1 / 45

การใช้บริการสุขภาพของชาวญี่ปุ่นที่เดินทางเข้ามาในประเทศไทย

การใช้บริการสุขภาพของชาวญี่ปุ่นที่เดินทางเข้ามาในประเทศไทย. โชติรส ลอองบัว 18 มกราคม 2551. ได้รับทุนสนับสนุนจากสำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ กระทรวงสาธารณสุข. หัวข้อในการนำเสนอ. ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา คำถามการวิจัย วัตถุประสงค์ของการศึกษา ระเบียบวิธีวิจัย ผลการศึกษา

Download Presentation

การใช้บริการสุขภาพของชาวญี่ปุ่นที่เดินทางเข้ามาในประเทศไทย

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การใช้บริการสุขภาพของชาวญี่ปุ่นที่เดินทางเข้ามาในประเทศไทย โชติรส ลอองบัว 18 มกราคม 2551 ได้รับทุนสนับสนุนจากสำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ กระทรวงสาธารณสุข 1

  2. หัวข้อในการนำเสนอ ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา คำถามการวิจัย วัตถุประสงค์ของการศึกษา ระเบียบวิธีวิจัย ผลการศึกษา ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย 2

  3. การไหลเข้ามาใช้บริการสุขภาพของชาวต่างชาติในรพ.เอกชนเพิ่มขึ้นการไหลเข้ามาใช้บริการสุขภาพของชาวต่างชาติในรพ.เอกชนเพิ่มขึ้น รายได้ 19,000 ล้านบาท ที่มา: กรมส่งเสริมการส่งออก,กระทรวงพาณิชย์ : 2546 3

  4. ความได้เปรียบโดยเปรียบเทียบของประเทศไทยความได้เปรียบโดยเปรียบเทียบของประเทศไทย 4

  5. ข้อตกลงการค้าบริการสุขภาพพัฒนาเร็วกว่าการพัฒนาข้อมูลข้อตกลงการค้าบริการสุขภาพพัฒนาเร็วกว่าการพัฒนาข้อมูล ไม่สามารถระบุตัวเลขการค้าบริการสุขภาพที่ชัดเจนได้ เนื่องจากระบบข้อมูลที่ยังไม่แยกการค้าบริการสุขภาพออกจากการค้าบริการด้านอื่นๆในการเจรจาแลกเปลี่ยนผลประโยชน์ต่อกัน ( Trade-off) อาจเกิดข้อเสียเปรียบในการดำเนินการเจรจาความตกลงหุ้นส่วนเศรษฐกิจระหว่างไทยกับญี่ปุ่น (Japan-Thailand Economic Partnership Agreement) หรือ JTEPA การคาดการณ์ ทำได้อย่างจำกัด อุปสงค์ของผู้ป่วยชาวต่างชาติต่อการใช้บริการสุขภาพ และอุปทานของทรัพยากรด้านสาธารณสุข มีความสมดุลกันหรือไม่ 5

  6. คำถามการวิจัย • ชาวญี่ปุ่นที่เดินทางเข้ามาในประเทศไทย มีลักษณะทางประชากร ลักษณะการเดินทาง การเจ็บป่วยระหว่างพำนักในประเทศไทยเป็นอย่างไร • การใช้บริการสุขภาพที่สถานพยาบาลของชาวญี่ปุ่นที่เดินทางเข้ามาในประเทศไทยเป็นอย่างไร • ประเทศใดบ้างที่ชาวญี่ปุ่นต้องการไปใช้บริการสุขภาพและมีเหตุผลในการตัดสินใจเลือกเป็นอย่างไร 6

  7. วัตถุประสงค์การวิจัยเพื่อศึกษาวัตถุประสงค์การวิจัยเพื่อศึกษา • คุณลักษณะทางประชากร ลักษณะการเดินทาง การเจ็บป่วยระหว่างพำนักในประเทศไทย และการใช้บริการสุขภาพในประเทศไทย • ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการใช้บริการสุขภาพที่สถานพยาบาลในประเทศไทย • ประเทศที่ชาวญี่ปุ่นต้องการไปใช้บริการสุขภาพและเหตุผลในการตัดสินใจเลือก 7

  8. ระเบียบวิธีการวิจัย • ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง • ชาวญี่ปุ่นเดินทางเข้ามาช่วงเดือนมีนาคม - เดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2548 • ขนาดกลุ่มตัวอย่างจำนวนทั้งหมด 2,520คน • วิธีการเก็บข้อมูลและเครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา • เก็บข้อมูล ณ บริเวณที่พักผู้โดยสารขาออกของสนามบินดอนเมือง • เป็นแบบสอบถามที่สร้างขึ้นตามวัตถุประสงค์ของการศึกษา • ขอบเขตและข้อจำกัดของการศึกษา • เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ • การคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างใช้วิธีการสุ่มแบบบังเอิญ • สถานที่เก็บข้อมูล ไม่กระจายทุกพื้นที่ 8

  9. ผลการศึกษา ส่วนที่ 1 ลักษณะทั่วไปของชาวญี่ปุ่นที่เดินทางเข้ามาในประเทศไทย ส่วนที่ 2 การใช้บริการสุขภาพที่สถานพยาบาลในประเทศไทย ส่วนที่ 3 การเลือกประเทศที่ต้องการไปใช้บริการสุขภาพของชาว ญี่ปุ่นที่เดินทางเข้ามาในประเทศไทย 9

  10. ส่วนที่ 1 ลักษณะทั่วไปของชาวญี่ปุ่นที่เดินทางเข้ามาในประเทศไทย ลักษณะทางด้านประชากร ร้อยละของกลุ่มตัวอย่าง จำแนกตามสถานที่ทำงาน/ศึกษา (จำนวนกลุ่มตัวอย่าง = 2,520 คน) 10

  11. ร้อยละของกลุ่มตัวอย่างจำแนกตามเพศและสถานที่ทำงาน/ศึกษา (จำนวนกลุ่มตัวอย่าง = 2,520 คน) 11

  12. ร้อยละของกลุ่มตัวอย่างจำแนกตามอายุและสถานที่ทำงาน/ศึกษา (จำนวนกลุ่มตัวอย่าง = 2,520 คน) 12

  13. ร้อยละของกลุ่มตัวอย่างจำแนกตามอาชีพและสถานที่ทำงาน/ศึกษา (จำนวนกลุ่มตัวอย่าง = 2,520 คน) 13

  14. ร้อยละของกลุ่มตัวอย่างจำแนกตามรายได้และสถานที่ทำงาน/ศึกษาร้อยละของกลุ่มตัวอย่างจำแนกตามรายได้และสถานที่ทำงาน/ศึกษา (จำนวนกลุ่มตัวอย่าง = 2,520 คน) 14

  15. ลักษณะการเดินทาง ส่วนที่ 1 ลักษณะทั่วไปของชาวญี่ปุ่นที่เดินทางเข้ามาในประเทศไทย(ต่อ) 15

  16. ร้อยละของกลุ่มตัวอย่าง จำแนกตามจำนวนครั้งที่เดินทางมาประเทศไทยในช่วง 1 ปี ที่ผ่านมาและสถานที่ทำงาน/ศึกษา (จำนวนกลุ่มตัวอย่าง = 2,520 คน) 16

  17. ร้อยละของกลุ่มตัวอย่างจำแนกตามระยะเวลาพำนักอยู่ในประเทศไทยครั้งนี้และสถานที่ทำงาน/ศึกษาร้อยละของกลุ่มตัวอย่างจำแนกตามระยะเวลาพำนักอยู่ในประเทศไทยครั้งนี้และสถานที่ทำงาน/ศึกษา (จำนวนกลุ่มตัวอย่าง = 2,520 คน) 17

  18. ร้อยละของกลุ่มตัวอย่างจำแนกตามจุดมุ่งหมายที่เดินทางมาประเทศไทยครั้งนี้และสถานที่ทำงาน/ศึกษา (จำนวนกลุ่มตัวอย่าง = 2,520 คน) 18

  19. การเจ็บป่วยระหว่างพำนักอยู่ในประเทศไทยการเจ็บป่วยระหว่างพำนักอยู่ในประเทศไทย ส่วนที่ 1 ลักษณะทั่วไปของชาวญี่ปุ่นที่เดินทางเข้ามาในประเทศไทย (ต่อ) 19

  20. ร้อยละของกลุ่มตัวอย่างจำแนกตามอาการป่วยระหว่างพำนักอยู่ในประเทศไทยในช่วง 1 ปีที่ผ่านมาและสถานที่ทำงาน/ศึกษา (จำนวนกลุ่มตัวอย่าง = 2,520 คน) 20

  21. ร้อยละของกลุ่มตัวอย่างจำแนกตามพฤติกรรมการแสวงหาบริการสุขภาพในช่วง 1ปีที่ผ่านมาและสถานที่ทำงาน/ศึกษา (จำนวนกลุ่มตัวอย่าง = 908คน) 21

  22. ร้อยละของกลุ่มตัวอย่างจำแนกตามการใช้บริการสุขภาพที่สถานพยาบาลในประเทศไทยในช่วง 1 ปีที่ผ่านมาและสถานที่ทำงาน/ศึกษา (จำนวนกลุ่มตัวอย่าง = 2,520คน) 22

  23. แบบแผนการใช้บริการสุขภาพที่สถานพยาบาลในแผนกผู้ป่วยนอกของประเทศไทยแบบแผนการใช้บริการสุขภาพที่สถานพยาบาลในแผนกผู้ป่วยนอกของประเทศไทย • ส่วนที่ 2 การใช้บริการสุขภาพที่สถานพยาบาลในประเทศไทย 23

  24. ร้อยละของกลุ่มตัวอย่างจำแนกตามจำนวนทั้งหมดที่ใช้บริการและสถานที่ทำงาน/ศึกษา (จำนวนกลุ่มตัวอย่าง = 424คน) 24

  25. ร้อยละของกลุ่มตัวอย่างจำแนกตามประเภทของสถานพยาบาลและสถานที่ทำงาน/ศึกษา (จำนวนกลุ่มตัวอย่าง = 424คน) 25

  26. ร้อยละของกลุ่มตัวอย่างจำแนกตามลักษณะของบริการที่ใช้บริการและสถานที่ทำงาน/ศึกษาร้อยละของกลุ่มตัวอย่างจำแนกตามลักษณะของบริการที่ใช้บริการและสถานที่ทำงาน/ศึกษา (จำนวนกลุ่มตัวอย่าง = 424คน) 26

  27. ร้อยละของกลุ่มตัวอย่างจำแนกตามค่ารักษาพยาบาลและสถานที่ทำงาน/ศึกษาร้อยละของกลุ่มตัวอย่างจำแนกตามค่ารักษาพยาบาลและสถานที่ทำงาน/ศึกษา (จำนวนกลุ่มตัวอย่าง = 424คน) 27

  28. ร้อยละของกลุ่มตัวอย่างจำแนกตามวิธีการจ่ายค่ารักษาพยาบาลและสถานที่ทำงาน/ศึกษา (จำนวนกลุ่มตัวอย่าง = 424คน) 28

  29. ร้อยละของกลุ่มตัวอย่างจำแนกตามปัญหาในการใช้บริการสุขภาพและสถานที่ทำงาน/ศึกษาร้อยละของกลุ่มตัวอย่างจำแนกตามปัญหาในการใช้บริการสุขภาพและสถานที่ทำงาน/ศึกษา 1 2 3 (จำนวนกลุ่มตัวอย่าง = 2,520คน) 29

  30. ร้อยละของกลุ่มตัวอย่างจำแนกตามข้อแนะนำและสถานที่ทำงาน/ศึกษาร้อยละของกลุ่มตัวอย่างจำแนกตามข้อแนะนำและสถานที่ทำงาน/ศึกษา 1 3 2 (จำนวนกลุ่มตัวอย่าง = 2,520คน) 30

  31. ปัจจัยที่มีอิทธิพลกับการใช้บริการสุขภาพที่สถานพยาบาลปัจจัยที่มีอิทธิพลกับการใช้บริการสุขภาพที่สถานพยาบาล ส่วนที่ 2 การใช้บริการสุขภาพที่สถานพยาบาลในประเทศไทย (ต่อ) 31

  32. ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการใช้บริการสุขภาพที่สถานพยาบาลปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการใช้บริการสุขภาพที่สถานพยาบาล (จำนวนกลุ่มตัวอย่าง = 424คน) 32 หมายเหตุ * p = < 0.10,* * p = < 0.05,* ** p = < 0.001

  33. ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการใช้บริการสุขภาพที่สถานพยาบาล (ต่อ) (จำนวนกลุ่มตัวอย่าง = 424คน) 33 หมายเหตุ * p = < 0.10,* * p = < 0.05,* ** p = < 0.001

  34. ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการใช้บริการสุขภาพที่สถานพยาบาล (ต่อ) (จำนวนกลุ่มตัวอย่าง = 424คน) 34 หมายเหตุ * p = < 0.10,* * p = < 0.05,* ** p = < 0.001

  35. ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการใช้บริการสุขภาพที่สถานพยาบาล (ต่อ) (จำนวนกลุ่มตัวอย่าง = 424คน) 35 หมายเหตุ * p = < 0.10,* * p = < 0.05,* ** p = < 0.001

  36. ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการใช้บริการสุขภาพที่สถานพยาบาล (ต่อ) (จำนวนกลุ่มตัวอย่าง = 424คน) 36 หมายเหตุ * p = < 0.10,* * p = < 0.05,* ** p = < 0.001

  37. ส่วนที่ 3 การเลือกประเทศที่ต้องการไปใช้บริการสุขภาพของชาวญี่ปุ่นที่เดินทางเข้ามาในประเทศไทย 37

  38. ประเทศที่ต้องการไปใช้บริการสุขภาพประเทศที่ต้องการไปใช้บริการสุขภาพ (จำนวนกลุ่มตัวอย่าง = 2,520คน) 38

  39. ความได้เปรียบเชิงเปรียบเทียบระหว่างประเทศไทยกับประเทศสิงคโปร์ความได้เปรียบเชิงเปรียบเทียบระหว่างประเทศไทยกับประเทศสิงคโปร์ 39 (จำนวนกลุ่มตัวอย่าง = 2,520คน)

  40. ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย ส่วนของภาครัฐ • 1. ด้านฐานข้อมูลความรู้ • บันทึกข้อมูลการค้าบริการสุขภาพแยกออกจากการค้าบริการด้านอื่นๆ • เก็บข้อมูลการใช้บริการสุขภาพของชาวต่างชาติเป็นฐานข้อมูลในการศึกษาอย่างต่อเนื่อง • ประเมินผลกระทบของการส่งเสริมให้ชาวต่างชาติเข้ามาใช้บริการสุขภาพในประเทศไทย และนำเสนอข้อมูลผลกระทบที่เกิดขึ้นต่อสาธารณชนอย่างทั่วถึงครบถ้วนและไม่บิดเบือนข้อมูล 40

  41. ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย ส่วนของภาครัฐ(ต่อ) • 2. ด้านบุคลากรด้านสุขภาพ • เพิ่มการผลิตบุคลากรในสาขาที่มีความต้องการในการใช้บริการสูง • พัฒนาบุคลากรเพิ่มขีดความสามารถ และทักษะทางด้านภาษาญี่ปุ่น • 3. พัฒนาด้านกฎหมายเช่น มาตรการเข้าเมืองของชาวต่างชาติ รวมทั้งความชัดเจนในการเบิกจ่ายค่ารักษาพยาบาล • เพิ่มมาตรการด้านความปลอดภัยและสิ่งอำนวยความสะดวก • ภาครัฐควรกำหนดมาตรฐานและควบคุมคุณภาพของการให้บริการสร้างความเชื่อมั่นในการเข้ามาใช้บริการ • 5. ติดตามสื่อมวลชนในต่างประเทศที่เผยแพร่เรื่องเกี่ยวกับประเทศไทย 41

  42. ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย กลยุทธ์ของภาคเอกชน • การเจาะตลาด (Market Penetration Strategy) • ปรับปรุงภาพลักษณ์และความเชื่อมั่นของผู้ใช้บริการ มาตรฐานการให้บริการ เช่น การรับรองมาตรฐานโรงพยาบาลสากล (Joint Commission International หรือ JCI) • ส่งเสริมการขาย สร้างแพ็คเกจสุขภาพจากบริการสุขภาพด้านต่างๆ เช่น ทำแพ็คเกจสปาร่วมกับการให้บริการทันตกรรม • 2. การพัฒนาตลาด (Market development) • ปรับปรุงบริการที่มีอยู่แล้ว เช่น กลุ่มนักท่องเที่ยวสูงอายุ กับการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม • ขยายสู่ตลาดใหม่ สร้างเครือข่ายกับธุรกิจด้านสุขภาพได้แก่ ธุรกิจประกันภัย • พัฒนาทรัพยากรบุคคล 42

  43. ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย • สร้างความแตกต่างทางการแข่งขัน • ความแตกต่างทางคุณลักษณะของสินค้า(Product attributes) เช่น เน้นสาขาโรคหรือบริการสุขภาพประเภทที่ยังไม่มีการให้บริการในญี่ปุ่น หรือหากมีก็ต้องใช้ค่าใช้จ่ายสูงมาก • ความแตกต่างทางการให้บริการ (Customer service) เช่น สร้างความสะดวกในการเบิกค่ารักษา โดยอาจตั้งสำนักงานเบิกค่ารักษาในประเทศไทย • ความแตกต่างด้านชื่อเสียง ทำให้เกิด Brand recognition และภาพลักษณ์ที่ดีต่อตราสินค้ากำหนดราคาให้เหมาะสม 43

  44. ธรรมนูญสุขภาพของไทย มาตรา 71 บริการสาธารณสุข จุดมุ่งหมายสำคัญ..น่าจะเป็นการให้คนในประเทศมีสุขภาพดีเป็นเป้าหมายหลัก ไม่เป็นไปเพื่อแสวงกำไรเชิงธุรกิจ 44

  45. ขอบคุณค่ะ終了 45

More Related