1 / 20

วันที่ 18 พฤศจิกายน 2556 ณ ห้องประชุมห้องลิไท โรงแรมเพชรโฮเต็ล จังหวัดกำแพงเพชร

วันที่ 18 พฤศจิกายน 2556 ณ ห้องประชุมห้องลิไท โรงแรมเพชรโฮเต็ล จังหวัดกำแพงเพชร. การประชุมจัดทำแผนยุทธศาสตร์และการถ่ายทอดตัวชี้วัด ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ๒๕๕๗. ตัวชี้วัดและการประเมินผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดยุทธศาสตร์ สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดกำแพงเพชร.

gloria-todd
Download Presentation

วันที่ 18 พฤศจิกายน 2556 ณ ห้องประชุมห้องลิไท โรงแรมเพชรโฮเต็ล จังหวัดกำแพงเพชร

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. วันที่ 18 พฤศจิกายน 2556 ณ ห้องประชุมห้องลิไท โรงแรมเพชรโฮเต็ล จังหวัดกำแพงเพชร การประชุมจัดทำแผนยุทธศาสตร์และการถ่ายทอดตัวชี้วัด ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ๒๕๕๗

  2. ตัวชี้วัดและการประเมินผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัดยุทธศาสตร์ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดกำแพงเพชร นายอิสระ บุญธรรม กลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข

  3. วิสัยทัศน์ : ภายในทศวรรษต่อไป คนไทยทุกคนจะมีสุขภาพแข็งแรงเพิ่มขึ้นเพื่อสร้างความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศทั้งทางตรงและทางอ้อมอย่างยั่งยืน เป้าหมายระยะ 10 ปี 1. อายุคาดเฉลี่ยเมื่อแรกเกิด ไม่น้อยกว่า 80 ปี 2. อายุคาดเฉลี่ยของการมีสุขภาพดี ไม่น้อยกว่า 72 ปี ยุทธศาสตร์ที่ 1: พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย ยุทธศาสตร์ที่ 2: พัฒนาและจัดระบบบริการที่มีคุณภาพมาตรฐาน ครอบคลุม ประชาชน สามารถเข้าถึง บริการได้พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย ยุทธศาสตร์ที่ 3 :พัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการระบบสนับสนุน ยุทธศาสตร์

  4. วิสัยทัศน์ (Vision) “ประชาชนกำแพงเพชร มีสุขภาพดี โดยการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนภายใต้การพัฒนาระบบสุขภาพอย่างมีมาตรฐาน ภายในปี 2568” 1.การพัฒนาระบบบริหารจัดการด้านสุขภาพที่มีคุณภาพและประสิทธิภาพตามหลักธรรมาภิบาล 2.การพัฒนาระบบบริการสุขภาพให้มีคุณภาพมาตรฐาน และระบบส่งต่อที่ไร้รอยต่อ (OP+IP) 3.การสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกัน ควบคุมโรค และคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ โดย การมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย (PP) ยุทธศาสตร์ 20 แผนงาน

  5. ตัวชี้วัด (Indicator) : ข้อบ่งชี้ของสภาพการณ์หรือสิ่งที่สะท้อนให้เห็นถึง สภาพการณ์ : ตัวแปรที่ช่วยวัดการเปลี่ยนแปลง

  6. การสร้างตัวชี้วัด การนับ (Count) - เป็นวิธีการวัดที่ง่ายที่สุด อัตรา(Rate) - เป็นการวัดความถี่ของเหตุการณ์ อัตราส่วน(Ratio) - เป็นส่วนที่แยกออกจากกันแล้วมาเปรียบเทียบกัน สัดส่วน(Proportion) - เป็นการวัดความสัมพันธ์ระหว่างส่วนหนึ่งต่อ ส่วนทั้งหมด ร้อยละ (Percentage) - เป็นค่าสัดส่วนคูณด้วย 100

  7. ตัวชี้วัดของอะไร ? ปัจจัยนำเข้า = ทรัพยากรการบริหารจัดการที่ต้องใช้ ได้แก่ เงิน บุคลากร (INPUT) หรือกำลังคน และวัสดุอุปกรณ์ เช่น อุปกรณ์การตรวจรักษา เวชภัณฑ์ และครุภัณฑ์อื่น ๆ กระบวนการ = กิจกรรมที่ได้กระทำตามแผนงาน หรือ โครงการนั้น ๆ (PROCESS) เช่น การฝึกอบรม การตรวจวินิจฉัย การเยี่ยมบ้าน วัดเป็นจำนวนครั้งของการทำกิจกรรม ผลงาน = สิ่งที่ได้หรือผลที่ได้ทันทีทันใดเมื่อปฏิบัติเมื่อกิจกรรมนั้น ๆ (OUTPUT) สิ้นสุดลง เช่น จำนวนผู้เข้าฝึกอบรม จำนวนสื่อที่ผลิต จำนวนเด็กที่ได้รับการฉีดวัคซีน

  8. ตัวชี้วัดของอะไร ? ผลลัพธ์ = ผลที่ได้ตามมาหลังจากเกิดผลงานแล้วจะ ออกมาใน (EFFECT) รูปของการเปลี่ยนแปลงความรู้ทัศนคติและพฤติกรรม หรือการปฏิบัติ เช่น มารดามีความรู้เพิ่มขึ้น มารดานำ บุตรมาฉีดวัคซีน เจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานได้ถูกต้อง K A P / B / S = ประสิทธิผลของงาน / แผนงาน / โครงการ ผลกระทบ = ผลที่คาดว่าจะเกิดในระยะสุดท้ายเป็นเรื่องของภาวะ (IMPACT) สุขภาพ เช่น การตายลดลง การป่วยลดลง ความพิการลดลง

  9. คุณลักษณะตัวชี้วัดที่ดีคุณลักษณะตัวชี้วัดที่ดี 1. Valid (ความตรง) : มีความเที่ยง สามารถวัดในสิ่งที่ต้องการวัดได้ 2. Objective (เป็นรูปธรรม) : ต้องมีการวัดเป็นหน่วยนับได้ 3. Reliable (เชื่อถือได้) : ถ้าวัดโดยบุคคลที่ต่างกันในสภาพการณ์ที่ คล้ายคลึงกันต้องได้ผลเหมือนกัน 4. Sensitive (ความไว) : ตัวชี้วัดต้องมีความไวต่อการเปลี่ยนแปลงของ สภาพการณ์ 5. Specific(ความจำเพาะเจาะจง): ต้องสะท้อนให้เห็นเฉพาะการเปลี่ยนแปลงใน สภาพการณ์ที่เกี่ยวข้องเท่านั้น

  10. ประเภทตัวชี้วัด ๑.ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ ๒.ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ ๓.ตัวชี้วัดเชิงขั้นตอน (Milestone) ของการดำเนินงาน ๔.ตัวชี้วัดผสมระหว่างปริมาณ กับ คุณภาพ (Hybrid)

  11. การขับเคลื่อนนโยบายตาม KPIs บทบาทของ Actors กระทรวง กรม สธน. เขตบริการสุขภาพ สคร./ศูนย์เขต พื้นที่/หน่วยบริการ

  12. นโยบายการกำกับติดตาม ประเมินผล WHEN วิธีการวัด รายงาน MIS โปรแกรมเฉพาะ ประเมิน Rapid Survey ระยะเวลาประเมินทุก ไตรมาส, 6, 12 เดือน

  13. ตัวชี้วัดปีงบประมาณ ๒๕๕๗ คู่มือรายละเอียดตัวชี้วัด(118ตัว) การดำเนินงานพัฒนาสุขภาพ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ 2557 กลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดกำแพงเพชร

  14. ๑.องค์ประกอบของรูปเล่ม๑.องค์ประกอบของรูปเล่ม ตัวอย่าง

  15. ๒.องค์ประกอบของรูปเล่ม๒.องค์ประกอบของรูปเล่ม ๖.๒ ยาเสพติดและบริการเฉพาะ

  16. ๓.องค์ประกอบของรูปเล่ม๓.องค์ประกอบของรูปเล่ม

  17. “MOU”

  18. สวัสดีครับ

  19. ตัวชี้วัดตามแนวคิดทฤษฎีระบบตัวชี้วัดตามแนวคิดทฤษฎีระบบ ปัจจัยนำเข้า กระบวนการ ผลงาน ผลลัพธ์ ผลกระทบ (Inputs) (Process) (Outputs) (Effects) (Impact) (Outcome) วัตถุประสงต์ จุดมุ่งหมาย (Objective) (Goal)

More Related