1 / 34

การส่งเสริมองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการพัฒนาคุณภาพชีวิต ด้านสวัสดิการเด็ก สตรีและผู้สูงอายุ

การส่งเสริมองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการพัฒนาคุณภาพชีวิต ด้านสวัสดิการเด็ก สตรีและผู้สูงอายุ. โดย นายเสรีย์ วชิรถาวรชัย รองผู้อำนวยการสำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็กเยาวชน ผู้ด้อยโอกาสและผู้สูงอายุ (สท.) กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (พม.). วิสัยทัศน์ พม.

gemma-ware
Download Presentation

การส่งเสริมองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการพัฒนาคุณภาพชีวิต ด้านสวัสดิการเด็ก สตรีและผู้สูงอายุ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การส่งเสริมองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการพัฒนาคุณภาพชีวิต ด้านสวัสดิการเด็ก สตรีและผู้สูงอายุ โดย นายเสรีย์ วชิรถาวรชัย รองผู้อำนวยการสำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็กเยาวชน ผู้ด้อยโอกาสและผู้สูงอายุ (สท.) กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (พม.)

  2. วิสัยทัศน์ พม. “มุ่งสู่สังคมคุณภาพ บนพื้นฐานความรับผิดชอบร่วมกัน” พันธกิจ 1. สร้างระบบสวัสดิการให้ประชาชนมีหลักประกันและมีความมั่นคงในชีวิต 2. พัฒนาคนและสังคมให้มีคุณภาพและมีภูมิคุ้มกันต่อการเปลี่ยนแปลง 3. เสริมสร้างทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการพัฒนาสังคม 4. พัฒนาองค์ความรู้ ขีดความสามารถ และระบบการบริหารจัดการด้านการพัฒนาสังคม

  3. วิสัยทัศน์ สท.

  4. พันธกิจ สท. • พัฒนามาตรการ กลไก และนวัตกรรมในการส่งเสริมสวัสดิภาพและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิกลุ่มเป้าหมาย • บูรณาการการมีส่วนร่วมและเสริมสร้างความเข้มแข็งของภาคีเครือข่ายเพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีคุณภาพชีวิตที่ดีและมีความมั่นคงในการดำรงชีวิต • พัฒนาระบบบริหารจัดการและขีดความสามารถบุคลากรของ สท. ให้มีประสิทธิภาพ

  5. ภารกิจ/หน้าที่ ของ สท.

  6. ภารกิจ/หน้าที่ ของ สท. (ต่อ)

  7. ประเด็นยุทธศาสตร์ สท. • การเสริมสร้างพลังเครือข่ายให้มีส่วนร่วมในการพัฒนากลุ่มเป้าหมาย • การพัฒนาศักยภาพและสร้างภูมิคุ้มกันเด็กและเยาวชน • การพัฒนาศักยภาพและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิผู้ด้อยโอกาส • การเสริมสร้างความมั่นคงทางสังคมของผู้สูงอายุ • การเสริมสร้างมาตรการ/กลไกเพื่อรับรองการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน • ยกระดับสมรรถนะองค์กรตามหลักธรรมาภิบาล

  8. กฎหมายและกลไก การสนับสนุนภารกิจ สท. กฎหมายที่เกี่ยวข้อง กลไกที่สำคัญ ส่งเสริมสนับสนุนวิชาการและทรัพยากร • - พ.ร.บ.คุ้มครองเด็ก พ.ศ. 2546 • - พ.ร.บ.ส่งเสริมการพัฒนาเด็กและเยาวชนแห่งชาติ พ.ศ. 2550 • - พ.ร.บ.หอพัก พ.ศ. 2507 • - พ.ร.บ.ผู้สูงอายุ พ.ศ. 2546 • - พ.ร.บ.ส่งเสริมการจัดสวัสดิการ สังคม พ.ศ.2546 • - อนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก • - พิธีสารเลือกรับของอนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก • ระดับชาติ • - กดยช. • กผส. • กสค. • กคด. - อุดหนุนเงินสภาเด็กและเยาวชน - อุดหนุนเงินให้กับองค์กรพัฒนาเอกชนด้านผู้ด้อยโอกาส - สนับสนุนงบประมาณแก่ พมจ. - ค่าจัดการศพผู้สูงอายุ ระดับพื้นที่ - พมจ. , สสว. , ศพส. - สภาเด็กและเยาวชน - อผส/อพม./ศพค. - อปท. • คู่มือวิชาการและแนวทางการดำเนินงาน • องค์ความรู้ • การติดตามประเมินผล เด็ก เยาวชน ผู้ด้อยโอกาส และผู้สูงอายุ

  9. งานโครงการที่สำคัญ

  10. ตามมาตรา 4 ในพระราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก พ.ศ. 2546 “เด็ก” หมายความว่า บุคคลซึ่งมีอายุต่ำกว่าสิบแปดปีบริบูรณ์ แต่ไม่รวมถึงผู้ที่บรรลุนิติภาวะด้วยการสมรส “เด็กเร่ร่อน” หมายความว่า เด็กที่ไม่มีบิดามารดาหรือผู้ปกครองหรือมีแต่ไม่เลี้ยงดูหรือไม่สามารถเลี้ยงดูได้ จนเป็นเหตุให้เด็กต้องเร่ร่อนไปในที่ต่าง ๆ หรือเด็กที่มีพฤติกรรมใช้ชีวิตเร่ร่อนจนน่าจะเกิดอันตรายต่อสวัสดิภาพของตน ด้านเด็ก

  11. “เด็กกำพร้า” หมายความว่า เด็กที่บิดาหรือมารดาเสียชีวิต เด็กที่ไม่ปรากฏบิดามารดาหรือไม่สามารถสืบหาบิดามารดาได้ • “เด็กที่อยู่ในสภาพยากลำบาก” หมายความว่า เด็กที่อยู่ในครอบครัวยากจนหรือบิดามารดาหย่าร้าง ทิ้งร้าง ถูกคุมขัง หรือแยกกันอยู่และได้รับความลำบาก หรือเด็กที่ต้องรับภาระหน้าที่ในครอบครัวเกินวัยหรือกำลังความสามารถและสติปัญญา หรือเด็กที่ไม่สามารถช่วยเหลือตัวเองได้ • “เด็กพิการ” หมายความว่า เด็กที่มีความบกพร่องทางร่างกาย สมอง สติปัญญา หรือจิตใจ ไม่ว่าความบกพร่องนั้นจะมีมาแต่กำเนิดหรือเกิดขึ้นภายหลัง • “เด็กที่เสี่ยงต่อการกระทำผิด” หมายความว่า เด็กที่ประพฤติตนไม่สมควร เด็กที่ประกอบอาชีพหรือคบหาสมาคมกับบุคคลที่น่าจะชักนำไปในทางกระทำผิดกฎหมายหรือขัดต่อศีลธรรมอันดี หรืออยู่ในสภาพแวดล้อมหรือสถานที่อันอาจชักนำไปในทางเสียหาย ทั้งนี้ ตามที่กำหนดในกฎกระทรวง • ที่มา : พระราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก พ.ศ. 2546

  12. ข้อมูลประชากรเด็ก 7,270,027คน 7,656,253 คน รวม 14,926,280 คิดเป็นร้อยละ 23.16ของประชากรทั้งประเทศ ที่มา : รายงานสถานการณ์เด็กและเยาวชน สำนักงานส่งเสริมและพิทักษ์เยาวชน ปี 2555

  13. โครงการสำคัญ

  14. ด้านเยาวชน

  15. พรบ. ส่งเสริมการพัฒนาเด็กและเยาวชนแห่งชาติ พ.ศ. 2550 เยาวชน หมายถึง บุคคลซึ่งมีอายุตั้งแต่ 18 ปีบริบูรณ์ ถึง 25 ปีบริบูรณ์ 50.80% ร้อยละ 49.20 % 3,793,576 คน 3,674,266 คน เยาวชน (18 - 25 ปี)จำนวน 7,467,842 คน =11.59% ของประชากรทั้งประเทศ

  16. โครงการด้านเยาวชน

  17. ผู้ด้อยโอกาส • ผู้ด้อยโอกาส หมายถึง ผู้ประสบปัญหาความเดือดร้อนและได้รับผลกระทบในด้นเศรษฐกิจ สังคม การศึกษา สาธารณสุข กรเมือง กฎหมาย วัฒนธรรม ภัยธรรมชาติและภัยสงครามรวมถึงผู้ขาดโอกาสที่จะเข้าถึงบริการขั้นพื้นฐานของรัฐ ตลอดจนผู้ประสบปัญหาที่ยังไม่มีองค์กรหลักรับผิดชอบซึ่งจะทำให้ไม่สามารถดำรงชีวิตได้เท่าเทียมกับผู้อื่น แบ่งเป็น 5 ประเภท ได้แก่ ที่มา : สำนักส่งเสริมและพิทักผ็ด้อยโอกาส }สำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็กเยาวชนผู้ด้อยโอกาสและผู้สูงอายุ

  18. สถานการณ์ผู้ด้อยโอกาสสถานการณ์ผู้ด้อยโอกาส 12,795 คน 276,947 คน 351,775 คน 118,578คน 8.8 ล้าน คน ที่มา : สำนักส่งเสริมและพิทักษ์ผู้ด้อยโอกาส (สท.)

  19. โครงการด้านผู้ด้อยโอกาสโครงการด้านผู้ด้อยโอกาส

  20. ผู้สูงอายุ ตามพระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. 2546 ผู้สูงอายุ คือ บุคคลซึ่งมีอายุเกินหกสิบปีบริบูรณ์ขึ้นไป และมีสัญชาติไทย

  21. ข้อมูลประชากรผู้สูงอายุข้อมูลประชากรผู้สูงอายุ รวม8,970,740 คน 4,002,541 คน 13.85%ของประชากรทั้งประเทศ 44.62 % 4,968,199คน 55.38% ที่มา : กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย

  22. จำนวนประชากรรวม จำนวนประชากรสูงอายุ สัดส่วนของประชากรสูงอายุ และอายุมัธยฐานของประชากร พ.ศ. 2503- 2573 ที่มา: ข้อมูลปี พ.ศ. 2503-2533สำมะโนประชากรของประเทศไทย พ.ศ.2530-2543 สำนักงานสถิติแห่งชาติ ข้อมูลปี พ.ศ. 2543-2573 การคาดประมาณประชากรของประเทศไทย 2543-2573 (ข้อสมมติภาวะเจริญพันธุ์ปานกลาง) สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

  23. โครงการด้านผู้สูงอายุโครงการด้านผู้สูงอายุ

  24. ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ ชมรมผู้สูงอายุ หน่วยงานภาครัฐที่สนับสนุน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น กลุ่มองค์กรอื่นๆ กิจกรรมในศูนย์ 1. ส่งเสริมสุขภาพอนามัย : จัดให้มีมุมออกกำลังกาย และการให้ความรู้เรื่องการดูแลรักษาสุขภาพ 2. สนับสนุนการศึกษาและการเรียนรู้สำหรับผู้สูงอายุ : จัดให้มีมุมบริการข่าวสาร ความรู้ ด้านสุขภาพ ด้านกฎหมาย ด้านการศึกษา ฯลฯ และให้มีมุมแลกเปลี่ยนประสบการณ์ระหว่างผู้สูงอายุ 3. ส่งเสริมให้มีกิจกรรมด้านอาชีพ : จัดให้มีการฝึกอาชีพสำหรับผู้สูงอายุ และมุมจำหน่ายผลิตภัณฑ์ 4. ส่งเสริมการผลิต การจำหน่ายผลิตภัณฑ์และการรับงาน ไปทำที่บ้าน 5. การถ่ายทอดวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น 6. กิจกรรมนันทนาการศาสนา ประเพณี 7. จัดให้มีระบบฐานข้อมูลของผู้สูงอายุในพื้นที่ 8. ให้มีบริการให้คำปรึกษาตามความต้องการของผู้สูงอายุ 9. เป็นศูนย์ประสานงานอาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุ กิจกรรมนอกศูนย์ 1. การเยี่ยมบ้านผู้สูงอายุ 2. การเยี่ยมผู้สูงอายุที่เจ็บป่วย 3. ให้ความช่วยเหลือผู้สูงอายุที่ถูกทอดทิ้ง เดือดร้อน 4. การถ่ายทอดภูมิปัญญา 5. จิตอาสา 6. สร้างความสัมพันธ์ระหว่างวัย ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ คณะกรรมการศูนย์ ชมรมผู้สูงอายุ สมาชิกและอาสาสมัคร

  25. ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ(ต่อ)ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ(ต่อ)

  26. ข้อกำหนดของศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุข้อกำหนดของศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ 2. การบริหารจัดการภายในศูนย์ฯ 3. กิจกรรมในศูนย์ฯ 1. ด้านอาคารสถานที่ 1. จัดการประชุมคณะกรรมการบริหารศูนย์ฯ 2. จัดประชุมชมรมผู้สูงอายุ 3. จัดกิจกรรมด้านสังคม และอาชีพ 4. จัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพ 5. จัดกิจกรรมในด้านต่าง ๆ ตามความต้องการของผู้สูงอายุ • ปรับปรุงอาคารที่มีอยู่เดิม /ขยายพื้นที่เพื่อจัดให้มีมุมกิจกรรมต่างๆ และจัดให้มีสิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับผู้สูงอายุ เช่น ติดตั้งราวจับในห้องน้ำ ทางลาดบริเวณทางเข้าอาคาร เป็นต้น • จัดหาวัสดุครุภัณฑ์ ที่จำเป็นสำหรับการดำเนินงานและการบริหารจัดการศูนย์ • 1. การบริหารจัดการศูนย์ฯ • - ให้มีคณะกรรมการบริหารศูนย์ฯ โดยประธานศูนย์ต้องเป็นผู้แทนชมรมผู้สูงอายุ • - ชมรมผู้สูงอายุมีส่วนร่วมเป็นคณะกรรมการฯและสมาชิก • - มีระเบียบกฎเกณฑ์การดำเนินงานศูนย์ • - อปท.จัดหาบุคลากรประจำศูนย์ฯ อย่างน้อย 1 คน • - มีฐานข้อมูลผู้สูงอายุในพื้นที่ • - มีแผนงานในการจัดกิจกรรม • 2. การบริหารการเงินของศูนย์ • - รายได้จากการประสานแหล่งเงินทุนสนับสนุนการดำเนินงาน • - รายได้จากการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ของศูนย์

  27. ขั้นตอนการจัดตั้งศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุขั้นตอนการจัดตั้งศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ 1. จัดหาสถานที่ตั้งศูนย์ฯ (จัดหาอาคารใหม่ หรือปรับปรุงอาคารเดิมที่มีอยู่แล้ว) 2. จัดประชุมชี้แจงในระดับชุมชนเพื่อร่วมกันจัดตั้งศูนย์ โดยเป็นไปตามความต้องการของผู้สูงอายุ 3. จัดหาสมาชิกจากชมรมผู้สูงอายุในพื้นที่ 4. จัดตั้งคณะกรรมการบริหารฯ โดยประธานต้องเป็นผู้แทนชมรมผู้สูงอายุและจัดทำระเบียบ กฎเกณฑ์ของศูนย์ 5. จัดตั้งศูนย์ฯ และดำเนินกิจกรรม 6. ติดตามความก้าวหน้าเป็นระยะ

  28. เป้าหมาย /พื้นที่ดำเนินการ

  29. จบการนำเสนอ ถาม - ตอบ

More Related