1 / 58

การจัดทำ มคอ .๓ รายละเอียดของรายวิชา C ourse S pecification

การจัดทำ มคอ .๓ รายละเอียดของรายวิชา C ourse S pecification. วันที่ ๒๖ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๖ ณ ห้องประชุมสร้อยสุวรรณา มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร. มคอ. 3 รายละเอียดของรายวิชา (course specification). หมวดที่ 1 ข้อมูลทั่วไป หมวดที่ 2 จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์ หมวดที่ 3 ลักษณะและการดำเนินการ

garan
Download Presentation

การจัดทำ มคอ .๓ รายละเอียดของรายวิชา C ourse S pecification

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การจัดทำ มคอ.๓รายละเอียดของรายวิชาCourse Specification วันที่ ๒๖ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๖ ณ ห้องประชุมสร้อยสุวรรณา มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร

  2. มคอ. 3 รายละเอียดของรายวิชา(course specification) หมวดที่ 1 ข้อมูลทั่วไป หมวดที่ 2 จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์ หมวดที่ 3 ลักษณะและการดำเนินการ หมวดที่ 4 การพัฒนาผลการเรียนรู้ของนิสิต หมวดที่ 5 แผนการสอนและการประเมินผล หมวดที่ 6 ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน หมวดที่ 7 การประเมินและปรับปรุงการดำเนินการของรายวิชา

  3. หมวดที่ 1 ข้อมูลทั่วไป 1. รหัสและชื่อรายวิชา 2. จำนวนหน่วยกิต 3. หลักสูตรและประเภทของรายวิชา • หลักสูตร ........................ (ถ้าเป็นรายวิชาศึกษาทั่วไป ใช้ว่า “หลายหลักสูตร”) • หมวดวิชา/กลุ่มวิชา/วิชา (บังคับ/เลือก)............... 4. อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาและอาจารย์ผู้สอน • ระบุใครเป็นผู้รับผิดชอบ/ผู้ประสานงาน/ผู้สอน • ใครสอนกลุ่มไหน หมู่ไหน

  4. หมวดที่ 1 ข้อมูลทั่วไป (ต่อ) 5. ภาคการศึกษา/ชั้นปีที่เรียน • ระบุตามแผนการศึกษาของหลักสูตร ที่เขียนไว้ใน มคอ. 2 หมวดที่ 3 ข้อ 3.1.4 แสดงแผนการศึกษาตลอดหลักสูตร 6. รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน (Pre-requisites) (ถ้ามี) 7. รายวิชาที่ต้องเรียนพร้อมกัน (Co-requisites) 8. สถานที่เรียน • ระบุสถานที่ทุกแห่ง ทั้งในและนอกที่ตั้งหลักของคณะ /วิทยาลัย 9. วันที่จัดทำหรือปรับปรุงรายละเอียดของรายวิชาครั้งล่าสุด (มติของ มรสน. ใช้วันที่สภามหาวิทยาลัยอนุมัติหลักสูตร มคอ.๒ หมวดที่ ๑ ข้อ ๖)

  5. ระบุตามแผนการศึกษาของหลักสูตร ที่เขียนไว้ใน มคอ. 2 หมวดที่ 3 ข้อ 3.1.4 แสดงแผนการศึกษาตลอดหลักสูตร 3.1.4 แสดงแผนการศึกษาตลอดหลักสูตร ชั้นปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1/2555 รหัสวิชา ชื่อวิชา หน่วยกิต น(ท-ป-อ) 32551201 ความรู้เบื้องต้นทางรัฐศาสตร์ 3(3-0-6) 32551202 ปรัชญาการเมือง 3(3-0-6) Xxxxxxxx วิชาเลือก...................................(1)....... 3(3-0-6) Xxxxxxxx วิชาเลือก...................................(2)....... 3(3-0-6) Xxxxxxxx วิชาศึกษาทั่วไปบังคับ................(1)....... 3(3-0-6) Xxxxxxxx วิชาศึกษาทั่วไปบังคับ................(2)....... 3(3-0-6) รวม 18 หน่วยกิต

  6. หมวดที 2. จุดมุ่งหมาย และวัตถุประสงค์ 1. จุดมุ่งหมายของรายวิชา • เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจ ในเรื่องอะไรบ้าง • มีทักษะ ความสามารถที่จะทำอะไรได้บ้าง (หากสอนหลายคนให้ใช้ มคอ.๓ ชุดเดียวกัน จุดมุ่งหมายเหมือนกัน) 2. วัตถุประสงค์ในการพัฒนา/ปรับปรุงรายวิชา • มีการเปลี่ยนแปลง มีความจำเป็น อะไรที่ทำให้ต้องมีการพัฒนา/ปรับปรุงรายวิชานี้ • มีการพัฒนา/ปรับปรุงใหม่ในเรื่องอะไรบ้าง • หากพัฒนา/ปรับปรุงแล้วจะส่งผลต่อนักศึกษาอย่างไร • ในการพัฒนา/ปรับปรุง มีสิ่งที่จะทำ อะไรบ้าง เพื่อจะให้บรรลุวัตถุประสงค์ในการพัฒนา/ปรับปรุงนี้

  7. หมวดที่ 3. ลักษณะและการดำเนินการ 1. คำอธิบายรายวิชา ลอกตามที่ระบุไว้ในหลักสูตร (มคอ.๒) 2. จำนวนชั่วโมงที่ใช้ต่อภาคการศึกษา

  8. หมวดที่ 3. ลักษณะและการดำเนินการ (ต่อ) 3. จำนวนชั่วโมงต่อสัปดาห์ที่อาจารย์ให้คำปรึกษาและแนะนำ ทางวิชาการแก่นิสิตเป็นรายบุคคล • กี่ชั่วโมงต่อสัปดาห์ • ใช้วิธีการใดในการติดต่อสื่อสาร เช่น – ประกาศเวลาให้คำปรึกษาที่หน้าห้องทำงาน – แจ้งในเว็บไซต์ – โทรนัดหมายล่วงหน้า – เป็นต้น

  9. หมวดที่ 4. การพัฒนาผลการเรียนรู้ของนักศึกษา • เขียนผลการเรียนรู้ในแต่ละด้าน • ให้สอดคล้องกับ Curriculum Mapping และ ธรรมชาติรายวิชา (ให้แนบ Curriculum Mapping ด้วย) • และสอดคล้องกับ มคอ. 3 หมวดที่ 2 ข้อ 1 จุดมุ่งหมายของรายวิชา (ข้อแนะนำ คัดลอกมาจาก มคอ.๒ หมวดที่ ๔ ข้อ ๒ การพัฒนาผลการเรียนรู้แต่ละด้าน ข้อ ๒.๒ หมวดวิชาเฉพาะ)

  10. ผลการเรียนรู้ (Learning Outcomes) คืออะไร? • ผลการเรียนรู้ หมายถึง สิ่งที่พัฒนาขึ้นในตัวนักศึกษา ทั้งจากการเรียนในห้องเรียน กิจกรรมในและนอกหลักสูตร ปฎิสัมพันธ์กับนักศึกษาอื่น กับอาจารย์ ประสบการณ์ที่เกิดขึ้นในช่วงเวลาที่ศึกษาอยู่ในมหาวิทยาลัย

  11. ผลการเรียนรู้ (Learning Outcomes) • ผลการเรียนรู้ ต้องวัดได้ และครอบคลุมถึง • สาระความรู้ ความเข้าใจในเนื้อหาวิชา • ทักษะหรือความสามารถในการนำความรู้ไปใช้ • พฤติกรรม ทัศนคติ แนวคิด ความเชื่อ อุปนิสัย • สกอ.กำหนดมาตรฐานผลการเรียนรู้อย่างน้อย 5 ด้าน(เอกสารแนบท้ายประกาศ สกอ. เรื่องแนวทางการปฏิบัติตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2552)

  12. การเรียนรู้ 5 ด้าน(5 Domains of Learning) • คุณธรรม จริยธรรม (คิดดี ทำดี รับผิดชอบการกระทำ) • ความรู้ (รู้ เข้าใจ) • ทักษะทางปัญญา (ความสามารถในการปฏิบัติ วิเคราะห์ สังเคราะห์ และประเมิน) • ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ (มนุษยสัมพันธ์ ความรับผิดชอบการทำงาน/การพัฒนาตนเอง) • ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ (สนับสนุนการเรียนรู้ด้านอื่นๆ และการประกอบอาชีพ)

  13. หมวดที่ 4. ผลการเรียนรู้ กลยุทธ์การสอนและการประเมินผล (ต่อ) 3. แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบต่อผลการเรียนรู้ จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum mapping, Curriculum alignment)

  14. (มคอ. 2) ตัวอย่าง แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบต่อผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping) • ความรับผิดชอบหลัก o ความรับผิดชอบรอง 14

  15. หมวดที่ 4. การพัฒนาผลการเรียนรู้ของนิสิต (ต่อ) 1. คุณธรรม จริยธรรม 1.1 คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา 1.2 วิธีการสอน 1.3 วิธีการประเมินผล 2. ความรู้ 2.1 ความรู้ที่ต้องได้รับ 2.2 วิธีการสอน 2.3 วิธีการประเมินผล

  16. หมวดที่ 4. การพัฒนาผลการเรียนรู้ของนิสิต (ต่อ) 3. ทักษะทางปัญญา 3.1 ทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา 3.2 วิธีการสอน 3.3 วิธีการประเมินผล 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 4.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ ต้องพัฒนา 4.2 วิธีการสอน 4.3 วิธีการประเมินผล

  17. หมวดที่ 4. การพัฒนาผลการเรียนรู้ของนิสิต (ต่อ) 5. ทักษะวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ 5.1 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีที่ต้องพัฒนา 5.2 วิธีการสอน 5.3 วิธีการประเมินผล

  18. หมวดที่ 5. แผนการสอนและการประเมินผล 1. แผนการสอน • เขียนให้สอดคล้องกับ Curriculum Mapping และธรรมชาติรายของวิชา (ดูคำอธิบายรายวิชา ประกอบ) • และสอดคล้องกับ มคอ. 3 หมวดที่ 4 การพัฒนาผลการเรียนรู้ของนักศึกษาแต่ละด้าน

  19. หมวดที่ 5. แผนการสอนและการประเมินผล (ต่อ) 2. แผนการประเมินผลการเรียนรู้ • ให้สอดคล้องกับ Curriculum Mapping และธรรมชาติรายวิชา และสอดคล้องกับ มคอ. 3 หมวดที่ 4 การพัฒนาผลการเรียนรู้ของนักศึกษา

  20. หมวดที่ 6. ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน • ให้สอดคล้องกับ มคอ. 3 หมวดที่ 5 ข้อ 1 แผนการสอน ด้วย 1. ตำราและเอกสารหลัก • เขียนแบบบรรณานุกรม 2. เอกสารและข้อมูลสำคัญ • ระบุมีอะไรบ้าง เช่น – หนังสือ วารสาร รายงาน – สื่ออิเล็กทรอนิกส์ เว็บไซต์ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ – กฎระเบียบต่าง ๆ – แหล่งศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม

  21. หมวดที่6. ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน (ต่อ) 3. เอกสารและข้อมูลแนะนำ • ระบุมีอะไรบ้าง เช่น – หนังสือ วารสาร รายงาน – สื่ออิเล็กทรอนิกส์ เว็บไซต์ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ – กฎระเบียบต่าง ๆ – แหล่งศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม

  22. หมวดที่ 7 การประเมิน และปรับปรุง การดำเนินการของรายวิชา • นำข้อมูลจาก มคอ. 2 หมวดที่ 8 ข้อ 1. การประเมินประสิทธิผลของการสอน มาดูประกอบ 1. กลยุทธ์การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา • จะมีวิธีการอย่างไร เช่น – การสนทนากลุ่มระหว่างอาจารย์กับนักศึกษา – การสะท้อนคิด (reflective journal) ของนักศึกษา – แบบประเมินอาจารย์ และแบบประเมินรายวิชา – การสังเกตพฤติกรรมของนักศึกษา – ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด ที่อาจารย์จัดทำ ไว้สื่อสารกับนักศึกษา

  23. มคอ. 2 หมวดที่ 8 ข้อ 1. หมวดที่ 8 การประเมินและปรับปรุงการดำเนินการของหลักสูตร 1. การประเมินประสิทธิผลของการสอน 1.1 การประเมินกลยุทธ์การสอน กระบวนการที่จะใช้ในการประเมินปรับปรุงยุทธศาสตร์ที่วางแผนไว้เพื่อพัฒนาการเรียนการสอนนั้น พิจารณาจากตัวผู้เรียนโดยอาจารย์ผู้สอนจะต้องประเมินผู้เรียนในทุกๆ หัวข้อว่ามีความเข้าใจหรือไม่ โดยอาจประเมินจากการทดสอบย่อย การสังเกตพฤติกรรมของนักศึกษา การอภิปรายโต้ตอบจากนักศึกษา การตอบคำถามจากนักศึกษาในชั้นเรียน ซึ่งเมื่อรวบรวมข้อมูลจากที่กล่าวข้างต้นแล้ว ก็ควรจะสามารถประเมินเบื้องต้นได้ว่าผู้เรียนมีความเข้าใจหรือไม่ หากวิธีการที่ใช้ไม่สามารถทำให้ผู้เรียนเข้าใจได้ก็จะต้องมีการปรับเปลี่ยนวิธีสอน การทดสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียนจะสามารถชี้ได้ว่าผู้เรียนมีความเข้าใจหรือไม่ หากพบว่ามีปัญหาก็จะต้องมีการดำเนินการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนในโอกาสต่อไป

  24. หมวดที่ 7 การประเมิน และปรับปรุง การดำเนินการของรายวิชา (ต่อ) 2. กลยุทธ์การประเมินการสอน • จะมีวิธีการอย่างไร เช่น – การสังเกตการสอนของผู้ร่วมทีมการสอน – ผลการสอบ/การเรียนรู้ – การทวนสอบผลการประเมินการเรียนรู้ – การประเมินโดยคณะกรรมการ ประเมินข้อสอบและวิธีการประเมิน

  25. หมวดที่ 7 การประเมิน และปรับปรุง การดำเนินการของรายวิชา (ต่อ) 3. การปรับปรุงการสอน • จะมีวิธีการอย่างไร เช่น – สัมมนา ประชุมปฏิบัติการการจัดการเรียนการสอน – การวิจัยในชั้นเรียน – การวิจัยอื่น ๆ 4. การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา • นำข้อมูลจาก มคอ. 2 หมวดที่ 5 ข้อ 2.1 การทวนสอบระดับรายวิชา ขณะนักศึกษายังไม่สำเร็จการศึกษา มาดูประกอบ

  26. มคอ. 2 หมวดที่ 5 ข้อ 2.1 หมวดที่ 5 หลักเกณฑ์ในการประเมินผลนักศึกษา 2. กระบวนการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษา อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาโดย 2.1 สุ่มประเมินรายละเอียดรายวิชาว่าครอบคลุมผลการเรียนรู้ที่กำหนดสอดคล้องกับความรับผิดชอบในหลักสูตร 2.2 สุ่มประเมินข้อสอบของรายวิชาว่าครอบคลุมผลการเรียนรู้ตามที่กำหนดในรายละเอียดวิชา 2.3 การเปรียบเทียบวิเคราะห์คะแนน 2.4 การใช้ข้อสอบกลาง หมวดวิชาศึกษาทั่วไปแล้วเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ย 2.5 แต่งตั้งคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ พิจารณาความเหมาะสมของข้อสอบ 2.6 ให้นักศึกษามีการประเมินผลการสอนของอาจารย์

  27. หมวดที่ 7 การประเมิน และปรับปรุง การดำเนินการของรายวิชา (ต่อ) • จะทำอย่างไร เช่น – มีคณะกรรมการในสาขาวิชาตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา (คะแนน/เกรด) โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน โครงการ วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรมของนักศึกษา – การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร และต้องมีความรู้ในวิชานี้

  28. หมวดที่ 7 การประเมิน และปรับปรุง การดำเนินการของรายวิชา (ต่อ) 5. การดำเนินการทบทวน และการวางแผนปรับปรุงประสิทธิผล ของรายวิชา • จะนำข้อมูลจากข้อ 1 – 4 มาวางแผนดำเนินการอย่างไร เช่น – ปรับปรุงรายวิชาทุกปี ตามผลการสัมมนาการจัดการเรียน การสอน – ปรับปรุงรายวิชาทุก 5 ปี ตามข้อเสนอแนะและผลจากการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ ในข้อ 4 – เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน

  29. ปัญหา • มคอ.3 ทำทุกรายวิชาหรือไม่ /ต้องสอดคล้องกับ มคอ.2 • ในการเขียนวิธีการสอน/วิธีการประเมินต้องคำนึงความเป็นไปได้

  30. รายงานผลการดำเนินการของรายวิชา (Course Report) หมายถึง รายงานผลการจัดการเรียนการสอนของอาจารย์ผู้สอนแต่ละรายวิชาเมื่อสิ้นภาคเรียน ในรายงานจะเกี่ยวกับภาพรวมของการจัดการเรียนการสอนในวิชานั้นๆ ว่าได้ดำเนินการสอนเป็นไปตามแผนที่วางไว้หรือไม่ มีปัญหาหรือข้อขัดข้องใดที่ทำให้มิได้สอนตามแผน พร้อมกับข้อเสนอแนะสำหรับการแก้ไขในการดำเนินการสอนครั้งต่อไป ในรายงานจะครอบคลุมถึงผลการเรียนของนักศึกษา จำนวนนักศึกษา การประเมินรายวิชาโดยนักศึกษา รวมทั้งการสำรวจความคิดเห็นของผู้ใช้บัณฑิต

  31. ความเชื่อมโยง มคอ. ๕ จะเชื่อมโยงกับ มคอ. ๓ในประเด็น… • ผลการเรียนรู้ วิธีสอน  วิธีการประเมิน • แผนการสอน  ประสิทธิภาพของกลยุทธ์การเรียนการ สอนที่ทำให้เกิดผลการเรียนรู้ • การประเมิน  โดยนักศึกษา  โดยวิธีอื่น • ผลกระทบจากทรัพยากรการบริหาร

  32. รายงานผลรายวิชาเป็นรายงานที่ต้องทำหลังจากเสร็จสิ้นการประเมินการสอนแต่ละรายวิชาแล้ว โดยต้องนำข้อมูลจาก • จุดมุ่งหมายของรายวิชามาใช้เป็นหลักในการจัดทำรายงาน • ใช้ข้อมูลจากการประเมินผลการเรียนรู้ตลอดภาคการศึกษาได้ปฏิบัติจริง รวมทั้งการประเมินกิจกรรม ต่างๆ ที่ได้จัดในระหว่างภาคการศึกษามาประกอบ

  33. ข้อมูลจากการประเมินผลการสอน/อาจารย์ โดยนักศึกษา • ผลการทวนสอบจากคณาจารย์อื่นภายในสาขาวิชา • 5. ผลการประเมินหรือความเห็นจากผู้เกี่ยวข้องอื่นที่อาจเป็นบุคคลภายนอก

  34. ส่วนประกอบของรายงาน ประกอบด้วย 6 หมวด ดังนี้ หมวดที่ 1 ข้อมูลทั่วไป หมวดที่ 2 การจัดการเรียนการสอนเปรียบเทียบกับ แผนการสอน หมวดที่ 3 สรุปผลการจัดการเรียนการสอนของรายวิชา หมวดที่ 4 ปัญหาและผลกระทบต่อการดำเนินการ หมวดที่ 5 การประเมินรายวิชา หมวดที่ 6 แผนการปรับปรุง

  35. รายงานผลการดำเนินการของรายวิชารายงานผลการดำเนินการของรายวิชา

  36. หมวดที่ 1 ลักษณะและข้อมูลโดยทั่วไปของรายวิชา

  37. หมวดที่ 2 การจัดการเรียนการสอนที่เปรียบเทียบกับแผนการสอน (นำข้อมูลจาก มคอ.๓ หมวด ๕ ข้อ ๕.๑ มาใช้โดยเปรียบเทียบกับข้อมูลจากการปฏิบัติจริง) รายงานให้ครบทุกชั่วโมงสอน

  38. รายงานให้ครบผลการเรียนรู้ทั้ง 5 ด้าน

  39. 4. ข้อเสนอแนะเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการเรียนการสอน การปรับปรุงกลยุทธ์การสอน ซึ่งมีผลต่อการประเมินตามตารางในหัวข้อ 3 หมวดที่ 2 (มคอ.๕) (ระบุข้อเสนอเพื่อการปรับปรุงวิธีสอน ซึ่งได้จากปัญหาที่พบในข้อ 3) ใช้วิธีการสอนแบบเดิมแต่ปรับปรุงคุณภาพในการจัดการกระบวนการเรียนรู้ของนักศึกษา ปรับเนื้อหาของกรณีตัวอย่าง ปรับสถานการณ์จำลองให้เหมาะสมกับเนื้อหาและเวลาและในการแสดงบทบาทสมมุติ

  40. สามารถเพิ่มเติม • ภารกิจอื่นๆที่นำมาบูรณาการเข้ากับการเรียนการสอน • งานวิจัย • งานบริการวิชาการ • งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม

  41. หมวดที่ 3 สรุปผลการจัดการเรียนการสอนของรายวิชา • จำนวนนักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียน 100 คน • จำนวนนักศึกษาที่คงอยู่เมื่อสิ้นสุดภาคการศึกษา 100 คน • จำนวนนักศึกษาที่ถอน (W)– คน • การกระจายของลำดับคะแนน (เกรด)

  42. การกระจายของลำดับคะแนน (เกรด)

  43. 7. การทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษา

  44. หมวดที่ 4 ปัญหาและผลกระทบต่อการดำเนินการ 4.1 ประเด็นด้านทรัพยากรประกอบการเรียนและสิ่งอำนวยความสะดวก อาจจะไม่มีก็ได้

  45. 4.2 ประเด็นด้านการบริหารและองค์กร

  46. หมวดที่ 5 การประเมินรายวิชา

More Related