1 / 44

ไอซ์

ไอซ์. อนาคตประเทศไทย. รศ . ดร . มานพ คณะโต. เครือข่ายพัฒนาวิชาการและข้อมูลสารเสพติด. ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. มหาวิทยาลัยขอนแก่น. 9 กรกฎาคม 2555. ไอซ์. อนาคตประเทศไทย. 9 กรกฎาคม 2555. รศ.ดร.มานพ คณะโต. ไอซ์ หรือ เมทแอมเฟตามีน (Methamfetamine HCL)

ganesa
Download Presentation

ไอซ์

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ไอซ์ อนาคตประเทศไทย รศ.ดร.มานพ คณะโต เครือข่ายพัฒนาวิชาการและข้อมูลสารเสพติด ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 9 กรกฎาคม 2555

  2. ไอซ์ อนาคตประเทศไทย 9 กรกฎาคม 2555 รศ.ดร.มานพ คณะโต ไอซ์ หรือ เมทแอมเฟตามีน (Methamfetamine HCL) ลักษณะเป็นผลึกใส เหมือนน้ำแข็ง จัดเป็นยาเสพติดให้โทษในประเภท 1 ตามพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2522 • เป็นสารสังเคราะห์ในกลุ่ม Amphetamine Type Stimulants (ATS) • ค.ศ. 1887 Amphetamine ซึ่งเป็น ATS ตัวแรก ถูกสังเคราะห์ขึ้นโดยนักเคมีชาวเยอรมัน • ค.ศ. 1893 Nagayoshi Nagai นักเคมีชาวญี่ปุ่นสังเคราะห์ Methamphetamine • ค.ศ. 1919 Akira Ogata นักเคมีชาวญี่ปุ่นสังเคราะห์ crystal Methamphetamine

  3. สารในกลุ่ม ATS Amphetamine (ยาม้า) Amphetamine SYNTHESIS MDMA (ยาอี) SYNTHESIS Methamphetamine Methamphetamine Methcathinone Fenetylline Methylphenidate Ephedrine Pseudoephedrine MDMA 9 กรกฎาคม 2555 รศ.ดร.มานพ คณะโต ไอซ์ อนาคตประเทศไทย Amphetamine Type Stimulants

  4. กลไกการออกฤทธิ์ 9 กรกฎาคม 2555 รศ.ดร.มานพ คณะโต ไอซ์ อนาคตประเทศไทย ไอซ์ออกฤทธิ์กระตุ้นประสาท (stimulants) อย่างแรง • ออกฤทธิ์ต่อทั้ง • ระบบประสาทส่วนกลาง (Central nervous system) ซึ่งได้แก่ สมองและไขสันหลัง และ • ระบบประสาทส่วนปลาย (Peripheral nervous system) การออกฤทธิ์ 1.ออกฤทธิ์เร่งการปลดปล่อยสารอะดรีนาลีน (Adrenaline) และ นอร์อะดรีนาลีน (Noradrenaline) ออกจากเซลล์ประสาท 2. ออกฤทธิ์กระตุ้นการปลดปล่อยสารโดปามีน (Dopamine) ในสมอง

  5. 9 กรกฎาคม 2555 รศ.ดร.มานพ คณะโต ไอซ์ อนาคตประเทศไทย 1.ออกฤทธิ์เร่งการปลดปล่อยสารอะดรีนาลีน (Adrenaline) และนอร์อะดรีนาลีน (Noradrenaline) ออกจากเซลล์ประสาท Adrenaline หรือ Epinephrine Noradrenaline หรือ Norepinephrine ควบคุมการทำงานของหัวใจและหลอดเลือด หัวใจเต้นแรงขึ้น อัตราการเต้นของหัวใจสูงขึ้น หลอดเลือดหดตัว ความดันเลือดสูงขึ้นมากกว่าปกติ รู้สึกตื่นตัว กระปรี้กระเปร่า

  6. 9 กรกฎาคม 2555 รศ.ดร.มานพ คณะโต ไอซ์ อนาคตประเทศไทย 2. ออกฤทธิ์กระตุ้นการปลดปล่อยสารโดปามีน (Dopamine) ในสมอง Dopamine หรือ pleasure neurotransmitter ควบคุมอารมณ์ทุกข์เศร้า ทำให้เกิดการปลดปล่อยสาร Dopamine ออกมาจากเซลล์ประสาทในปริมาณมากกว่าปกติ เกิดอารมณ์เคลิบเคลิ้มเป็นสุข (Euphoria)

  7. 9 กรกฎาคม 2555 รศ.ดร.มานพ คณะโต ไอซ์ อนาคตประเทศไทย วิธีการเสพไอซ์ในประเทศไทย นัตถุ์ (จะออกฤทธิ์ ใน 3-5 นาที) ประสิทธิผลการดูดซึมสาร 79% ฉีด (จะออกฤทธิ์ทันที) ประสิทธิผลการดูดซึมสาร 100% สูบไอระเหย (จะออกฤทธิ์ทันที) ประสิทธิผลการดูดซึมสาร 90.3%

  8. 9 กรกฎาคม 2555 รศ.ดร.มานพ คณะโต ไอซ์ อนาคตประเทศไทย เมื่อเสพไอซ์ ตัวสารจะเข้าสู่สมองอย่างรวดเร็วภายใน 3-5 นาที เมื่อสารเข้าสู่ร่างกายแล้วประมาณ 1 ชั่วโมง ฤทธิ์ของสารจะส่งผลขึ้นถึงระดับสูงสุดและยังคงในระดับสูงต่ออีกประมาณ 3 ชั่วโมง

  9. 9 กรกฎาคม 2555 รศ.ดร.มานพ คณะโต ไอซ์ อนาคตประเทศไทย ฤทธิ์ของสารจะยังคงอยู่ในระดับสูงกว่าปกติต่อไปอีกหลายชั่วโมง (อาจถึง 24 ชั่วโมง) การเสพไอซ์ซ้ำหลายครั้งในหนึ่งวัน ทำให้มีการสะสมของสารเมทแอมเฟตามีนในร่างกาย หากได้รับสารในปริมาณมาก อาจจะเกิดอาการทางจิตและประสาทอย่างรุนแรงอยู่นานเป็นเวลาประมาณ 4 ชั่วโมง ประมาณ 9-12 ชั่วโมงร่างกายจะขับสารออกจากร่างกายลงเหลือครึ่งหนึ่งของปริมาณสูงสุดที่มีอยู่ในกระแสเลือด (ฤทธิ์ของสารจะยังคงมีอยู่ในระดับต่ำ)

  10. 9 กรกฎาคม 2555 รศ.ดร.มานพ คณะโต ไอซ์ อนาคตประเทศไทย เปรียบเทียบระดับโดปามีนจากการเสพไอซ์และอื่นๆ

  11. 9 กรกฎาคม 2555 รศ.ดร.มานพ คณะโต ไอซ์ อนาคตประเทศไทย ความพึงพอใจที่เป็นผลมาจากการเสพไอซ์ • ความรวดเร็วของระยะเวลาในการเริ่มออกฤทธิ์ (onset of action) • ความรุนแรงของฤทธิ์ที่เกิดขึ้นกับร่างกายและจิตใจ (intensity of action) และ • ความยาวนานในการออกฤทธิ์ของสาร (duration of action) ขึ้นกับ • ความบริสุทธิ์ของสารที่ใช้เสพ • วิธีการเสพ • ปริมาณที่เสพ • ความถี่ในการเสพ

  12. 9 กรกฎาคม 2555 รศ.ดร.มานพ คณะโต ไอซ์ อนาคตประเทศไทย ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา ผลระยะสั้น ผลระยะยาว • มีอาการทางจิตและประสาท พฤติกรรมเปลี่ยน เช่น ก้าวร้าว วิตกกังวล สับสน นอนไม่หลับ ปวดศีรษะรุนแรง จิตหวาดระแวง หลงผิด เพ้อคลั่ง ประสาทหลอน • น้ำหนักลด • เกิดภาวะทนต่อยา (Tolerance ) ทำให้ผู้เสพพยายามเพิ่มขนาดของยาที่เสพขึ้น เสพยาบ่อยขึ้น หรือเปลี่ยนวิธีการเสพ • ติดยา (Addiction) • อาการถอนยา (Withdrawal) เมื่อมีการลดหรือหยุดการเสพลง ผู้เสพจะเกิดอาการถอนยาซึ่งจะมีอาการซึมเศร้า วิตกกังวล เหนื่อยล้า จิตหวาดระแวง ก้าวร้าว บางรายมีอาการดังกล่าวรุนแรง • มีภาวะตื่นตัว • มีพลกำลังมากกว่าปกติ • หัวใจเต้นแรงขึ้น อัตราการเต้นของหัวใจเร็วขึ้น ใจสั่น เหงื่อออกมากผิดปกติ • ความดันเลือดสูงขึ้น • ปากแห้ง • อุณหภูมิของร่างกายสูงขึ้น • ไม่อยากอาหาร • เคลิบเคลิ้มเป็นสุข (Euphoria) พูดเพ้อเจ้อ หงุดหงิด กระวนกระวาย อยู่ไม่นิ่ง ฉุนเฉียว โกรธง่าย นอนไม่หลับ • การได้รับยาในขนาดสูง อุณหภูมิของร่างกายจะสูงขึ้นมาก อาจมีอาการชัก หัวใจเต้นผิดจังหวะ หมดสติและอาจถึงขั้นเสียชีวิตได้

  13. 9 กรกฎาคม 2555 รศ.ดร.มานพ คณะโต ไอซ์ อนาคตประเทศไทย การเปลี่ยนแปลงของสมองจากการที่ร่างกายได้รับสารเมทแอมเฟตามีนในปริมาณสูงๆ ต้องใช้เวลานานกว่า 14 เดือนหลังจากหยุดใช้ สมองจึงจะเริ่มกลับมาสู่สภาพปกติ

  14. 9 กรกฎาคม 2555 รศ.ดร.มานพ คณะโต ไอซ์ อนาคตประเทศไทย ร้อยละของประชากรอายุ 15-64 ปีที่ใช้สารเสพติดในรอบปีที่ผ่านมา จำนวนผู้ใช้ ATS (ไม่รวมยาอี) สูงถึง 52.5 ล้านคน UNODC 2012

  15. 9 กรกฎาคม 2555 รศ.ดร.มานพ คณะโต ไอซ์ อนาคตประเทศไทย UNODC 2012

  16. 9 กรกฎาคม 2555 รศ.ดร.มานพ คณะโต ไอซ์ อนาคตประเทศไทย UNODC 2012

  17. 9 กรกฎาคม 2555 รศ.ดร.มานพ คณะโต ไอซ์ อนาคตประเทศไทย UNODC 2012

  18. 9 กรกฎาคม 2555 รศ.ดร.มานพ คณะโต ไอซ์ อนาคตประเทศไทย UNODC 2012

  19. สถานการณ์ในประเทศไทย 9 กรกฎาคม 2555 รศ.ดร.มานพ คณะโต ไอซ์ อนาคตประเทศไทย พบการแพร่ระบาดของ Amphetamine ก่อน 2500 พบการแพร่ระบาดของ Methamphetamine เมื่อ 2519 2543 2553 พบการแพร่ระบาดของไอซ์เมื่อ 2543

  20. 9 กรกฎาคม 2555 รศ.ดร.มานพ คณะโต ไอซ์ อนาคตประเทศไทย อัตราส่วนผู้เข้ารับการบำบัดรักษา

  21. 9 กรกฎาคม 2555 รศ.ดร.มานพ คณะโต ไอซ์ อนาคตประเทศไทย สัดส่วนผู้เข้ารับการบำบัด

  22. 9 กรกฎาคม 2555 รศ.ดร.มานพ คณะโต การสำรวจครัวเรือนเพื่อคาดประมาณจำนวนผู้ใช้สารเสพติด 2554 ไอซ์ อนาคตประเทศไทย ได้รับข้อมูลในระหว่างการกวาดล้าง ผลที่ได้จะต่ำกว่าความเป็นจริง

  23. 9 กรกฎาคม 2555 รศ.ดร.มานพ คณะโต ไอซ์ อนาคตประเทศไทย จำนวนผู้เสพไอซ์จากการคาดประมาณ

  24. 2 2 1 1 9 9 4 4 5 5 3 3 6 6 7 7 8 8 9 กรกฎาคม 2555 รศ.ดร.มานพ คณะโต ไอซ์ อนาคตประเทศไทย พื้นที่แพร่ระบาด รุนแรง ปานกลาง กรุงเทพ กรุงเทพ เบาบาง ระดับความรุนแรงของการเสพติด (คัดกรองด้วยASSIST) อัตราผู้เคยใช้ไอซ์ต่อประชากรแสนคน

  25. 9 กรกฎาคม 2555 รศ.ดร.มานพ คณะโต ไอซ์ อนาคตประเทศไทย ความเสี่ยงในการใช้ยากระตุ้นประสาทกลุ่มแอมเฟตามีน

  26. 9 กรกฎาคม 2555 รศ.ดร.มานพ คณะโต ไอซ์ อนาคตประเทศไทย คนไทยร้อยละ 40 รู้จักไอซ์ คนไทยร้อยละ 2 สามารถหาซื้อไอซ์มาเสพได้ คนไทยทุกๆ 3 ใน 1,000 คนเคยใช้ไอซ์มาแล้ว อายุเฉลี่ยผู้เสพ 21.75 ปี อายุต่ำสุด 14 ปี อายุสูงสุด 40 ปี

  27. 9 กรกฎาคม 2555 รศ.ดร.มานพ คณะโต ไอซ์ อนาคตประเทศไทย อัตราผู้เคยเสพไอซ์ต่อประชากร 1000 คน

  28. 9 กรกฎาคม 2555 รศ.ดร.มานพ คณะโต การศึกษาสถานการณ์การแพร่ระบาดไอซ์ 2554 ไอซ์ อนาคตประเทศไทย เป็นการประเมินเร่งด่วน (Rapid Assessment) ในพื้นที่ 8 จังหวัด คัดเลือกกลุ่มเสี่ยงสูง 4,376 คน ได้ผู้เสพไอซ์ 508 คน เจาะจงกลุ่มประชาชนที่รับรู้และใกล้ชิดกับแหล่งที่มีการใช้ไอซ์ 82 คน สำรวจเยาวชนตัวแทน 3,795 คน

  29. 9 กรกฎาคม 2555 รศ.ดร.มานพ คณะโต ไอซ์ อนาคตประเทศไทย ประชากรไทยเคยมีประสบการณ์เสพไอซ์ประมาณ 300,000 คน จำนวนผู้เสพไอซ์ทั่วประเทศปัจจุบัน ประมาณ 70,000 คน (RDS) ผลการประเมินเร่งด่วนในพื้นที่ 8 จังหวัด จากผู้เสพ 508 คนพบว่า อัตราส่วนชายต่อหญิงเป็น 47:53 2 ใน 3 ของผู้เสพ เสพไอซ์ทดแทนยาเดิม (เมื่อได้ลองเสพแล้วจะใช้ต่อเนื่องไม่หันกลับไปหายาเดิม)

  30. 9 กรกฎาคม 2555 รศ.ดร.มานพ คณะโต ไอซ์ อนาคตประเทศไทย เยาวชน 47.2% ผู้ใหญ่ตอนปลาย 6.3% อายุปัจจุบันของผู้เสพไอซ์ (เฉลี่ยเสพไอซ์มาแล้ว 6.2 ปี)

  31. 9 กรกฎาคม 2555 รศ.ดร.มานพ คณะโต ไอซ์ อนาคตประเทศไทย ผู้เสพไอซ์มีพฤติการณ์รวมกลุ่ม (ไม่มีผู้เสพไอซ์คนใด มีเพื่อนสนิทในกลุ่มไม่ได้ใช้) กลุ่มผู้เสพไอซ์มีเพื่อนสนิท 2-20 คน จำนวนเพื่อนสนิทเฉลี่ย 5.4 คนเป็นผู้เสพไอซ์เฉลี่ย 5.1 คน ผู้เสพไอซ์ทุกคนชักชวนเพื่อนสนิทให้ลองเสพไอซ์ ประสบความสำเร็จในการชักชวนเพื่อนให้เสพโดยเฉลี่ย 4.2 คน (สูงสุด 13 คน)

  32. 9 กรกฎาคม 2555 รศ.ดร.มานพ คณะโต ไอซ์ อนาคตประเทศไทย การเข้าถึง - เข้าถึงได้ในแหล่งเดียวกับยาบ้า (กลุ่มผู้ขายมีตัวยาให้เลือกทั้งสองตัว) - Gate Keeper และผู้ใกล้ชิดเป็นทางผ่านของยามาสู่ผู้ใช้ - กลยุทธทางการตลาดทำให้ไอซ์เป็นสารเสพติดที่สามารถหาเสพได้สำหรับผู้เสพทุกชนชั้น - การรับรู้ฤทธิ์ของยาตองสนองภาวะอารมณ์ได้ดี รวดเร็วทันใจ

  33. 9 กรกฎาคม 2555 รศ.ดร.มานพ คณะโต ไอซ์ อนาคตประเทศไทย กลุ่มผู้ใช้ไอซ์ มีกำลังซื้อ กลุ่มเข้าถึงยาก กลุ่มเข้าถึงได้ ชนชั้นสูง วัยรุ่นตอนปลาย ผู้ใหญ่ตอนต้น

  34. 9 กรกฎาคม 2555 รศ.ดร.มานพ คณะโต ไอซ์ อนาคตประเทศไทย แบบแผนการใช้ยาของผู้เสพไอซ์ อายุเฉลี่ย ต่ำสุด บุหรี่ 15.9 8 สุรา 16.3 10 กัญชา 16.4 11 ยาบ้า18.3 10 ไอซ์ 22.1 13

  35. 9 กรกฎาคม 2555 รศ.ดร.มานพ คณะโต ไอซ์ อนาคตประเทศไทย ยาบ้า ไอซ์ ผู้เสพไอซ์โดยไม่เสพยาบ้ามาก่อน ร้อยละ 3.6 เริ่มเสพในช่วงเวลาเดียวกันกับยาบ้า ร้อยละ 5.7 เสพยาบ้ามาก่อน ร้อยละ 90.7 ปัจจุบันเสพไอซ์อย่างเดียวไม่มียาตัวอื่น ร้อยละ 78.5 เสพเพื่อเสริมฤทธิ์ ร้อยละ 21.5 พบการเสพที่มีเป้าประสงค์เพื่อปรับอารมณ์และเพศสัมพันธ์

  36. 9 กรกฎาคม 2555 รศ.ดร.มานพ คณะโต ไอซ์ อนาคตประเทศไทย อายุเริ่มใช้ไอซ์ในช่วงเยาวชนร้อยละ 78.4 54.2% 21.6%

  37. 9 กรกฎาคม 2555 รศ.ดร.มานพ คณะโต ไอซ์ อนาคตประเทศไทย คุณลักษณะสำคัญของผู้เสพ มีกำลังซื้อ ครอบครัวไม่ขัดขวาง เป็นผู้ค้ารายย่อย อยากได้รับการยอมรับ สมัยนิยม ฟุ้งเฟ้อ สวยงาม บันเทิง เพศสัมพันธ์

  38. การยอมรับ ในกลุ่มเพื่อน 2.0 เท่า กระเทย/รักสวย 13 เท่า สมัยนิยม 11.9 เท่า ครอบครัวไม่ขัดขวาง 2.1 เท่า ชอบบันเทิง 2.9 เท่า เคยจัดหายา 7.0 เท่า เสพยาบ้า 7.5 เท่า ฟุ้งเฟ้อ 5.4 เท่า ผู้เสพไอซ์ 9 กรกฎาคม 2555 รศ.ดร.มานพ คณะโต ไอซ์ อนาคตประเทศไทย แนวโน้ม รศ.ดร.มานพ คณะโต

  39. 9 กรกฎาคม 2555 รศ.ดร.มานพ คณะโต ไอซ์ อนาคตประเทศไทย ปรับค่าความเสี่ยง ช่วงเชื่อมั่น นัยสำคัญ กระเทย/รักสวย 23.4 (9.1, 60.9) 0.000 เคยจัดหายา 5.9 (1.6, 21.4) 0.007 สมัยนิยม 15.1 (4.7, 48.2) 0.000 บันเทิง 2.6 (1.5, 4.4) 0.001 ฟุ้งเฟ้อ 3.0 (1.5, 6.2) 0.003 ประวัติใช้ยาบ้า 35.2 (12.9, 95.7) 0.000 อำนาจการพยากรณ์ 60.1%

  40. 9 กรกฎาคม 2555 รศ.ดร.มานพ คณะโต ไอซ์ อนาคตประเทศไทย ประเมินความเสี่ยงของเยาวชนตัวแทนทั่วประเทศ 3,795 คน อัตราผู้เสพคิดเป็น 4.9 เท่าของประชากรทั่วไป 16.9% ความเสี่ยงสูง 12.8% ป้องกันตนเองได้ 35.8% ความเสี่ยงปานกลาง 34.5% ความเสี่ยงต่ำ

  41. 9 กรกฎาคม 2555 รศ.ดร.มานพ คณะโต ไอซ์ อนาคตประเทศไทย ไอซ์มีแนวโน้มทดแทนยาบ้า

  42. 9 กรกฎาคม 2555 รศ.ดร.มานพ คณะโต ไอซ์ อนาคตประเทศไทย คาดประมาณความต้องการเสพไอซ์ของคนไทย ประมาณ 5.6 ตันต่อปี ในอีก 8 ปี จะมีคนไทยที่เคยมีประสบการณ์ใช้ไอซ์ถึง 1 ล้านคน อัตราผู้เสพไอซ์ในปัจจุบัน 156 คนต่อประชากร 100,000 คน (ฐานข้อมูลผู้เข้าบำบัดพบว่าอัตราผู้เสพไอซ์เข้ารับการบำบัด เพียง 4 คนต่อประชากร 100,000 คน)

  43. 9 กรกฎาคม 2555 รศ.ดร.มานพ คณะโต ไอซ์ อนาคตประเทศไทย ผลการศึกษา บ่งชี้ว่า การแพร่ระบาดของไอซ์รุนแรงขึ้น มีความเชื่อมโยงกับสารเสพติดชนิดต่างๆ ทั้งด้านอุปทาน และอุปสงค์ การใช้ไอซ์มีทั่วประเทศ และกระจายอยู่ทุกเพศ โดยกลุ่มที่เพิ่มมากขึ้นเป็นเพศหญิงและเยาวชน ส่วนใหญ่เสพโดยการเผาสูบควัน แต่พบการฉีดในสัดส่วนที่มากขึ้น ควรพิจารณาเรื่องการลดผลกระทบที่มากับการฉีด เตรียมรับกับปัญหา Overdose และโรคจิตร่วม โดยเฉพาะในกลุ่มไฮโซและกลุ่มที่เกี่ยวข้องกับความงามและเพศสัมพันธ์

  44. 9 กรกฎาคม 2555 รศ.ดร.มานพ คณะโต ไอซ์ อนาคตประเทศไทย www.isankku.com เครือข่ายพัฒนาวิชาการและข้อมูลสารเสพติด ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ชั้น 2 อาคารสถาบันวิจัยและพัฒนา เลขที่ 123 หมู่ 16 ถนนมิตรภาพ ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น 40002 โทร 043202838 email: isankku@hotmail.com

More Related