1 / 55

Solution Exchange: การจัดการความรู้ ผ่านอีเมล์ กับการพัฒนาแผนงาน โครงการ นโยบาย ด้านโรคเอดส์

การสัมมนาระดับชาติเรื่องโรคเอดส์ ครั้งที่ 12 วันที่ 27 – 29 พฤษภาคม 2552 อิมแพค เมืองทองธานี . Solution Exchange: การจัดการความรู้ ผ่านอีเมล์ กับการพัฒนาแผนงาน โครงการ นโยบาย ด้านโรคเอดส์. น.พ. ชัยยศ คุณานุสนธิ์ กองทุนประชากรแห่งสหประชาชาติ (UNFPA). วัตถุประสงค์ .

gloria
Download Presentation

Solution Exchange: การจัดการความรู้ ผ่านอีเมล์ กับการพัฒนาแผนงาน โครงการ นโยบาย ด้านโรคเอดส์

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การสัมมนาระดับชาติเรื่องโรคเอดส์ ครั้งที่ 12 วันที่ 27 – 29 พฤษภาคม 2552 อิมแพค เมืองทองธานี Solution Exchange: การจัดการความรู้ ผ่านอีเมล์ กับการพัฒนาแผนงาน โครงการ นโยบาย ด้านโรคเอดส์ น.พ. ชัยยศ คุณานุสนธิ์ กองทุนประชากรแห่งสหประชาชาติ (UNFPA)

  2. วัตถุประสงค์ • นำเสนอผลงานของเวทีเว็ปเสวนาประเด็นเอดส์ และส่งเสริมการนำไปใช้ให้กว้างขวางขึ้น • ระดมความคิดเห็น ข้อเสนอแนะของสมาชิก ในการพัฒนาการดำเนินงาน • แลกเปลี่ยนเทคนิกการถ่ายทอด ประสบการณ์ ที่มีประสิทธิภาพ

  3. วันนี้ ใคร ทำอะไร • วิทยากร 1. เล่าเรื่อง การจัดการความรู้ Solution Exchange 4. แบ่งปัน การเขียนตอบกระทู้ • ผู้ร่วมสัมมนา 2. ผู้เล่น จับกลุ่ม 2 – 4 หรือเดี่ยว ลองตอบกระทู้ 3. สังเกตการณ์ แล้ว แสดงความคิดเห็น

  4. Information v.s. Knowledge • ข้อมูล dataคืออะไร? • ข่าวสาร Informationคือ อะไร? • ความรู้ Knowledgeคืออะไร? • ทักษะ skills คือ อะไร? • ความเชี่ยวชาญ expertise คืออะไร? สิ่งเหล่านี้ เกี่ยวข้อง เชื่อมโยงกัน อย่างไรบ้าง

  5. ข้อมูล ข่าวสาร ความรู้ ทักษะ ความเชี่ยวชาญ • ตึกนี้สูง สองร้อยเมตร ยอดตึกมีเสาอากาศวิทยุ ตึกนี้ โดนฟ้าผ่าบ่อยๆ • เอชไอวี ติดต่อกันในครอบครัวมากขึ้น เด็กไม่เคารพผู้ใหญ่ • นักรณรงค์สามารถระดมความช่วยเหลือได้มาก หลังจากลองผิดลองถูกเป็นปีๆ • การจัดสัมมนาระดับชาติเรื่องโรคเอดส์ จัดได้ดีเหมือนเดิมทุกครั้ง

  6. Effective Web-based Writing อาจารย์สกุลศรี ศรีสารคาม

  7. Dhurakij Pundit University การสื่อสารออนไลน์ • การสื่อสารออนไลน์มีองค์ประกอบสำคัญ 4 อย่าง คือ • ผู้ส่งสาร (Sender) • สาร (Message) • ช่องทาง (Channel) • ผู้รับสาร (Receiver) • องค์ประกอบเพิ่มเติมอีก 2 ตัวคือ • คำติชม ปฏิกิริยาโต้ตอบ (Feedback) • สิ่งแวดล้อมที่รบกวน อุปสรรคการสื่อสาร (Environment Noise)

  8. Dhurakij Pundit University ลักษณะของผู้อ่านออนไลน์ • ผู้อ่านไม่อ่านทั้งเรื่องอย่างละเอียด แต่ใช้วิธีการ กวาดสายตา (scan) เพื่อหาสิ่งที่สนใจ หรือต้องการรู้ • ผู้อ่านไม่ชอบอ่านข้อความยาวๆ หรือต้องเลื่อนหน้าเยอะๆแต่ต้องการอ่านบทความ สั้น กระชับ และ ตรงประเด็น • ผู้อ่านไม่ชอบข้อความโฆษณาชวนเชื่อ แต่ต้องการ ข้อมูลที่เป็นข้อเท็จจริง มีประโยชน์

  9. Dhurakij Pundit University ลักษณะของผู้อ่านออนไลน์ • F-Pattern พื้นที่ที่ผู้อ่านบทเว็บจะให้ความสนใจในการอ่าน และกวาดสายตา

  10. Dhurakij Pundit University การเขียนเพื่อเว็บไซด์ และ สื่อออนไลน์ จาก F-Pattern พบว่า • ผู้อ่าน ไม่อ่านทุกถ้อยคำ ทุกประโยคภายในบทความ แต่ใช้การกวาดสายตาหาสิ่งที่สนใจ • หัวข้อเรื่องเป็นสิ่งที่คนจะสนใจ และ ดูว่าตรงกับสิ่งที่ต้องการรู้หรือไม่ • สองย่อหน้าแรกเป็นส่วนสำคัญที่ต้องให้ข้อมูลที่ดีที่สุด และใจความหลักของเรื่อง • ผู้อ่านกวาดสายตาไล่ลงมาทางซ้าย การใช้ subheads, paragraphs, and bullet points และ keyword จะช่วยให้ผู้อ่านกวาดสายตาและติดตามข้อมูลได้ง่าย

  11. Dhurakij Pundit University การเขียนเพื่อเว็บไซด์ และ สื่อออนไลน์ • เขียนด้วยวิธี Inverted Pyramid Style: เริ่มต้นเรื่องด้วยสิ่งที่สำคัญที่สุด • ข้อความต้องกระชับ ชัดเจน ตรงประเด็น • การใช้ภาษาง่ายๆ ไม่เป็นทางการ • ย่อหน้าสั้นๆ ยาวประมาณ 50-75 คำ และ หนึ่งความคิดต่อหนึ่งย่อหน้า

  12. Dhurakij Pundit University การเขียนเพื่อเว็บไซด์ และ สื่อออนไลน์ • ผู้อ่านต้องสามารถกวาดสายตาหาสิ่งที่ต้องการในข้อความได้ (scannable) • มี Keywordเพื่อง่ายต่อการกวาดสายตาหาข้อมูลของผู้อ่าน • Sub-headingแบ่งเนื้อหาออกเป็นประเด็น เป็นช่วง ผู้อ่านกวาดสายตารู้ว่ามีหัวข้อย่อยสำคัญอะไรบ้าง • bulleted lists • Not too much word count ข้อความต้องไม่ยาวเกินไป โดยปกติจำนวนคำที่ยังสามารถดึงอ่านบนเว็บได้ดีคือประมาณ 30-1250 คำ ถ้ามากกว่านี้ ความสนใจในเนื้อหาจะลดลง

  13. Dhurakij Pundit University การถ่ายทอดประสบการณ์สู่บทความ • การคิดประเด็น • เริ่มจากสิ่งที่ชำนาญ สิ่งที่สนใจ • เริ่มจากการแลกเปลี่ยนความเห็นต่อบทความของผู้อื่น • ลักษณะการเขียน • เขียนประสบการณ์ส่วนตัวในเรื่องนั้น + มีหลักฐานอ้างอิงจากส่วนอื่นประกอบ • อย่าใช้ภาษาทางการเกินไป การนำประสบการณ์มาเขียนเป็นความรู้เพื่อให้เกิดการแลกเปลี่ยน บทความต้อง “เป็นกันเอง” เพื่อให้คนอ่านอยากติดตาม และ อ่านง่าย • เขียนสิ่งที่คิด ปล่อยให้ไหลออกมา...แล้วค่อย rewrite ตามความเหมาะสม

  14. Dhurakij Pundit University Effective Online Discussion • ในการแลกเปลี่ยนความเห็นบน Forum คนที่เป็นสมาชิกควรมีบทบาท • Active Reader – เป็นผู้อ่านดีที่ และ ร่วมแสดงความคิดเห็น • Opinionates – เขียนบ่อยๆ คอมเมนต์และแสดงความคิดเห็นในทุกเรื่อง • Starters – คนต้นเรื่อง เปิดประเด็น ถามคำถาม กระตุ้นให้มีโต้ตอบภายใน forum • Seekers – คนที่ชอบหาข้อมูล หาเรื่องราวต่างๆ มาแชร์กับสมาชิกคนอื่น

  15. Dhurakij Pundit University Effective Online Discussion • ตั้งคำถามเพื่อให้การแลกเปลี่ยนดำเนินต่อไป • นำเสนอ / publish สิ่งที่ได้จากการ discussion สู่ public เช่น สร้าง platform / blog / website สำหรับนำเสนอข้อคิด แนวคิด หรือผลจากการ discussion ให้คนอื่นได้รู้ เป็นการขยายวงของการแลกเปลี่ยนประสบการณ์

  16. Dhurakij Pundit University If article goes public… • เนื้อหาที่ดี • อ่านเข้าใจง่าย ไม่ต้องใช้เวลานาน • เป็นแหล่งข้อมูล และ มีการอ้างอิงที่ดี • มีความน่าเชื่อถือ สร้างได้ด้วย “Outbound Links” • ต้องหาได้เจอ • Keyword ภายในบทความทำให้ search engine หาเจอ • Link ที่มีคุณภาพจะได้รับการจัดอันดับที่ดีกว่า

  17. Thank You ! อาจารย์สกุลศรี ศรีสารคาม

  18. เวทีเว็บเสวนาประเด็นเอดส์เวทีเว็บเสวนาประเด็นเอดส์ สำหรับชุมชนคนทำงานด้านเอดส์ประเทศไทย Jintana Sriwongsa, UNFPA

  19. ความเป็นมา • พฤศจิกายน 2550 ริเริ่มโดยกองทุนประชากรแห่งสหประชาชาติ (UNFPA) • ทำสำเร็จมาแล้วที่องค์การสหประชาชาติประเทศอินเดีย มีชุมชน 13 ชุมชน • กองทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติ(UNICEF)กองทุนเอดส์แห่งสหประชาชาติ(UNAIDS)ภายใต้การสนับสนุนของสำนักงานผู้ประสานงานองค์การสหประชาชาติ (UNRC) • ชุมชนออนไลน์ • เปิดโอกาสให้กับบุคลากร เจ้าหน้าที่ คนทำงานที่มีความสนใจในประเด็นที่คล้ายคลึงหรือประเด็นเดียวกัน ได้มาร่วมแลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์ที่เป็น “แนวทางหรือสิ่งที่ปฏิบัติในพื้นที่” • เพื่อหาแนวทางการแก้ปัญหาร่วมกันและลดการทำงานซ้ำซ้อนกับบุคคลอื่น

  20. เวทีนี้ทำงานอย่างไร • สมาชิกส่งคำถามถึงเพื่อนสมาชิกผ่านผู้ดำเนินรายการ • เพื่อนสมาชิกช่วยกันตอบ นำเสนอ แลกเปลี่ยนประสบการณ์ • ทีมผู้ดำเนินรายการจัดทำรายงานสรุปและส่งให้สมาชิกทุกท่าน

  21. ประโยชน์ที่สมาชิกจะได้รับประโยชน์ที่สมาชิกจะได้รับ • ได้รับแนวทางการแก้ไขปัญหาที่หลากหลายและครอบคลุมจากเพื่อนสมาชิกผ่านทางอีเมล์ • ได้รับรายงานสรุปที่รวม • บทบาทของผู้ปกครองในการให้ความรู้เรื่องเพศศึกษา • บริการด้านอนามัยการเจริญพันธุ์ที่เป็นมิตรสำหรับเยาวชน • สุขภาพดี มีสุข ของเยาวชนผู้ติดเชื้อ เอช ไอ วี • การวางแผนครอบครัวสำหรับเยาวชน • ข้อคิดเห็นต่อคู่มือ “มาตรฐาน บริการสุขภาพและอนามัยการเจริญพันธุ์ สำหรับวัยรุ่น” • ส่งประเด็นที่ท่านต้องการข้อคิดเห็น ข้อเสนอแนะ แนวทางในการทำงาน ประสบการณ์เข้ามาที่ผู้ดำเนินรายการ sriwongsa@unfpa.org

  22. ประโยชน์ที่สมาชิกจะได้รับประโยชน์ที่สมาชิกจะได้รับ • เสริมสร้างประสิทธิภาพของแผนงานและโครงการ • เวทีนี้จะช่วยเป็นสื่อกลางในการเชื่อมโยงคนทำงานที่มีความสนใจในประเด็นคล้ายๆกัน • ช่วยในการสร้างความยอมรับในกลุ่มเพื่อนวิชาชีพเดียวกัน • ได้รับความรู้ที่สอดคล้องกับความต้องการของสมาชิก

  23. สมาชิกของเรา 789 ท่าน

  24. สมาชิกของเรา • มาจากบุคลากรหลากหลายสาขาวิชาชีพ • ภาครัฐและองค์กรพัฒนาเอกชน • องค์กรภาคีร่วมในงานพัฒนา • องค์กรภาคเอกชน • มูลนิธิ สมาคม • นักวิจัย นักวิชาการ • ผู้ที่สนใจในประเด็นเอดส์และเยาวชนอื่นๆ

  25. ประเด็นคำถามที่ดำเนินการมาแล้วประเด็นคำถามที่ดำเนินการมาแล้ว • บทบาทของผู้ปกครองในการให้ความรู้เรื่องเพศศึกษา28 มกราคม 2551 • จากคุณ รุ่งรัตน์ ศรีสุริยเวศน์, มหาวิทยาลัยบูรพา, ชลบุรี • ผู้ร่วมแสดงความคิดเห็น 16 ท่าน • บริการด้านอนามัยการเจริญพันธุ์ที่เป็นมิตรสำหรับเยาวชน25 กุมภาพันธุ์ 2551 • จากคุณ อธิคม ดู่คำ, บ้านสคูล, เชียงราย • ผู้ร่วมแสดงความคิดเห็น 21 ท่าน

  26. ประเด็นคำถามที่ดำเนินการมาแล้วประเด็นคำถามที่ดำเนินการมาแล้ว • สุขภาพดี มีสุข ของเยาวชนผู้ติดเชื้อ เอช ไอ วี • 12 มีนาคม 2551 • จากคุณ ฟาริดา ลังกาฟ้า, COERR, เชียงใหม่ • ผู้ร่วมแสดงความคิดเห็น 14 ท่าน • การวางแผนครอบครัวสำหรับเยาวชน • 6 สิงหาคม 2551 • จากคุณ ก. กีริด้า, ผู้แทนประจำประเทศไทย กองทุนประชากรแห่งสหประชาชาติ (UNFPA), กรุงเทพฯ • ผู้ร่วมแสดงความคิดเห็น 22 ท่าน

  27. ประเด็นคำถามที่ดำเนินการมาแล้วประเด็นคำถามที่ดำเนินการมาแล้ว • ข้อคิดเห็นต่อคู่มือ “มาตรฐาน บริการสุขภาพและอนามัยการเจริญพันธุ์ สำหรับวัยรุ่น” • 23 กันยายน 2551 • จากนพ. กิตติพงศ์ แซ่เจ็ง, กองอนามัยการเจริญพันธุ์, กระทรวงสาธารณสุข, นนทบุรี • ผู้ร่วมแสดงความคิดเห็น 17 ท่าน

  28. เพศศึกษาในประเทศไทย • คุณอัจฉรา สิทธิรักษ์ จากวิทยาลัยพยาบาลบรมราชนนี นครลำปาง • ประสบการณ์การทำงานเพศศึกษา ทำอย่างไร • ปัญหา อุปสรรค ความสำเร็จ • หลักสูตรที่ใช้ • เพศศึกษาในบ้านเมืองอื่น

  29. รายงานสรุปประกอบด้วย • ประเด็นคำถาม • รายชื่อสมาชิกที่ตอบพร้อมรายละเอียดการติดต่อ • บทสรุป • ประสบการณ์ที่เกี่ยวข้อง • เอกสาร รายงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง • หน่วยงาน ผู้เชี่ยวชาญที่ทำงานด้านนี้ • การอบรม การสัมมนาที่เกี่ยวข้อง • ข้อเสนอแนะของสมาชิกฉบับเต็ม

  30. แล้วจะนำรายงานสรุปไปใช้อย่างไรแล้วจะนำรายงานสรุปไปใช้อย่างไร • การจัดการความรู้อีกรูปแบบหนึ่ง • เจอช่องว่าง ส่วนขาดของการทำงานในพื้นที่ • ปรับปรุงแผนงาน โครงการของตนเอง • นำไปผลักดันเชิงนโยบายได้ โดยผ่านการได้รับอีเมล์ทุกวันของสมาชิกหรือการประชุม สัมมนา เช่น การปรับปรุงคู่มือมาตรฐานงานอนามัยการเจริญพันธุ์ของวัยรุ่น • ประชาสัมพันธ์โครงการ การทำงานในพื้นที่

  31. จะเข้าร่วมเป็นสมาชิกในเวทีนี้ได้อย่างไรจะเข้าร่วมเป็นสมาชิกในเวทีนี้ได้อย่างไร • ไม่มีค่าใช้จ่าย • ลงทะเบียนด้วยตัวเองออนไลน์ได้ที่ http://www.solutionexchange-un.net.in/Thailand/AIDS/index-en.htm • หรือ กรอกใบสมัคร • หรือ e-mail sriwongsa@unfpa.org

  32. การนำไปใช้พัฒนาแผนงานโครงการการนำไปใช้พัฒนาแผนงานโครงการ ยุพา พูนขำ กองอนามัยการเจริญพันธุ์ กรมอนามัย

  33. กลวิธีหลักในการพัฒนา สุขภาพและอนามัยการเจริญพันธุ์วัยรุ่นและเยาวชน ตัวอย่างกิจกรรม/โครงการ ตัวอย่างโครงการ • พัฒนาความรู้และทักษะสุขภาพและRH • ครอบครัวศึกษา(เพศศึกษา/RH) • ทักษะชีวิต สุข ภาพ และอนามัยการเจริญพันธุ์ ดีขึ้น + • อบรมพ่อแม่ • Empower แกนนำ/สภาเด็กและเยาวชน • ร.พ.ส่งเสริมสุขภาพ • ร.ร.ส่งเสริมสุขภาพ • เมือง/ชุมชนน่าอยู่ • นโยบาย/การบังคับใช้กม/กมRH • พัฒนาสิ่งแวดล้อมให้เอื้อและสนับสนุน + • ส่งเสริมให้เข้าถึงบริการสุขภาพและRH • การให้การปรึกษา • Friendly health and RH services 34

  34. เครื่องมืออะไร ที่ช่วยสื่อสารให้โรงพยาบาล……แห่ง พัฒนาคุณภาพบริการให้มีความเป็นมิตร และตอบสนองตามความต้องการ ของวัยรุ่นและเยาวชน Adolescent Friendly Health Services

  35. มาตรฐานบริการสุขภาพ และอนามัยการเจริญพันธุ์สำหรับวัยรุ่น Adolescent Friendly Health Services

  36. ประชุมปฏิบัติการจัดทำมาตรฐาน AFHS ณ โรงแรมเอกไพลิน จ.กาญจนบุรี งานวิจัยและ เอกสารวิชาการ วัยรุ่น มาตรฐาน AFHS ผู้มีประสบการณ์ ทำงานกับวัยรุ่น ผู้บริหารและ ผู้ให้บริการ ที่เข้าร่วมโครงการ ผู้ทรงคุณวุฒิ HA และ HPH ผู้มีประสบการณ์ ทำ Friend Corner

  37. 2.1 เครือข่ายผู้รับบริการ 2.2 ประชาสัมพันธ์บริการและข้อมูลข่าวสาร 2.3 เวทีประชาคม/เวทีสัญจร 2.4 การจัดบริการและกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพในองค์กรภาคีเครือข่ายและในชุมชน (18 ข้อ) องค์ประกอบที่ 2 การเข้าถึงและ create demand 1.1 วิสัยทัศน์และนโยบาย 1.2 คณะทำงาน 1.3 แผนงานและโครงการ 1.4 การจัดเก็บข้อมูลบริการ 1.5 การประชาสัมพันธ์ 1.6 ภาคีและเครือข่าย 1.7 สนับสนุนและควบคุมกำกับ 1.8 การประเมินผล (29 ข้อ) 2.1 เครือข่ายผู้รับบริการ 2.2 ประชาสัมพันธ์บริการและข้อมูลข่าวสาร 2.3 เวทีประชาคม/เวทีสัญจร 2.4 การจัดบริการและกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพในองค์กรภาคีเครือข่ายและในชุมชน (25 ข้อ) องค์ประกอบที่ 1 การบริหารจัดการ องค์ประกอบที่ 3 บริการครอบคลุม มาตรฐาน บริการสุขภาพ และอนามัยการเจริญพันธุ์ สำหรับวัยรุ่น (ในโครงการพัฒนาบริการสุขภาพ และอนามัยการเจริญพันธุ์สำหรับวัยรุ่น) 4.1 สถานที่และสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการใช้บริการของวัยรุ่น 4.2 ระบบ/ขั้นตอนการให้บริการที่มีประสิทธิภาพและเหมาะสมสำหรับวัยรุ่น 4.3 มีเครือข่ายการให้บริการที่มีประสิทธิภาพ (14 ข้อ) 5.1 การเสริมสร้างทัศนคติและความมุ่งมั่นในการให้บริการวัยรุ่นและเยาวชนแก่ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องในเครือข่ายทั้งภายในและภายนอกองค์กร 5.2 ผู้ให้บริการมีความเป็นมิตร (4 ข้อ) องค์ประกอบที่ 4 ระบบบริการมี ประสิทธิภาพ และเป็นมิตร องค์ประกอบที่ 5 ผู้ให้บริการ กองอนามัยการเจริญพันธุ์ กรมอนามัย กองอนามัยการเจริญพันธุ์ กรมอนามัย 38 38

  38. ข้อมูล ผลการประเมินมาใช้ ปรับมาตรฐานฯเป็น National Standard AFHS ทดลองใช้มาตรฐานฯ 1) รพ. สุรินทร์ 2) รพ. ลพบุรี 3) รพ. มะการักษ์ 4) รพ. สันป่าตอง 5) ศูนย์อนามัยที่ 1 6) ศูนย์อนามัยที่ 3 7) ศูนย์อนามัยที่ 4 8) ศูนย์อนามัยที่ 5 9) ศูนย์อนามัยที่ 6 10) ศูนย์อนามัยที่ 7 11) ศูนย์อนามัยที่ 10 12) ศูนย์อนามัยที่ 12

  39. กรมอนามัยต้องการข้อเสนอแนะในการปรับ คู่มือมาตรฐานบริการสุขภาพและอนามัยการเจริญพันธุ์สำหรับวัยรุ่น

  40. ผู้ให้ข้อเสนอแนะ/ข้อคิดเห็น ต่อคู่มือมาตรฐานบริการสุขภาพและอนามัยการเจริญพันธุ์สำหรับวัยรุ่นผ่าน Solution Exchange • UN • เครือข่ายเยาวชน • กลุ่มเยาวชน • นักวิชาการอิสระ • มหาวิทยาลัย • ผู้เชี่ยวชาญด้านวัยรุ่น • สถานบริการสาธารณสุข

  41. ข้อเสนอแนะ/ข้อสังเกตที่น่าสนใจข้อเสนอแนะ/ข้อสังเกตที่น่าสนใจ • ภาพรวมชื่นชมว่าเป็นการริเริ่มที่ดี การขอความคิดเห็นสาธารณะ • ความร่วมมือทางวิชาการ การสนับสนุนทางการเงิน • การนำมาตรฐานนี้ไปสู่การปฏิบัติจะทำอย่างไร

  42. องค์ประกอบที่ 1: การบริหารจัดการ • มีเอกสารนโยบายอย่างเดียวไม่พอ ทำอย่างไรที่จะให้ผู้ใช้บริการ บุคลากรของหน่วยงานได้รับรู้ • ตัวแทนเยาวชนในคณะกรรมการ – มีส่วนร่วมอย่างจริงจังในการวางแผน ติดตาม ประเมินผล

  43. องค์ประกอบที่ 2 : การเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายและการสร้างความต้องการในการใช้บริการ • กลยุทธ์การประชาสัมพันธ์ • เครือข่ายจำเป็น – ความหลากหลายของกลุ่มเยาวชน การเข้าถึงเยาวชนทุกกลุ่ม • บทบาทของเยาชน – ภาคีในการทำงาน • ประเมินคุณภาพบริการ – Exit survey • แนวคิดของบริการที่เป็นมิตรของผู้ให้บริการ • ทัศนคติเชิงบวก – เชิงวิชาการ

  44. องค์ประกอบที่ 3: บริการที่สอดคล้องกับความต้องการของเยาวชน • ข้อมูลข่าวสาร • การให้คำปรึกษา • ภาพลักษณ์ของโรงพยาบาล • มีบริการทั้งในและนอกสถานบริการ • การรักษาความลับของผู้รับบริการ – ให้ความเชื่อมั่นกับเยาวชน • บริการด้านคุมกำเนิด – การขาดแคลนเวชภัณฑ์ • บริการรองรับการตั้งครรภ์ที่ไม่พึงประสงค์ • สถานที่แยกเป็นสัดส่วน

  45. องค์ประกอบที่ 4 : ระบบบริการที่มีประสิทธิภาพ • บทบาทของเยาวชนในการเชื่อมโยงบริการ • เพื่อนช่วยเพื่อน • ความชัดเจนของตัวชี้วัด

  46. องค์ประกอบ 5 : ผู้ให้บริการ • จัดลำดับความสำคัญของทักษะที่จำเป็น • ทัศนคติเชิงบวก ไม่ตัดสินผู้รับบริการ ผู้รับบริการที่ไม่แต่งงาน • หลักสูตรการอบรมที่แนะนำ คำนึงถึงความหลากหลายทางเพศ

  47. ประโยชน์ • ได้แนวทางการแก้ไขปัญหาที่หลากหลายและครอบคลุม • ได้รับรายงานสรุป(ชอบม๊าก...มาก) • ได้รู้จักเครือข่ายวัยรุ่น/คนทำงานในพื้นที่ • รู้สึกว่าไม่โดดเดี่ยว/มีแนวร่วม/พันธมิตร • ช่วยสร้างการยอมรับในกลุ่มคนทำงานด้วยกัน • เป็นการประชาสัมพันธ์ผลงาน • ได้ข้อมูลไปปรับให้เป็น National Standard

  48. นำไปใช้ปรับมาตรฐาน AFHS ก่อนเผยแพร่อย่างเป็นทางการ National Standard AFHS Solution exchange

  49. นำไปใช้ปรับมาตรฐาน AFHS ก่อนเผยแพร่อย่างเป็นทางการ Solution exchange วัยรุ่น National Standard AFHS สหวิชาชีพ ผลการประเมิน มาตรฐานฯ ผู้มีประสบการณ์ ทำ คลินิกวัยรุ่น ผู้ทรงคุณวุฒิ HA และ HPH นวก.หน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง ประชุมปรับมาตรฐาน AFHS (18-19 มิถุนายน 2552)

More Related