1 / 18

โดย

ทิศทางการส่งเสริมให้ประชาชนเข้าถึงแหล่งทุนฯ. โดย. นาย เส่ง สิงห์โต ทอง ผู้อำนวยการสำนักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน. ผลผลิตที่ 1 เสริมสร้างขีดความสามารถของพลังชุมชนในการ จัดการแก้ไขปัญหาของชุมชน กิจกรรมหลักที่ 4 เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการทุนชุมชน

Download Presentation

โดย

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ทิศทางการส่งเสริมให้ประชาชนเข้าถึงแหล่งทุนฯทิศทางการส่งเสริมให้ประชาชนเข้าถึงแหล่งทุนฯ โดย นายเส่งสิงห์โตทอง ผู้อำนวยการสำนักพัฒนาทุนและองค์กรการเงินชุมชน

  2. ผลผลิตที่ 1 เสริมสร้างขีดความสามารถของพลังชุมชนในการ จัดการแก้ไขปัญหาของชุมชน กิจกรรมหลักที่ 4 เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการทุนชุมชน ประกอบด้วย 4 กิจกรรมย่อย ดังนี้ กิจกรรมย่อยที่ 1 เพิ่มศักยภาพสถาบันการจัดการเงินทุนชุมชน กิจกรรมย่อยที่ 2 ส่งเสริมการดำเนินงานกองทุนชุมชน กิจกรรมย่อยที่ 3 การพัฒนาทุนชุมชนสู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ กิจกรรมย่อยที่ 4 การพัฒนาศักยภาพการบริหารจัดการทุนชุมชนในพื้นที่ โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ

  3. กิจกรรมย่อยที่ 1 เพิ่มศักยภาพสถาบันการจัดการเงินทุนชุมชน 1.พัฒนาศักยภาพการบริหารจัดการสถาบันการจัดการเงินทุนชุมชน (76 แห่ง /7,858,400 บาท) สถาบันต้นแบบ จังหวัด 1 แห่ง -ส่งเสริมอาชีพ(ทุนหมุนเวียน) -มีธรรมาภิบาล ประชุมเชิงปฏิบัติการ (การบริหารจัดการ) 2. พัฒนาเครือข่ายกองทุนชุมชน (76รุ่น / 6,080,000 บาท) ประชุมเชิงปฏิบัติการ (การดำเนินงานเครือข่าย) เครือข่ายระดับจังหวัด เชื่อมโยงการบริหาร

  4. กิจกรรมย่อยที่ 2 ส่งเสริมการดำเนินงานกองทุนชุมชน • ประชุมเชิงปฏิบัติการเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการดำเนินงานกลุ่มออมทรัพย์ฯ ( ระดับจังหวัด 76 จังหวัด/3,750,000 บาท) ระดับกรม - บูรณาการร่วมกับสำนักฯ/กองระดับจังหวัด -ทบทวนปัญหาอุปสรรค /หาแนวทางแก้ไข -สร้างความรู้ความเข้าใจ “ระเบียบกรมการพัฒนาชุมชน ว่าด้วยการส่งเสริมการดำเนินงานกลุ่มออมทรัพย์เพื่อ การผลิต ปี พ.ศ. 2555” แก่ จนท.พช. / คณะกรรมการ เครือข่ายฯ

  5. 2.สนับสนุนการดำเนินงานกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต (6,216,000 บาท) สร้างความเข้าใจแนวทางและ การจัดตั้งกลุ่มออมทรัพย์ฯ 1) ส่งเสริมการจัดตั้งกลุ่มออมทรัพย์ฯ กลุ่มเป้าหมาย 50 คน จนท.พช. อายุงาน 0- 5 ปี คณะกรรมการเครือข่ายฯ ระดับจังหวัดหรือผู้นำอช. 2) มหกรรมรวมพลคนออมทรัพย์เพื่อการผลิต - ดำเนินการในช่วงสัปดาห์รณรงค์การประหยัดและการออม ระหว่างวันที่ 6 - 8 มี.ค. 56 - กรมฯ จะจัดทำแนวทางกิจกรรมทางเลือกให้ - กิจกรรมบังคับ คือ การเสวนากลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต แก้จน และการประกวดกลุ่มออมทรัพย์ดีเด่นระดับจังหวัด

  6. 3.การพัฒนาประสิทธิภาพกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต3.การพัฒนาประสิทธิภาพกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต (18,597,340 บาท) 3.1พัฒนาผู้เชี่ยวชาญสู่ความเป็นเลิศด้านกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต อบรม ชช.รุ่นที่ 5 (7 ม.ค. - 1 มี.ค. 56 ณ สถาบันพัฒนา ผู้นำชุมชนไทย) เพิ่มพูนศักยภาพ (ผู้ผ่านหลักสูตร รุ่น 1-4) หลักสูตร ไกล่เกลี่ยกรณีพิพาท + พัฒนาการบัญชี (28 - 30 พ.ย. 55 ณ โรงแรมเอเชีย แอร์พอร์ต) 3.2ส่งเสริมกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตจัดสวัสดิการชุมชน - จังหวัดอบรม 1 รุ่น 40 คน - ใช้ฐานข้อมูลกลุ่มฯ ระดับ 3 ปี 2554 แต่ ไม่ซ้ำกับที่ได้รับงบฯ ปี 2555

  7. 4. สนับสนุนการดำเนินงาน กทบ. ระดับจังหวัด (76 จังหวัด /3,750,000 บาท) 1) จังหวัดจัดประชุมเชิงปฏิบัติการการดำเนินงาน กทบ. - กลุ่มเป้าหมาย 5,000 คน (จนท.พช.+ เครือข่ายจังหวัด) - บรรยายให้ความรู้ (กฎหมาย/ การบริหารจัดการ ฯลฯ) - ระดมสมองหาแนวทางปฏิบัติงานให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น - จัดทำแผนปฏิบัติการสนับสนุน กทบ. 2) ให้ตัวแทน จนท.พช. และเครือข่าย กทบ.ลงนามรับรอง พร้อมแนบรายงานการประชุมและรายชื่อฯ ส่งกรมฯ

  8. 5. ส่งเสริมสุขภาพกองทุนชุมชนด้านธรรมาภิบาล (14,199,700 บาท) 1) ส่งเสริมสุขภาพทางการเงินกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต ใช้ฐานข้อมูลกลุ่มฯ ระดับ 3 ปี 2554 แต่ ไม่ซ้ำกับที่ได้รับงบฯ ปี 2555 (แนวทางเดิมเหมือนปี 2555) เป้าหมาย 5,000 กลุ่ม ส่งเอกสารสรุปฯ 30 ก.ค. 55 2) ส่งเสริมสุขภาพทางการเงินกองทุน กข.คจ. เป้าหมาย 3,400 กองทุน ใช้ฐานข้อมูลปี 2554 แต่ ไม่ซ้ำกับที่ได้รับงบฯ ปี 2555 (แนวทางเดิมเหมือนปี 2555) 3) ติดตามและประเมินผลการตรวจสุขภาพกองทุนชุมชนฯ บันทึกโปรแกรม (31 มี.ค./ 30 มิ.ย. 56) ส่งกรมฯ (30 เม.ย./ 30 ก.ค. 56)

  9. กรมฯ จัดพิมพ์คู่มือสำหรับส่งเสริมสุขภาพกองทุนชุมชน ด้านธรรมาภิบาล จำนวน 6 เล่ม 1. คู่มือการตรวจสุขภาพกองทุนชุมชนด้านธรรมภิบาล 2. สมุดตรวจสุขภาพทางการเงินกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต 3. สมุดตรวจสุขภาพทางการเงินกองทุนโครงการ กข.คจ. 4. สมุดบัญชีทะเบียนครัวเรือนยากจนเป้าหมาย (เล่มสีม่วง) 5. บัญชีคุมเงินฝากธนาคาร (เล่มสีเขียว) 6. บัญชีคุมเงินลูกหนี้ (เล่มสีเหลือง)

  10. 6. สนับสนุนการดำเนินงานโครงการแก้ไขปัญหาความยากจน (76 จังหวัด 3,750,000 บาท) สร้างพลังเครือข่าย กข.คจ. โดยจังหวัดดำเนินการ ดังนี้ 1) จัดประชุมสร้างความรู้ความเข้าใจการดำเนินงาน กข.คจ. (การบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล/ การจัดทำบัญชี เอกสาร/ เวทีแลกเปลี่ยนประสบการณ์ ฯลฯ) เป้าหมาย 50 คน 2) จัดทำแผนปฏิบัติการสนับสนุนการดำเนินงานโครงการ 3) กำหนดจุดนำร่อง 1 จุด ในพื้นที่ที่พบปัญหาการดำเนินงาน 4) สรุปผลการดำเนินงานให้กรมฯ ทราบ 30 ส.ค. 56

  11. กิจกรรมย่อยที่ 3 การพัฒนาทุนชุมชนสู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ 1.จัดทำคลังข้อมูลทุนชุมชนเพื่อเป็นฐานการพัฒนาสู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ (1,516 หมู่บ้าน / 8,338,000 บาท) 2. สร้างรูปแบบการพัฒนาทุนชุมชนสู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ (2 แห่ง เชียงใหม่ สตูล /242,000 บาท

  12. กิจกรรมย่อยที่ 4 การพัฒนาศักยภาพการบริหารจัดการทุนชุมชน ในพื้นที่โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ 1.ส่งเสริมการจัดสวัสดิการชุมชน และพัฒนากลุ่มอาชีพ ( 64 หมู่บ้าน / 3,379,200 บาท) 2. หมู่บ้านทุนชุมชนขยายผลแนวความคิดโครงการอันเนื่องมาจาก พระราชดำริ ( 18 หมู่บ้าน /2,658,900 บาท)

  13. แนวทางการดำเนินงาน ตามระเบียบกรมการพัฒนาชุมชน ว่าด้วยระเบียบกรมฯ ว่าด้วยการส่งเสริมการดำเนินงาน กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต ปี พ.ศ. 2555

  14. 1 จังหวัด 1) กำชับเจ้าหน้าที่ทุกระดับ ศึกษาและทำความเข้าใจ ระเบียบ ว่าด้วยการส่งเสริม การดำเนินงานกลุ่มออมทรัพย์ เพื่อการผลิต พ.ศ. 2555 2) กำชับให้เจ้าหน้าที่ มอบหมายการงาน โดยเคร่งครัด กรณีที่มีการโยกย้าย 3) จัดตั้งคณะทำงานเพื่อขับเคลื่อนการดำเนินงาน โดย พิจารณาผู้ผ่านหลักสูตร “การพัฒนาศักยภาพผู้เชี่ยวชาญ สู่ความเป็นเลิศด้านกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต” หรือ ตามความเหมาะสม ในการถ่ายทอด สร้างความเข้าใจ การนำระเบียบฯ ไปใช้ประโยชน์

  15. อำเภอ 2 1) จัดประชุมคณะกรรมการและสมาชิกกลุ่มฯ เพื่อสร้างความเข้าใจ และทบทวนการดำเนินงานเป็นรายกลุ่ม (ให้แล้วเสร็จ 30 มีนาคม 2556) กลุ่มประเภทที่ 2 ไม่สามารถดำเนินงาน ตามแนวทางกรมฯ กลุ่มประเภทที่ 1 ดำเนินงานถูกต้อง ตามแนวทางกรมฯ จัดกลุ่มการดำเนินงาน และขึ้นทะเบียนกลุ่มออมทรัพย์ฯ (เสร็จภายใน เม.ย. 56) กลุ่มฯ ที่ไม่สมัครใจที่จะดำเนินการตามแนวทางกรมฯ ให้สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอพิจารณาทบทวนหรือยกเลิก

  16. การรายงาน 1) สพอ. รับรองผลการตรวจสอบการดำเนินงานและ จัดทำทะเบียน ภายใน เม.ย. 56 2) กลุ่มประเภทที่ 2 ที่ดำเนินการพัฒนาและผ่านตาม แนวทางกรมฯ ให้ขึ้นทะเบียนเป็นประเภทที่ 1 และรายงานกรมฯ ทราบ ภายใน 30 ก.ย. 56 3) จังหวัดตรวจสอบความถูกต้อง พร้อมให้ข้อเสนอแนะ การปฏิบัติตามระเบียบฯ แล้วรายงานกรมฯ ภายใน 30 ก.ย. 56

  17. งานนโยบาย กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี

  18. จบการนำเสนอ ขอบคุณครับ....

More Related