1 / 41

ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy

ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy. ทฤษฎีเศรษฐศาสตร์สำนักคลาสสิก (Classical Theory). Classical period. Adam Smith : The Nation of Wealth ( 1776 ) David Ricardo : Principles of Political Economy ( 1817 ) John Stuart Mill : Principles of Political Economy ( 1848 ).

gail-zamora
Download Presentation

ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ทฤษฎีและนโยบายการเงินMonetary Theory and Policy ทฤษฎีเศรษฐศาสตร์สำนักคลาสสิก (Classical Theory)

  2. Classical period • Adam Smith : The Nation of Wealth ( 1776 ) • David Ricardo : Principles of Political Economy ( 1817 ) • John Stuart Mill : Principles of Political Economy ( 1848 ) • Alfred Marshall : Principles of Economics ( 1920 ) • A.C.Pigou : The Theory of Unemployment ( 1933 ) Neoclassical period

  3. เงินเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนเท่านั้น เงินมิได้แสดงฐานะความมั่งคั่งของประเทศ ฐานะของประเทศต้องวัดด้วยปริมาณของทรัพยากรที่มีอยู่และของสินค้าและบริการที่ผลิตขึ้นมาได้ • ปัจจัยที่แท้จริงเป็นตัวกำหนดตัวแปรที่แท้จริง ปัจจัยทางการเงินไม่มีบทบาทใดๆต่อการกำหนดตัวแปรที่แท้จริง เพราะเงินทำหน้าที่สื่อกลางในการแลกเปลี่ยนเท่านั้น • เศรษฐกิจดำเนินโดยเสรี ปราศจากการแทรกแซงของรัฐ

  4. Y N 0 N1 N2 การกำหนดการจ้างงานและผลผลิต

  5. MPL MPL N 0 N1 N2 Marginal Physical Product of Labor

  6. Assume : ตลาดผลผลิตเป็นตลาดแข่งขันสมบูรณ์ • Marginal Cost = Marginal Revenue ( MC = MR ) • Competitive Market : MR = P • ในกรณีที่แรงงานเป็นปัจจัยเดียวที่ผันแปรได้ : MC = Marginal Labor Cost • Marginal Labor Cost = อัตราค่าแรงที่เป็นตัวเงินหารด้วยผลผลิตที่ได้เพิ่มขึ้นจากการเพิ่มแรงงานหนึ่งหน่วย ( MPL )

  7. ค่าแรงที่แท้จริง ( Real Wage )

  8. W/P ND N 0

  9. W/P NS N 0

  10. Y Y N 0 W ( W / P )0 N0 W/P NS W0 (W/P)0 ND P 0 0 N0 N P0

  11. การกำหนดระดับราคาสินค้าการกำหนดระดับราคาสินค้า • Irving Fisher ( 1911 ) – The Equation of Exchange • M : ปริมาณเงินที่มีอยู่ในระบบเศรษฐกิจ • VT : จำนวนครั้งโดยเฉลี่ยที่เงินถูกใช้จ่ายในการแลกเปลี่ยนทุกชนิด อัตราการเปลี่ยนมือของเงิน ( Turnover Rate of Money ) • PT : ดัชนีราคาของรายการแลกเปลี่ยนทุกชนิด • T : ดัชนีปริมาณของรายการแลกเปลี่ยนทุกชนิด

  12. Y MVY P อุปทานของเงินถูกกำหนดโดยธนาคารกลาง

  13. การกำหนดอัตราดอกเบี้ยการกำหนดอัตราดอกเบี้ย • อัตราดอกเบี้ยที่เกิดขึ้นในภาวะดุลยภาพในระยะยาวถูกกำหนดโดยปัจจัยที่แท้จริงเท่านั้น ปัจจัยดังกล่าวคือ ความมัธยัสถ์ของประชาชน ( กำหนดการออมที่แท้จริง ) และผลิตภาพของทุนเป็นเครื่องกำหนดการลงทุนที่แท้จริงในระบบเศรษฐกิจ

  14. r S r0 I 0 S0 , I0 S , I

  15. r i S SF r0 i0 DF I S0 , I0 S , I SF , IF 0 0 SF0 , IF0 ตลาดทุน

  16. บทบาทของเงินระยะยาว • การเพิ่มขึ้นในอุปทานของเงิน • การเพิ่มขึ้นในอุปทานของแรงงาน • การเพิ่มขึ้นในอุปสงค์ต่อแรงงาน

  17. สรุปจากสามกรณี • การเปลี่ยนแปลงปริมาณเงินไม่ส่งผลต่อตัวแปรที่แท้จริง “เงินมีความเป็นกลาง” –Classical Dichotomy • ระดับการเปลี่ยนแปลงของปัจจัยที่แท้จริงอาจส่งผลต่อตัวแปรที่เป็นตัวเงิน – บทกลับของ Classical Dichotomy ไม่เป็นจริง

  18. บทบาทของเงินในระยะสั้นบทบาทของเงินในระยะสั้น • ในระยะสั้นเงินมีความไม่เป็นกลาง ( Money is Nonneutral ) : การเปลี่ยนแปลงในปริมาณเงินอาจก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในตัวแปรที่แท้จริงในช่วงเวลาปรับตัว เป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้เกิดการเคลื่อนไหวขึ้นๆลงๆในกิจกรรมทางเศรษฐกิจ เกิดวัฏจักรของธุรกิจ • กลไกโดยตรง - David Hume and Richard Cantillon • กลไกโดยอ้อม – Henry Thornton

  19. กลไกโดยตรง • ปริมาณเงินที่ประชาชนต้องการถือกับอัตราการใช้จ่าย และกับระดับทรัพย์สินหรือรายได้เป็นความสัมพันธ์ที่มีเสถียรภาพ • ปริมาณเงินที่ถืออยู่จริงเพิ่มขึ้นเกินกว่าความต้องการ จะเกิดการใช้จ่ายส่วนเกินที่ถือครองนี้ออกไป อุปสงค์รวมเพิ่มขึ้น ระดับราคาสินค้าสูงขึ้น มูลค่าที่แท้จริงของปริมาณเงินลดลง จนทำให้ปริมาณเงินที่ถืออยู่จริงเท่ากับปริมาณที่ต้องการอีกครั้ง

  20. Y Y0 M* VY M VY P P0 P1

  21. กลไกโดยอ้อม • อธิบายโดยการเปลี่ยนแปลงของอัตราดอกเบี้ย • ระบบธนาคารพาณิชย์ – อัตรากำไรทางพาณิชย์ ( The Rate of Mercantile Profit ) – อัตราดอกเบี้ยตามธรรมชาติ ( Natural Rate of Interest ) • สาเหตุที่เกิดความผันผวนในระบบเศรษฐกิจในระยะสั้น

  22. ทฤษฎีและนโยบายการเงินMonetary Theory and Policy ทฤษฎีปริมาณเงิน

  23. ทฤษฎีปริมาณเงินอย่างหยาบThe Crude Quantity Theory of Money • แนวคิดของ Jen Bodin– การเพิ่มปริมาณเงินจะทำให้ค่าของเงินลดลง ระดับราคาสูงขึ้น • David Hume – ( Of Money 1752 ) ความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณเงินและระดับราคาเป็นความสัมพันธ์กันโดยตรงและเป็นสัดส่วนกัน • คนต้องการเงินเพราะเงินมีอำนาจซื้อ ( ไม่ใช่เพื่อตัวมันเองหรือการสะสมมูลค่า )

  24. ทฤษฎีปริมาณเงินของเออร์วิง ฟิชเชอร์ • สมการการแลกเปลี่ยน • ปัจจัยที่กำหนดตัวแปรต่างๆที่อยู่ในสมการแลกเปลี่ยน • รูปแบบของทฤษฎีปริมาณเงินซึ่งดัดแปลงมาจากสมการการแลกเปลี่ยน • อิทธิพลของเงินที่มีต่อกิจกรรมทางเศรษฐกิจในระยะสั้น

  25. สมการการแลกเปลี่ยน

  26. ปัจจัยที่กำหนดตัวแปรต่างๆที่อยู่ในสมการแลกเปลี่ยนปัจจัยที่กำหนดตัวแปรต่างๆที่อยู่ในสมการแลกเปลี่ยน • ปริมาณเงิน ( M ) • อัตราการหมุนเวียนของเงิน ( VT ) • นิสัยของประชาชน • ระบบการชำระเงินในสังคม • ปัจจัยอื่นๆ • ระดับราคา ( PT ) • ปริมาณของรายการแลกเปลี่ยน ( T )

  27. รูปแบบของทฤษฎีปริมาณเงินซึ่งดัดแปลงมาจากสมการการแลกเปลี่ยนรูปแบบของทฤษฎีปริมาณเงินซึ่งดัดแปลงมาจากสมการการแลกเปลี่ยน • ทฤษฎีปริมาณเงิน : รูปแบบรายการแลกเปลี่ยน ( The Quantity Theory : The Transaction Approach ) • ทฤษฎีปริมาณเงิน : รูปแบบรายได้ ( The Quantity Theory : The Income Approach )

  28. The Transaction Approach ( ข้อสมมติ ) • การเปลี่ยนแปลงในปริมาณเงินไม่มีผลกระทบต่ออัตราการหมุนเวียนของเงิน • การเปลี่ยนแปลงในปริมาณเงินไม่ได้มีผลกระทบต่อปริมาณของรายการแลกเปลี่ยน • ความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณเงินและระดับราคาเป็นไปในลักษณะที่ปริมาณเงินเป็นสาเหตุและระดับราคาเป็นผล แต่มิใช่ลักษณะความสัมพันธ์ในเชิงกลับกัน

  29. The Income Approach ( ข้อสมมติ ) • VYมีเสถียรภาพระยะสั้น และเปลี่ยนแปลงช้าๆในระยะยาว อาจถือได้ว่าคงที่ • VYไม่ขึ้นกับ M คือ การเปลี่ยนแปลงปริมาณเงินไม่ได้มีผลกระทบต่ออัตราการเปลี่ยนแปลง • ระดับดุลยภาพของผลผลิตที่แท้จริงอาจถือได้ว่าคงที่ ณ ระดับการจ้างงานเต็มที่

  30. อิทธิพลของเงินที่มีต่อกิจกรรมทางเศรษฐกิจระยะสั้นอิทธิพลของเงินที่มีต่อกิจกรรมทางเศรษฐกิจระยะสั้น • ในระยะสั้น การเปลี่ยนแปลงปริมาณเงินมิได้ก่อให้เกิดผลกระทบต่อระดับราคาและตัวแปรทางการเงินเท่านั้น แต่ยังส่งผลต่อตัวแปรที่แท้จริงด้วย – วัฎจักรของธุรกิจ • ฟิชเชอร์ – วัฎจักรธุรกิจเกิดเพราะปริมาณเงินได้เบี่ยงเบนจากปริมาณที่ก่อให้เกิดดุลยภาพในระยะยาว

  31. ปริมาณเงินเพิ่ม ( ปัจจัยภายนอก ) อุปสงค์รวมเพิ่มขึ้น เงินสำรองของธนาคารเพิ่ม ระดับราคาเพิ่มขึ้น การกู้เพิ่มลงทุนเพิ่มขึ้น จ้างงานเพิ่ม ปริมาณเงินเพิ่ม ( ระลอก 2 ) คาดการณ์เกี่ยวกับเงินเฟ้อ ดอกเบี้ย ค่าแรง เพิ่ม

  32. การเพิ่มต้นทุนสูงกว่าการเพิ่มราคาการเพิ่มต้นทุนสูงกว่าการเพิ่มราคา ธุรกิจขาดทุน ถอนเงินจากธนาคาร ปริมาณเงินลด ออม มากกว่าลงทุนที่ตั้งใจ อุปสงค์ลดลง

  33. ภาวะดุลยภาพเริ่มต้น MVY = PY กระบวนการเปลี่ยนแปลง เมื่อปริมาณเงินเพิ่ม ภาวะดุลยภาพใหม่ M1VY = P1Y t0 t1

  34. ทฤษฎีปริมาณเงินสำนักเคมบริดจ์The Quantity Theory: The Cash Balance Approach • ปัจจัยที่กำหนดความต้องการถือเงิน • อรรถประโยชน์ของเงิน • ลักษณะของงบประมาณ • ต้นทุนค่าเสียโอกาสของเงิน • ปัจจัยอื่นๆ • สมการความต้องการถือเงิน

  35. ความแตกต่างของทฤษฎีปริมาณเงินของฟิชเชอร์และเคมบริดจ์ความแตกต่างของทฤษฎีปริมาณเงินของฟิชเชอร์และเคมบริดจ์ • Spending of Money ( Money on the Wing ) VS. Holding of Money ( Money Sitting ) • F – เน้นเงินเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน ในขณะที่ C – เน้นบทบาทของเงินในเรื่องการเป็นเครื่องสะสมมูลค่าด้วย • F – เป็นลักษณะการวิเคราะห์แบบ Flow ในขณะที่ C - เป็นการวิเคราะห์แบบ Stock

  36. F - เน้นปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการใช้จ่ายของประชาชน ในขณะที่ C - เน้นตัวแปรที่กำหนดสัดส่วนสินทรัพย์ที่ประชาชนต้องการถือในรูปตัวเงิน • F – อัตราการหมุนเวียนของเงินเป็นอิสระกับผลผลิตที่แท้จริงและไม่ขึ้นกับปริมาณเงินในระยะยาว ในขณะที่ C- ปริมาณเงินที่คนต้องการถือขึ้นกับสินทรัพย์โดยเปรียบเทียบของสินทรัพย์ที่ไม่ใช่ทางการเงินด้วย

  37. ข้อสรุปทฤษฎีปริมาณเงินข้อสรุปทฤษฎีปริมาณเงิน • ความเป็นสัดส่วนกันระหว่างปริมาณเงินกับระดับราคา ( The Proportionality of Money and Price ) • ความเป็นกลางของเงิน ( The Neutrality of Money ) • ทฤษฎีการเงินที่อธิบายการกำหนดระดับราคา ( Monetary Theory of the price Level ) • ปริมาณเงินเป็นสาเหตุให้เกิดวัฏจักรธุรกิจ ) • ความเป็นกลางของเงิน ( The Neutrality of Money ) • ทฤษฎีการเงินที่อธิบายการกำหนดระดับราคา ( Monetary Theory of the price Level ) • ปริมาณเงินเป็นสาเหตุให้เกิดวัฏจักรธุรกิจ ( The Causality of Money ) • ปริมาณงินเป็นตัวแปรภายนอก ( The Exogeneity of Money )

  38. สรุป สมมติฐาน • ตลาดสินค้าและแรงงานเป็นตลาดที่มีการแข่งขันโดยสมบูรณ์ • การจ้างงานเต็มที่เกิดขึ้นได้เสมอ • ไม่มีผู้ใดที่ถือเงินไว้ในมือเฉยๆ • อัตราหมุนเวียนของเงินคงที่

  39. นัยทางนโยบาย • ปริมาณเงินเป็นปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อระดับราคาเท่านั้น • จุดมุ่งหมายของการมีเสถียรภาพในระดับราคาเกิด และการจ้างงานเต็มที่ เกิดขึ้นได้โดยดูแลให้ปริมาณเงินขยายตัวในอัตราที่สอดคล้องกับอัตราการขยายตัวของผลผลิตและความต้องการถือเงินในระยะยาว • การใช้นโยบายการเงินแบบดุลพินิจโดยการเปลี่ยนปริมาณเงินเพื่อลดความผันผวนของวัฎจักรธุรกิจจึงไม่จำเป็น • ปริมาณเงินที่มีเสถียรภาพจึงจำเป็นสำหรับการทำให้ราคามีเสถียรภาพ

More Related