1 / 35

สำนักงบประมาณ

สำนักงบประมาณ. สำนักงบประมาณ สำนักนายกรัฐมนตรี WWW.BB.GO.TH. 1. ร ะบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ : องค์ประกอบที่สำคัญ. การประมาณการงบประมาณรายจ่ายล่วงหน้าระยะปานกลาง (MTEF). มุ่งเน้นผลสำเร็จของงานตามผลผลิต ผลลัพธ์ เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ระดับชาติ

galeno
Download Presentation

สำนักงบประมาณ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. สำนักงบประมาณ สำนักงบประมาณ สำนักนายกรัฐมนตรีWWW.BB.GO.TH สำนักงบประมาณ สำนักนายกรัฐมนตรี 1

  2. ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์:องค์ประกอบที่สำคัญระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์:องค์ประกอบที่สำคัญ การประมาณการงบประมาณรายจ่ายล่วงหน้าระยะปานกลาง (MTEF) • มุ่งเน้นผลสำเร็จของงานตามผลผลิต ผลลัพธ์ • เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ระดับชาติ • เป้าหมายการให้บริการระดับกระทรวง • ผลผลิตและตัวชี้วัด • การมอบอำนาจการบริหารจัดการงบประมาณ • เน้นให้กระทรวงมีอำนาจในการบริหารจัดการงบประมาณเพื่อให้บรรลุผลสำเร็จมากกว่าเน้นกฎระเบียบ การเพิ่มขอบเขตความครอบคลุมของงบประมาณ • เน้นหลักการธรรมาภิบาล - การแบ่งหน้าที่และความรับผิดชอบในแต่ละระดับ - มีระบบการติดตามประเมินผลและการรายงานผลการดำเนินงานที่โปร่งใส และตรวจสอบได้ ระบบการติดตามและประเมินผลความสำเร็จตามเป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ สำนักงบประมาณ สำนักนายกรัฐมนตรี 2

  3. ในระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ได้นำในระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ได้นำ การติดตามและประเมินผลมาใช้อย่างไร…….?

  4. ประ เมิน ผล SPBB ผลกระทบ (Impact) ยุทธศาสตร์ชาติ ระดับกระทรวง ผลลัพธ์จริง (Actual Outcomes) ยุทธศาสตร์กระทรวง(Ministry Strategy) เป้าหมายการให้บริการ(Service Delivery Target) ระดับกรม แผนกลยุทธ์กรม เป้าหมายการให้บริการ ผลลัพธ์เบื้องต้น (Preliminary Outcomes) ผลผลิตจริง ผลผลิต ติด ตาม ผล Management กิจกรรม/กระบวนการ Man money Material ปัจจัย (Input) ทางตรง(Direct) ทางอ้อม(Indirect)

  5. ในระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานมีรูปแบบของในระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานมีรูปแบบของ การประเมินผลดังนี้ 1. การประเมินกระบวนการ(Process Evaluation) หรือการประเมินประสิทธิภาพ (Efficiency Evaluation) ซึ่งเน้นผลผลิตของหน่วยงานที่สัมพันธ์กับกระบวนการจัดทำกิจกรรมและทรัพยากรนำเข้า 2. การประเมินผลโครงการ (ProjectEvaluation)หรือการประเมินประสิทธิผล (Effectiveness Evaluation) ซึ่งเน้นผลลัพธ์ของหน่วยงานที่สัมพันธ์กับผลผลิตของหน่วยงาน 3. การประเมินผลกระทบ (Impact Evaluation)ซึ่งเน้นผลลัพธ์ของหน่วยงานว่าช่วยในการตอบสนองความสำเร็จตามเป้าหมายการให้บริการระดับกระทรวงและยุทธศาสตร์ชาติมากน้อยเพียงใด

  6. การประเมินกระบวนการ (Process Evaluation) หรือการประเมินประสิทธิภาพ(Efficiency Evaluation) เป็นการศึกษาประสิทธิภาพของผลผลิตใน 4 มิติ ได้แก่ มิติเชิงปริมาณ เชิงคุณภาพ เชิงเวลา และเชิงต้นทุน ซึ่งการประเมินกระบวนการจะเป็นการศึกษาว่าประสิทธิภาพของผลผลิตที่แตกต่างไปจากแผนนั้น เกิดจากกระบวนการจัดทำกิจกรรมใดบ้าง โดยมองย้อนกลับจาก Output มายัง Activities Activities Process Output

  7. การประเมินผลโครงการ (ProjectEvaluation) หรือ การประเมินประสิทธิผล (Effectiveness Evaluation) การประเมินโครงการเมื่อสิ้นสุดโครงการเน้นการวิเคราะห์ประสิทธิผล หรือผลลัพธ์ โดยศึกษาว่าการดำเนินงานสามารถบรรลุวัตถุประสงค์หรือไม่เพียงใด ทั้งนี้การประเมินผลโครงการสามารถทำได้ตั้งแต่เริ่มโครงการ (Pre-Evaluation)เพื่อหาความคุ้มค่า ความเหมาะสมก่อนดำเนินการ และประเมินผลระหว่างโครงการ(On-goingEvaluation)เพื่อนำผลที่ได้มาปรับปรุงการดำเนินงานให้ดีขึ้น Outputs Outcome

  8. การประเมินผลกระทบ (Impact Evaluation) การประมินผลกระทบเน้นการวิเคราะห์ผลที่ได้รับต่อเนื่องจากประสิทธิผลของโครงการโดยศึกษาผลที่ได้รับจากการบรรลุวัตถุประสงค์ของโครงการสามารถ “ เป็นส่วนหนึ่งที่จะไปช่วยสนับสนุน” การบรรลุเป้าประสงค์การพัฒนาได้หรือไม่เพียงใด ปัจจุบันเราสนใจการประเมินผลกระทบก่อนดำเนินงาน (Impact Assessment)ค่อนข้างมาก ทั้งการประเมินผลทางสิ่งแวดล้อม (Environmental Impact Assessment - EIA) และประเมินผลทางสังคม (Social Impact Assessment-SIA) Outcome Impact

  9. เครื่องมือการติดตามประเมินผลของสำนักงบประมาณเครื่องมือการติดตามประเมินผลของสำนักงบประมาณ -การติดตามผลโดยใช้แบบรายงาน (Periodic Performance Report Monitoring) -การติดตามผลแบบเร่งด่วน (Quick Monitoring) -การติดตามผลเฉพาะเรื่องเชิงลึก (In-depth Monitoring) การติดตามผล • การประเมินผลความคุ้มค่าการปฏิบัติภารกิจภาครัฐ • (ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ผลกระทบ ) • การวิเคราะห์ระดับความสำเร็จของการดำเนิน • จากการใช้จ่ายงบประมาณ (PART) การประเมินผล

  10. การประเมินผล โดย PART Performance Assessment Rating Tool “การวิเคราะห์ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานจากการใช้งบประมาณ” สำนักงบประมาณ สำนักนายกรัฐมนตรี 10

  11. กฎหมาย พ.ร.บ. ระเบียบบริหารราชการแผ่นดินฉบับที่ 5 พ.ศ.2545 พ.ร.ก. ว่าด้วยหลักเกณฑ์บริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ.2546 • แผนบริหารราชการแผ่นดิน 4 ปี • แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี • แผนปฏิบัติราชการประจำปี ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ ระเบียบว่าด้วยการบริหารงบประมาณ พ.ศ.2548 มติ ครม. วันที่ 18 ตุลาคม พ.ศ. 2548 สำนักงบประมาณ สำนักนายกรัฐมนตรี 11

  12. คืออะไร : Performance Assessment Rating Tool เครื่องมือวิเคราะห์ความสำเร็จ ของการดำเนินงานการใช้จ่ายงบประมาณ สำนักงบประมาณ สำนักนายกรัฐมนตรี 12

  13. ทำไมต้องใช้ ผลกระทบ ผลลัพธ์ ผลผลิต กิจกรรม งบประมาณ เพราะระบบงบประมาณของไทย เป็นระบบ งบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ Strategic Performance Base Budgetting : SPBB 12 สำนักงบประมาณ สำนักนายกรัฐมนตรี 13

  14. บทบาทของ PART ในกระบวนการงบประมาณ การจัดทำ งบประมาณ สารสนเทศในการวางแผน งบประมาณ PART เครื่องมือประเมินผล ประเมินผล การอนุมัติ งบประมาณ สารสนเทศในการอนุมัติ งบประมาณระดับหน่วยงาน สารสนเทศในการบริหาร งบประมาณตามข้อตกลงผลผลิต การบริหาร งบประมาณ สำนักงบประมาณ สำนักนายกรัฐมนตรี 14

  15. ประโยชน์จากการใช้ PART : ตรวจสอบตนเอง : ปรับปรุงพัฒนาตนเอง : มีความพร้อมในการประเมินจากภายนอก : เป็นหน่วยงานที่มีประสิทธิภาพ / ประสิทธิผล ส่วนราชการ : จัดสรรงบประมาณให้ตามแผน : ทางเลือกและความคุ้มค่าในการใช้งบประมาณ : เพื่อปรับปรุงการวางแผน การบริหาร และ การติดตาม ประเมินผลการใช้จ่ายงบประมาณ สำนักงบประมาณ รัฐบาล : การใช้จ่ายงบประมาณก่อให้เกิดผลงานตาม นโยบายรัฐบาล สำนักงบประมาณ สำนักนายกรัฐมนตรี 15

  16. Performance Assessment Rating Tool (PART) • ก. จุดมุ่งหมายและรูปแบบ • ชัดเจน • ชี้แจง / อธิบายได้ • 6 ข้อ • ข. การวางแผนกลยุทธ์ • เป้าหมายระยะยาวที่ชัดเจน • รายละเอียดแผนกลยุทธ์ • 7 ข้อ • จ. ผลผลิต/ ผลลัพธ์ • เปรียบเทียบแผนกับผล • - การเพิ่มประสิทธิภาพ 5 ข้อ • - การใช้เงินอย่างคุ้มค่า รวม 30 ข้อ ง. การบริหารจัดการ - การบริหารหน่วยงาน - การบริหารการเงิน 7 ข้อ - การเพิ่มขีดความสามารถ - การเก็บรวบรวมข้อมูล • ค. การเชื่อมโยงงบประมาณ • เป้าหมายประจำปีที่ชัดเจน • รายละเอียดแผนกลยุทธ์ • ต้นทุนแท้จริง • 5 ข้อ พิจารณาจากเอกสารประกอบเป็นหลัก สำนักงบประมาณ สำนักนายกรัฐมนตรี 16

  17. ผู้บริหาร ของหน่วยงานต้องสามารถ อธิบายหรือแสดงให้เห็นถึงความเชื่อมโยง ความสอดคล้อง ความเหมาะสม ของเป้า หมายการให้บริการของหน่วยงานกับเป้าหมายชาติ มี กระบวนการการกำหนดความต้องการ มี ผลผลิตที่กำหนดขึ้นจากความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย และ หน่วยงานต้องคำนึงถึง อุปสรรคและข้อจำกัดที่มีต่อการนำส่ง ผลผลิต หมวด ก. จุดมุ่งหมาย และ รูปแบบ สำนักงบประมาณ สำนักนายกรัฐมนตรี 17

  18. ข. การวางแผนกลยุทธ์ • เป้าหมายระยะยาวที่ชัดเจน • รายละเอียดแผนกลยุทธ์ ประ เมิน ผล (เหลือง) หน่วยงานต้องมีการจัดทำแผนกลยุทธ์ที่แสดงความเชื่อมโยงและถ่ายทอดภารกิจจากเป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์มายังผลลัพธ์ ผลผลิต กิจกรรมได้ตามลำดับ มี การกำหนดเป้าหมายผลผลิตระยะยาว สามารถ จำแนกผลผลิตเป็นรายปี มี การประสานความร่วมมือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง มี แผนการประเมินผล กำหนดให้มี กระบวนการการวิเคราะห์ความเปลี่ยนแปลง สำนักงบประมาณ สำนักนายกรัฐมนตรี 18

  19. หมวด ค. การเชื่อมโยงงบประมาณ หน่วยงานต้องแสดงให้เห็นความก้าวหน้าในการบรรลุเป้าหมายผลผลิต โดยจัดทำแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี มี การกำหนดกิจกรรมหลักที่เชื่อมโยงกับทรัพยากรที่ต้องการเพื่อให้บรรลุเป้าหมายผลผลิต มี ตัวชี้วัดความก้าวหน้าตามระยะเวลาที่กำหนดทุกกิจกรรม มี กิจกรรมเพื่อคำนวนต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต มี การทบทวนผลการปฏิบัติงานที่ผ่านมา สำนักงบประมาณ สำนักนายกรัฐมนตรี 19

  20. หมวด ง. การบริหารจัดการ ต้องให้ความสำคัญ กับหน่วยนำส่งผลผลิต หน่วยนำส่งผลผลิต มีการจัดทำและบริหารแผนการปฏิบัติงาน และแผนการใช้จ่ายงบประมาณ มี การจัดทำระบบรายงานข้อมูลย้อนกลับ มี การนำข้อมูลย้อนกลับไปใช้ในการบริหารจัดการ และการปรับปรุงงาน มี การนำต้นทุนต่อหน่วยไปใช้ประโยชน์ในการบริหารจัดการมี การวัดผล การดำเนินงาน วัดประสิทธิภาพ และความคุ้มค่า มี รายงานผลการตรวจ สอบทางการเงิน และมี การประเมินบุคคลผู้รับผิดชอบผลผลิต สำนักงบประมาณ สำนักนายกรัฐมนตรี 20

  21. หมวด จ. ผลผลิต / ผลลัพธ์ มี การเปรียบเทียบผลลัพธ์กับ เป้าหมายระยะยาว มีการเปรียบเทียบผลผลิตที่ได้กับเป้าหมายประจำปี มี การเปรียบเทียบผลผลิตและเป้าหมาย ผลผลิตกับหน่วยงานภายนอกที่คล้ายคลึงกัน มี ผลของการประเมินของผู้ประเมินอิสระที่แสดงให้เห็นถึงการบรรลุผลสำเร็จ สำนักงบประมาณ สำนักนายกรัฐมนตรี 21

  22. คะแนนของแต่ละชุดคำถามคะแนนของแต่ละชุดคำถาม ก. จุดมุ่งหมายและรูปแบบ 10 คะแนน ข. การวางแผนกลยุทธ์ 20 คะแนน จ. ผลผลิต / ผลลัพธ์ 30 คะแนน ค. การเชื่อมโยงงบประมาณ 20 คะแนน ง. การบริหารจัดการ 20 คะแนน สำนักงบประมาณ สำนักนายกรัฐมนตรี 22

  23. การสรุปผลการวิเคราะห์ระดับคะแนนรวมการสรุปผลการวิเคราะห์ระดับคะแนนรวม • ได้คะแนนรวมน้อยกว่า 60 คะแนน แสดงผลเป็นสีแดง • ได้คะแนนรวมอยู่ในช่วง 60 - 85 คะแนน แสดงผลเป็นสีเหลือง • ได้คะแนนรวมมากกว่า 85 คะแนน แสดงผลเป็นสีเขียว สำนักงบประมาณ สำนักนายกรัฐมนตรี 23

  24. ผลการประเมิน ผลที่ได้ คะแนนเต็ม กราฟเรดาร์ ก 4 10 ข การวางแผนกลยุทธ์ 14 20 ค การเชื่อมโยงงบประมาณ 13 20 ง การบริหารจัดการ 16 20 จ ผลผลิต/ผลลัพธ์ 3 3 0 ผลรวม 50 100 กลุ่มสี สีแดง ชุดคำถาม จุดมุ่งหมายและรูปแบบ สำนักงบประมาณ สำนักนายกรัฐมนตรี 24

  25. ข้อสรุป PART เป็น Self – Assessment แข่งขันกับตัวเอง ทำด้วยตนเอง ยอมรับความจริง สิ่งใดที่ยังไม่มี ก็ทำให้มี สิ่งใดที่มีปัญหา ก็ต้องแก้ไข สิ่งใดที่ทำดีแล้ว ก็พัฒนาให้เป็นมาตรฐาน คะแนนเป็นเพียงภาพสะท้อน เราอยู่ในระดับไหนจะพัฒนาหรือไม่ สำนักงบประมาณ สำนักนายกรัฐมนตรี 25

  26. ยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ : ยุทธศาสตร์การส่งเสริมให้ประชาชนมีสุขภาพดี มีคุณธรรมนำความรู้ และสามารถปรับตัวสู่สังคมฐานความรู้ ตัวอย่างความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์ เป้าหมายการให้บริการกระทรวงผลผลิตและตัวชี้วัดของสนง.พฒนาการกีฬาและนันทนาการ เป้าหมายการให้บริการกระทรวง :ประชาชนทุกกลุ่มร้อยละ 50เข้าร่วมกิจกรรมกีฬา นันทนาการ และ ออกกำลังกาย เป้าหมาย :หน่วยงาน สนง.พัฒนาการกีฬาและนันทนาการ ประชาชนทุกกลุ่มมีโอกาสได้ออกกำลังกายเล่นกีใจนเป็นวิถีชีวิตและมีคุณภาพชีวิตที่ดี ตัวชี้วัด 1. จำนวนประชาชนทุกกลุ่มที่เข้าร่วมกิจกรรมกีฬา นันทนาการและออกกำลังกาย 2. ประชาชนทุกกลุ่มที่เข้าร่วมกิจกรรมกีฬา นันทนาการและออกกำลังกายมีความพึง พอใจจากการเข้าร่วมกิจกรรมอย่างน้อยร้อยละ 70 ผลผลิต ผู้เข้าร่วมกิจกรรมทางการกีฬา ตัวชี้วัด 1. จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรมทางการกีฬา 2. ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความพึงพอใจอย่างน้อยร้อยละ 70

  27. การใช้ PART ประเมินผลในแต่ละด้าน PART สามารถใช้ประเมินได้ทุกภาระกิจของรัฐ โดยใช้หลักการเดียวกัน แต่การตอบคำถามหรือเอกสารที่นำมาใช้อ้างอิงอาจแตกต่างกันบ้าง ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับลักษณะภาระกิจภาครัฐในแต่ละด้าน 1. ด้านเศรษฐกิจ 5. ด้านสิ่งแวดล้อม 4. ด้านการบริหารทั่วไปของรัฐ 2. บริหารชุมชนและสังคม 3. ด้านมั่นคง สำนักงบประมาณ สำนักนายกรัฐมนตรี 27

  28. ข้อเสนอแนะหน่วยงานในการนำ PARTไปใช้ หน่วยงานท่านมี การจัดทำสิ่งเหล่านี้ หรือไม่ 1 . การจัดทำแผนกลยุทธ์ 2. การจัดทำแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี 3. การจัดระบบประเมินของหน่วยงาน 4. การจัดระบบการบริหารจัดการของหน่วยงานนำส่ง ผลผลิต 5. การจัดทำเอกสารอื่นๆที่เกี่ยวข้องของหน่วยงาน สำนักงบประมาณ สำนักนายกรัฐมนตรี 28

  29. ข้อเสนอแนะหน่วยงานในการนำ PARTไปใช้ 1.การจัดทำ แผนกลยุทธ์ การวิเคราะห์ผู้มีส่วนได้เสีย: ดูความต้องการของ ประชาชนผู้รับบริการ การวิเคราะห์สภาพแวดล้อม ภายใน ภายนอก ภายใน:ดูโครงสร้างองค์การ การบริหารบุคคล ประสิทธิภาพทางการเงิน การบริหารพัสดุ การบริหาร จัดการ ภายนอก:ปัจจัยเอื้อหรืออุปสรรคด้านสังคม วัฒนธรรม กฏหมาย เศรษฐกิจ เทคโนโลยี นโยบายรัฐบาล สำนักงบประมาณ สำนักนายกรัฐมนตรี 29

  30. ข้อเสนอแนะหน่วยงานในการนำ PARTไปใช้ 1.การจัดทำ แผนกลยุทธ์ (ต่อ) การวางทิศทางขององค์กร: ได้แก่วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์หลักของหน่วยงานที่ระบุกลุ่ม กลุ่มเป้าหมายผู้รับบริการและผลประโยชน์ที่กลุ่มเป้า หมายจะได้รับ มียุทธศาสตร์ กลยุทธ์และผลผลิต ของหน่วยงาน ยุทธศาสตร์กระทรวงและกลยุทธ์ของกรมต้องมีเป้าหมายเฉพาะด้านที่ชัดเจนมี ตัวชี้วัด 2Q2T1P(Quantity Quality Time Target Group Place) และแผนกลยุทธ์จะต้องระบุ ผลผลิตที่มีตัวชี้วัดเชิงรูปธรรมเป็นรายปี ครบ 4 มิติ QQCT สำนักงบประมาณ สำนักนายกรัฐมนตรี 30

  31. ข้อเสนอแนะหน่วยงานในการนำ PARTไปใช้ 2. การจัดทำ แผน ปฏิบัติราชการ 4 ปี • มีผลผลิตที่จำแนกกิจกรรมหลักในแต่ผลผลิต • มีการกำหนดเป้าหมายผลผลิตประจำปี • มีตัวชี้วัดผลผลิตครบ 4 มิติ • มีแผนการประเมินผลของหน่วยงานเอง • มีแผนการประเมินผลของหน่วยงานภายนอก • -มีรายงานการประเมินผลผลิตและ ผลลัพธ์ • มีการประเมินผลโดยหน่วยงานภายนอกเช่นหน่วย • งานกลาง หรือผู้ประเมินอิสระ 3. การจัดระบบ การ ประเมินผล ของหน่วยงาน สำนักงบประมาณ สำนักนายกรัฐมนตรี 31

  32. ข้อเสนอแนะหน่วยงานในการนำ PARTไปใช้ 4.การจัด ระบบการบริหาร จัดการของ หน่วยนำส่ง ผลผลิต • มี แผนการปฏิบัติการประจำปีที่แสดงแผนการปฏิบัติ • งานและแผนการใช้จ่ายงบประมาณประจำปี • -มีระบบข้อมูลพื้นฐานและระบบสารสนเทศ • -มีหน่วยนำส่งผลผลิตที่มีการรายงานผลการปฏิบัติการ • และมีการนำระบบข้อมูลสารสนเทศมาใช้ในการปฏิบัติงาน • -มีการใช้ต้นทุนผลผลิตต่อหน่วย • มี การตรวจสอบทางการเงินทั้งฝ่ายตรวจสอบภายในและภายนอก • - มี มีการประเมินบุคคลที่สัมพันธ์กับการนำส่งผลผลิต สำนักงบประมาณ สำนักนายกรัฐมนตรี 32

  33. ข้อเสนอแนะหน่วยงานในการนำ PARTไปใช้ หน่วยงานท่านเก็บไว้บ้างหรือเปล่า????? 5. เอกสาร อื่นที่เกี่ยวข้อง ของหน่วยงาน รายงานเกี่ยวกับนโยบายของหน่วยงานเช่นสำรวจความต้องการ การศึกษาปัญหา การวิจัย รายงานการคำนวณต้นทุนต่อหน่วย ฐานข้อมูล บันทึกการประชุมต่างๆ วาระการพิจารณาผลการปฏิบัติงานที่ผ่านมา หรือการประชุมเรื่องการทบทวนกลยุทธ์ หรือข้อตกลงในการประสานงานกับหน่วยงานอื่น สำนักงบประมาณ สำนักนายกรัฐมนตรี 33

  34. อย่าลืมว่า ทุกระดับทุกกิจกรรมต้องมีความสัมพันธ์ เชื่อมโยงกัน สำนักงบประมาณ สำนักนายกรัฐมนตรี 34

  35. จบการนำเสนอ สำนักงบประมาณ สำนักนายกรัฐมนตรี 35

More Related