1 / 32

Joint Commission International JCI

Joint Commission International JCI. โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรเพื่อรองรับมาตรฐานโรงพยาบาลนานาชาติ วันที่ 1-6 มีนาคม 2555. ณ โรงแรมเจ้าพระยาปาร์ค กรุงเทพมหานคร. รายชื่อผู้เข้าอบรม. นางสาวคนึงนิต บุรีเทศน์ นางอารีย์รัตน์ งามทิพยพันธุ์ นางหทัยรัตน์ บำเพ็ญแพทย์ นางดวงจันทร์ วงษ์สุวรรณ

gavin
Download Presentation

Joint Commission International JCI

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Joint CommissionInternationalJCI โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรเพื่อรองรับมาตรฐานโรงพยาบาลนานาชาติ วันที่ 1-6 มีนาคม 2555 ณ โรงแรมเจ้าพระยาปาร์ค กรุงเทพมหานคร

  2. รายชื่อผู้เข้าอบรม • นางสาวคนึงนิต บุรีเทศน์ • นางอารีย์รัตน์ งามทิพยพันธุ์ • นางหทัยรัตน์ บำเพ็ญแพทย์ • นางดวงจันทร์ วงษ์สุวรรณ • นางสาวพรทิพา ศุภราศรี • นางสาวมณีพรรณ ภิญโญวรพจน์ • นางสมรัตน์ ภาคีชีพ • นางสาวปริยา มาตาพิทักษ์ • นางนวลอนงค์ คำโสภา • นางสาวนิภัสสรณ์ บุญญาสันติ • นางมารยาท สุจริตวรกุล • นางณิชากร ชื่นอารมณ์ • นางรุ่งตวัน สุทธิวิเชียรโชติ • นายศุภกิจ แสวงผล รวม 14 คน

  3. เอกสารประกอบการประชุมเอกสารประกอบการประชุม • 1 มีค. 55 ImplementJCIday1.pdfInternational patient safety goals (IPSG) • 2 มีค. 55 ImplementJCIday2.pdfGovernance, Leadership & Direction (GLD) Management of Communication & Information (MCI) • 3 มีค. 55 ImplementJCIday3.pdfPatient and Family Right (PFR) Patinet and Family Education (PFE) • 4 มีค. 55 ImplementJCIday4.pdfAccess to Care and Continuity of Care (ACC) Assessment of Patient (AOP) • 5 มีค. 55 ImplementJCIday5.pdfCare of Patient (COP) • 6 มีค. 55 ImpkementJCIday6.pdfPrevention and Control of Infection (PCI) สนใจเอกสารประกอบการประชุม ติดต่อ ดวงจันทร์ วงษ์สุวรรณ ตึก EENT หญิง

  4. สถาบันที่เป็นวิทยากรตลอดการฝึกอบรมสถาบันที่เป็นวิทยากรตลอดการฝึกอบรม ศูนย์ฝึกอบรมมาตรฐานการบริการด้านสุขภาพระดับสากลแห่งประเทศไทย (Thai International Health Care Standard Training Center – TITC) มีพันธกิจอยู่ 3 ประการคือ   1. เพื่อนำองค์ความรู้ในมาตรฐานสากลที่เป็นที่ยอมรับในระดับนานาชาติอาทิเช่น Joint  Commission International (JCI) มาขยายองค์ความรู้ให้กับสถานพยาบาลทั่วประเทศรวมถึงการให้คำปรึกษาทางสาธารณสุข    กฎหมายและการออกแบบอาคารสถานที่และอื่นๆ อีกมากมาย 2. สร้างองค์ความรู้และนวัตกรรมโดยการค้นคว้าและวิจัยอย่างต่อเนื่องในด้านคุณภาพและมาตรฐาน  3. ขยายความร่วมมือระหว่างภาครัฐและภาคเอกชน ศาสตราจารย์แพทย์หญิงสุวรรณา เรืองกาญจนเศรษฐ์ ประธานกรรมการบริหารศูนย์ฝึกอบรมมาตรฐานการบริการด้านสุขภาพระดับสากลแห่งประเทศไทย ผู้อำนวยการศูนย์การแพทย์สิริกิติ์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี

  5. ที่ตั้ง ศูนย์การแพทย์สิริกิติ์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี

  6. อาจารย์นิติ เนื่องจำนงค์ผู้จัดการศูนย์ฝึกอบรมมาตรฐานการบริการด้านสุขภาพระดับสากลแห่งประเทศไทย

  7. JCI organizational • Joint Commission International (JCI) เป็นองค์กรที่ถือกำเนิดจาก The Joint Commission(สหรัฐอเมริกา) • ทั้งสององค์กรเป็นอิสระจากกัน, เป็นองค์กรไม่แสวงหาผลกำไร และไม่ขึ้นกับรัฐบาล • มาตรฐานของ JCI ได้มาจากแม่แบบ รางวัลคุณภาพแห่งชาติของประเทศสหรัฐอเมริกา หรือ The Malcolm Baldrige National Quality Award (MBNQA)ซึ่งเป็นต้นแบบรางวัลคุณภาพแห่งชาติที่ทั่วโลกนำไปประยุกต์ใช้ (เช่น TQA=Thailand Quality Award)

  8. พันธกิจของ JCI เพื่อส่งเสริมเกี่ยวกับความปลอดภัย และการพัฒนาคุณภาพของการบริการสุขภาพในระดับสากล ในด้าน • การให้การศึกษา • การเผยแผ่สื่อสิ่งพิมพ์ • การให้คำปรึกษา • การให้การรับรองมาตรฐาน

  9. ระดับในการดำเนินพันธกิจระดับในการดำเนินพันธกิจ ระดับสากล • มีการกำหนดมาตรฐานที่เป็นที่ยอมรับร่วมกันในระดับสากล • รวมทั้งเผยแผ่ความรู้ใหม่ ๆ ด้านคุณภาพและความปลอดภัยใน • การให้บริการด้านสุขภาพ ระดับประเทศ • ช่วยสนับสนุนในการสร้างบรรทัดฐานของคุณภาพที่เข้มแข็ง ระดับองค์การ • ให้การรับรอง, เป็นที่ปรึกษา และเป็นแหล่งข้อมูลความรู้ต่าง ๆ

  10. ปรัชญา • มีมาตรฐานที่ได้รับการยอมรับมากที่สุด • คำนึงถึงผู้ป่วยเป็นศูนย์กลาง • สามารถปรับให้เข้ากับวัฒนธรรมท้องถิ่นได้ • ให้องค์การสามารถดำเนินกิจกรรมด้านคุณภาพได้อย่างยั่งยืนและมีความสามารถในการพัฒนาได้อย่างต่อเนื่อง

  11. JCI ต่างจาก HA อย่างไร

  12. มาตรฐาน JCI แบ่งเป็น 2 หมวดหมวดที่ 1 มาตรฐานที่ยึดผู้ป่วยเป็นศูนย์กลาง

  13. หมวดที่ 2 มาตรฐานการจัดการองค์กรบริการสุขภาพ

  14. JCI เชื่อถือได้แค่ไหน ? • สิ่งที่ทำให้ JCI เป็นที่ยอมรับจากนานาประเทศ คือการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง การกำหนดหรือปรับปรุงมาตรฐานของ JCI   แต่ละข้อจะต้องมีผลงานวิจัยที่น่าเชื่อถือสนับสนุน JCI จึงมีการทำงานร่วมกับองค์กรชั้นนำหลายแห่ง  เช่น องค์การอนามัยโลก  (World Health Organization) เพื่อศึกษาค้นคว้าหาสาเหตุของปัญหา หรือความเสี่ยง และร่วมกันกำหนดแนวทางแก้ไขปัญหาที่ดีที่สุด และนำมาจัดทำเป็นมาตรฐานสากลต่อไป ตัวอย่างเช่น  JCI ร่วมกับองค์การอนามัยโลกจัดทำเป้าหมายความปลอดภัยของผู้ป่วยนานาชาติ (International Patient Safety Goals; IPSG) ซึ่งได้จากการรวบรวมอุบัติการณ์หรือเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์ในด้านสุขภาพที่เกิดขึ้นทั้งหมด มาจัดระดับความเสี่ยง, ความรุนแรง และโอกาสที่จะเกิด แล้วนำมาวิเคราะห์หาสาเหตุ และกำหนดเป็นมาตรฐานการดูแลผู้ป่วยอย่างปลอดภัยในระดับสากล

  15. International Patient Safety Goals: IPSG มีทั้งหมด 6 ข้อ ได้แก่

  16. International Patient Safety Goals International Patient Safety Goals 1: Identification การชี้บ่ง ตัวผู้ป่วย การบ่งชี้ตัวผู้ป่วยจะต้องใช้ข้อมูล อย่างน้อย 2 ตัวชี้บ่ง ร่วมกันเสมอ คือ ตัวชี้บ่งที่ 1 คือ ชื่อ-นามสกุล ของผู้ป่วย ตัวชี้บ่งที่ 2 คือ วันเดือนปีเกิด ของผู้ป่วย วิธีชี้บ่งผู้ป่วย • จากการการสอบถามขอ้อมูลจากผู้ปว่ ย ( Active Communication ) • จากการดูข้อมูลที่ระบุอยู่บนป้ายข้อมูลตรงกับข้อมูลที่เวชระเบียน หรือ Visit Number Slip ( Passive Communication ) • การบ่งชี้ในขั้นตอนแรกของแต่ละแผนกให้บ่งชี้ โดยวิธี Active Communication • ทั้งกรณีผู้ป่วยนอกและผู้ป่วยใน หลังจากนั้นให้ใช้วิธี Passive Communication

  17. International Patient Safety Goals International Patient Safety Goals 2 Prohibition of Dangerous Abbreviation Use ตัวย่ออันตรายห้ามใช้ • ตัวย่ออันตราย หมายถึง ตัวย่อที่ใช้ในการเขียนคำสั่งการรักษา ที่อาจทำให้เกิดความคลาดเคลื่อนหรือแปลความหมายที่ผิดไปจากเป้าประสงค์ ของผู้สั่งการรักษา ตัวอย่างตัวย่อห้ามใช้ ต้องการสื่อ intravenous ให้ใช้ “IV” ห้ามใช้ วงกลมรอบตัว V ต้องการสื่อ intramuscular ให้ใช้ “IM“ ห้ามใช้ วงกลมรอบตัว M • MS or MO ต้องการสื่อ Morphine sulfate ให้เขียนชื่อยาเต็ม • MgSO4 ต้องการสื่อ Magnesium sulfate ให้เขียนชื่อยาเต็ม • Q.D. QD or q.d. qdต้องการสื่อ Once daily ให้ใช้ Daily แทน

  18. กรณีที่เจ้าหน้าที่ พยาบาล และเภสัชกร พบการเขียนตัวย่ออันตราย • ให้สอบถามผู้ที่เขียนคำสั่งการรักษาทันที และเขียนกำกับด้วยคำที่ถูกต้อง • ลงชื่อกำกับและดำเนินการบ่งชี้ติดตามให้แพทย์ลงนามกำกับ • บันทึก Incident occurrence report ส่งมายังแผนกบริหารความเสี่ยงภายใน 24ชั่วโมง

  19. International Patient Safety Goals International Patient Safety Goals 2 Receiving Verbal Medical Order การรับคำสั่งการรักษาด้วยวาจา • เมื่อรับคำสั่งการรักษา ให้บันทึกคำสั่งการรักษา ใน Physician's Order Sheet หรือ OPD Record ทันที • กรณีที่คำาสั่งเป็น จุดทศนิยม ให้เขียน 0 ก่อนหน้าจุดทศนิยมและไม่ให้เขียน 0 หลังจุดทศนิยมเพื่อป้องกันการเข้าใจผิดพลาด • กรณีคำสั่งเป็นตัวเลขซึ่งอ่านออกเสียงแล้วอาจทำให้เข้าใจผิดเป็นตัวเลขอื่น เช่น เลขที่ลงท้ายด้วยคำว่า “เอ็ด” กับ“เจ็ด” (21 ,31กับ 27, 37) ควรอ่านว่า “สองหนึ่ง , สามหนึ่ง” กับ “สองเจ็ด , สามเจ็ด” เป็นต้น

  20. การรับคำสั่งการรักษาด้วยวาจาการรับคำสั่งการรักษาด้วยวาจา • กรณีคำสั่งการรักษาที่ฟังไม่ชัด ไม่แน่ใจ หรือบันทึกไม่ถูกอาจเนื่องจาก สาเหตุว่าคำนั้นไปพ้องเสียงกับคำอื่นหรือสะกดไมถู่ก ให้สอบถามกลับทันทีด้วยการสะกดคำ (Spelling) โดยใช้คำเปรียบเทียบกับพยัญชนะเพื่อสะดวกและให้มีความชัดเจนในการสื่อสาร โดยใช้ hospital Alphabet เช่น A =America หรือ B = Bangkok

  21. The Hospital Alphabet • A - America • B - Bangkok • C - Canada • D - Denmark • E - England • F - Finland • G - Germany • H - Hong Kong • I - India • J - Japan • K - Korea • L – London • M- Mexico • N - Netherland • P- Poland • Q - Queen • R - Russia • S - Singapore • T - Thailand • U - Ukraine • V - Vietnam • W - Washington • X - X –ray • Y - Yellow • Z - Zebra

  22. International Patient Safety Goals International Patient Safety Goals 2 Reporting of critical test and critical result การรายงานผลการตรวจวินิจฉัยที่ผิดปกติและมีความสำคัญต่อชีวิต

  23. International Patient Safety Goals International Patient Safety Goals 3 Improve the Safety of High- Alert Medications ความปลอดภัยในการใช้ยาที่ต้องระมัดระวังสูง • สถานที่เก็บยา : ทุกหน่วยบริการที่มีการสำรองยาหรือเก็บยา High Alert Drugs ให้แยกเก็บยา High Alert Drugs ออกจากยาอื่นๆ และพร้อมทั้งติดป้ายให้ชัดเจนที่ชั้นยา รวมทั้งยา

  24. International Patient Safety Goals การบริหารยา HAD • พยาบาล ต้อง ตรวจสอบคำสั่งแพทย์ใน Doctor order sheet กับ Medication Administration Record ให้ตรงกันก่อนการ ให้ยาทุกครั้ง • การเตรียมยาและการให้ยา กระทำโดยพยาบาล 2 ท่าน ซึ่งแยกกันกระทำการโดยอิสระ( independent ) เพื่อ Double check และ Co-sign • Monitor ค่า parameter , lab ที่ควรระวังและรายงานแพทย์ทันทีเมื่อพบความ ผิดปกติและพยาบาลลงบันทึกผลที่ทำการวัดหรือประเมินลงใน Nurse Note • พยาบาลผู้ทำการให้ยา ต้องตรวจสอบข้อควรระวัง / ข้อห้ามหลัก สำหรับยา นั้นๆ ที่แสดงใน MAR • กรณีมีการยกเลิกคำสั่งใช้ยาหรือมีคำสั่งให้หยุดใช้ยา ให้ส่งยาที่เหลือคืนแผนกเภสัชกรรมทันที

  25. International Patient Safety Goals International Patient Safety Goals International Patient Safety Goals 4 Eliminate wrong-site, wrong patient, wrong procedure surgery การป้องกันและลดความเสี่ยง ในการผ่าตัด ผิดตำแหน่ง ผิดคน ผิดหัตถการ • Mark site การทำเครื่องหมายบ่งชี้ตำแหน่งหรือข้างที่จะทำหัตถการหรือผ่าตัด • Mark site โดยแพทย์ผู้ทำหัตถการ /แพทย์ผู้ช่วยผ่าตัด ทำสัญลักษณ์ • เครื่องหมาย วงกลม บ่งชี้บริเวณที่ทำผ่าตัด/หัตถการสำหรับอวัยวะดังนี้ – อวัยวะที่มี 2 ข้าง – อวัยวะที่เป็นระยางค์ เช่น นิ้วมือ นิ้วเท้า แขน ขา – อวัยวะที่เป็นระดับหรือข้อ เช่น กระดูกสันหลัง • Mark site ด้วยปากกาชนิดพิเศษ( Marking pen) ที่ไม่ลบเลือนภายหลังจากที่ทำ ความสะอาดผิวเพื่อทำผ่าตัด( Drape)

  26. International Patient Safety Goals International Patient Safety Goals 5 Reduce the risk of health care-acquiredinfection การป้องกันและลดการติดเชื้อในโรงพยาบาล • ข้อบ่งชี้ในการล้างมือ • ก่อนสัมผัสผู้ป่วย • ก่อนทำหัตถการ • หลังสัมผัสผู้ป่วย หลังทำกิจกรรมพยาบาลหรือหัตถการ • หลังสัมผัสสิ่งคัดหลั่ง สิ่งปนเปื้อนอื่นๆ หลังสัมผัสเลือดหรือสารคัดหลั่งและบาดแผล • หลังสัมผัสสิ่งแวดล้อมรอบผู้ป่วย เช่น หลังสัมผัสสิ่งของเครื่องใช้ของผู้ป่วย • เมื่อให้การพยาบาลแต่ละตำแหน่งในผู้ป่วยรายเดียวกัน • หลังถอดถุงมือ • หลังเข้าห้องน้ำ

  27. International Patient Safety Goals • จุดที่ควรมี Alcohol Hand Rub ไว้บริการผู้รับบริการ – ภายในห้องผู้ป่วย – บนรถวัด vital sign – บนรถทำาแผล – รถแจกยา – บนรถ emergency – ในห้องเก็บของ sterile (ล้างมือด้วย AHR ก่อนหยิบของ Sterile) – บริเวณเตรียมยาฉีด – บนเคาน์เตอร์พยาบาล – หน้าลิฟท์ทุกชั้น – จุด finger scan

  28. International Patient Safety Goals International Patient Safety Goals International Patient Safety Goals 6 Reduce the risk of patient harm resulting from falls การป้องกันและลดความเสี่ยง จากการลื่นตก หกล้ม • Standard Fall Precaution • ตรวจสอบออด ให้อยู่ในสภาพพร้อมใช้งาน จัดออดเรียกพยาบาลให้อยู่ใกล้มือ ผู้ป่วย เพื่อกดออดเรียกได้ง่าย และกดออดเรียกพยาบาล เมื่อต้องการความ ช่วยเหลือ ติดป้ายเตือน ข้อความ “กรุณาเรียกเจ้าหน้าที่ถ้าต้องการลุกจากเตียง ทุกครั้ง” ที่หัวเตียงห้องผู้ป่วย • ปรับเตียงให้อยู่ในระดับต่ำสุด • ยกเหล็กกั้นเตียงขึ้นทั้งทุกด้าน และ ทวนสอบความเข้าใจให้ผู้ป่วย/ ผู้ดูแลทำให้ ดูว่าทำได้จริง • ล๊อคล้อเตียงทุกครั้ง

  29. ข้อดีของ JCI • เป็นมาตรฐานโรงพยาบาลนานาชาติระดับโลก สามารถรองรับ Medical hub • ใช้ต่อยอดงานคุณภาพ รพ เดิม HA • สร้างความมั่นใจได้ในด้านการฟ้องร้องทางกฎหมาย ?? • ผ่านมาตรฐาน ISQUA เหมือน HA • ข้อกำหนด JCI vsกฎหมายของประเทศนั้น ISQUA: The International Society for Quality in Health Care องค์กรด้านสังคมสำหรับคุณภาพในบริการสุขภาพระดับนานาชาติ

  30. ข้อด้อยของ JCI • ราคาแพง (ค่าเยี่ยมสำรวจ 3 ล้านบาท, ใช้ภาษาอังกฤษ) • มาตรฐานบางส่วนคล้ายหรือเหมือน HA • นโยบาย Medical hub – นโยบายกระทรวงสาธารณสุขไม่ชัดเจน • เป็น Audit mode ไม่เน้นการเรียนรู้ • Gold seal สามารถถูกถอดถอนได้

  31. Medical Hub: ศูนย์กลางทางการแพทย์ • ศิริราช ทุ่ม 7,000 ล้านบาท เปิด “เมดิคัล ฮับ” แห่งแรกในประเทศไทย 26 เม.ย.นี้ ภายใต้ชื่อ “รพ.ศิริราช ปิยมหาราชการุณย์”ขนาด 300 เตียง ให้บริการผู้ป่วยเหมือน รพ.เอกชน แต่เก็บค่ารักษาถูกกว่า ไม่แสวงหากำไร เน้นรักษาโรคซับซ้อนที่รักษายาก (จากเดลินิวส์ 7 กพ. 55)

  32. ขอบคุณค่ะ

More Related