSINESS : ความเป็นมืออาชีพในธุรกิจ INTERNATIONAL COMPETTITIVENESS : สามารถแข่งขันได้ในระดับนานาชาติ www.tanitsorat.com

  9. แนวทางการส่งเสริมพัฒนาภาคบริการโลจิสติกส์ให้สามารถแข่งขันและเข้าถึงโอกาสภายใต้ AEC • การส่งเสริมและสนับสนุนให้ภาคเอกชนไทยมีขีดความสามารถในการแข่งขัน : Competitiveness • ผู้ประกอบการไทยส่วนใหญ่เป็น SMEs ให้บริการโลจิสติกส์เพียงด้านใดด้านหนึ่งเท่านั้น • ภายใต้การเปิด AEC หากจะให้สามารถแข่งขันได้ จำเป็นจะต้องมีการรวมกลุ่มกันให้บริการแบบ Integrated Logistics Service Provider เพื่อให้สามารถให้บริการ โลจิสติกส์ได้แบบครบวงจร • สนับสนุนให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องสร้าง LSP Best Practice Model • ส่งเสริมให้มีการประกวดหรือให้รางวัลประกาศเกียรติคุณ ซึ่งจะทำให้เกิดมีการพัฒนาและก่อให้เกิดขีดความสามารถในการแข่งขัน • การให้สามารถเข้าถึงแหล่งทุนต้นทุนต่ำ www.tanitsorat.com

  10. แนวทางการส่งเสริมพัฒนาภาคบริการโลจิสติกส์ให้สามารถแข่งขันแนวทางการส่งเสริมพัฒนาภาคบริการโลจิสติกส์ให้สามารถแข่งขัน และเข้าถึงโอกาสภายใต้ AEC 2. การยกระดับผู้ให้บริการโลจิสติกส์เป็นคลัสเตอร์: Cluster Logistics Service • การส่งเสริมและอำนวยความสะดวกให้กับผู้ให้บริการโลจิสติกส์ของไทยในการจับคู่ธุรกิจ ระหว่างผู้ประกอบการไทยด้วยกันเอง เพื่อทำให้สามารถรับงานได้ครบวงจร • สภาโลจิสติกส์แห่งชาติ ภายใต้การขาดเอกภาพ รวมทั้งระดับการพัฒนาของแต่ละสมาคมที่แตกต่างกัน ไม่ได้ช่วยแก้ปัญหาในด้านขีดความสามารถในการแข่งขัน • ในระยะยาวหากจะพัฒนาผู้ให้บริการโลจิสติกส์ไทยให้เข้มแข็งจะต้องมีการยกระดับเป็นสภาโลจิสติกส์แห่งชาติ ซึ่งจะต้องมีการออก พ.ร.บ.มารองรับ • การส่งเสริมให้ LSP เป็นส่วนหนึ่งในโซ่อุปทานของผู้ผลิต ภาคบริการโลจิสติกส์ไม่สามารถแยกการพัฒนาต่างหากออกจากการผลิตได้ www.tanitsorat.com

  11. แนวทางการส่งเสริมพัฒนาภาคบริการโลจิสติกส์ให้สามารถแข่งขันแนวทางการส่งเสริมพัฒนาภาคบริการโลจิสติกส์ให้สามารถแข่งขัน และเข้าถึงโอกาสภายใต้ AEC 3. การส่งเสริมและอำนวยความสะดวกของผู้ประกอบโลจิสติกส์ในการลงทุนในต่างประเทศ: AEC Opportunity • ผู้ประกอบการไทยขาดกลยุทธ์ ขาดความเข้าใจและการไม่สามารถเข้าถึงโอกาสการเข้าสู่ AEC • ภายใต้การเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน หน่วยงานของรัฐ เช่น BOI กระทรวงพาณิชย์ กระทรวงอุตสาหกรรม กระทรวงเกษตร กระทรวงคมนาคม ฯลฯ จึงควรร่วมมือกันด้วยการ ส่งเสริมผู้ประกอบการไปลงทุนในประเทศเพื่อนบ้าน • ส่งเสริมจับคู่ธุรกิจกับผู้ร่วมทุนในต่างประเทศ โดยเฉพาะในอาเซียน เพื่อให้สามารถเข้าถึงการเปิดเสรีด้านการลงทุนของ AEC ในปี พ.ศ.2558 www.tanitsorat.com

  12. แนวทางการส่งเสริมพัฒนาภาคบริการโลจิสติกส์ให้สามารถแข่งขันแนวทางการส่งเสริมพัฒนาภาคบริการโลจิสติกส์ให้สามารถแข่งขัน และเข้าถึงโอกาสภายใต้ AEC 4. การสร้างเครือข่ายโซ่อุปทานด้านโลจิสติกส์ :Supply Chain Network • ส่งเสริมให้เกิดการเชื่อมโยงในโซ่อุปทานด้านโลจิสติกส์ของกลุ่มประเทศอาเซียนให้มีความเข้มแข็ง • สนับสนุนให้มีการจัดงาน AEC Logistics Fair ในประเทศเพื่อนบ้าน เพื่อให้ภาคบริการโลจิสติกส์ไทยสามารถออกไปเสนอบริการกับลูกค้าโดยตรงในกลุ่มประเทศอาเซียน • Business Matching การได้พบปะจับคู่ธุรกิจกับผู้ประกอบการในอาเซียน เพื่อเป็นการพัฒนาเครือข่ายโซ่อุปทานด้านโลจิสติกส์ www.tanitsorat.com

  13. กุญแจแห่งความสำเร็จของผู้ประกอบการเพื่อสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันกุญแจแห่งความสำเร็จของผู้ประกอบการเพื่อสร้างขีดความสามารถในการแข่งขัน CHANGE : การปรับเปลี่ยนเริ่มที่พัฒนาคนการบริหารจัดการและความโปร่งใส CORE BUSSINESS :ชัดเจนในจุดแข็งของธุรกิจ SERVICE PRODUCT : สร้างหรือหาให้พบถึงผลิตภัณฑ์บริการที่มีขีดความสามารถในการแข่งขัน NICHE MARKET : ทำการตลาดแบบเฉพาะเจาะจงรวมทั้ง Brand, Innovation, Technology NETWORK PARTNERSHIP : สร้างพันธมิตรเครือข่ายโซ่อุปทาน INTERNATIONAL STANDARD : คุณภาพและมาตรฐานทำงานในระดับนานาชาติ COMPATIBLE PRICE : ราคาที่สามารถแข่งขันได้ RISK MANAGEMENT : การบริหารความเสี่ยงภายใต้สภาวะการแข่งขันและการต่อเนื่องของธุรกิจ (BMC) www.tanitsorat.com

  14. END ข้อมูลเพิ่มเติมที่ www.tanitsorat.com

More Related