1 / 11

โรคพยาธิในเลือด

โรคพยาธิในเลือด. โรคพยาธิในเลือดส่วนใหญ่จะหมายความถึง เชื้อโปรโตซัว ที่อยู่ในเลือด ไม่ได้รวมถึงหนอนพยาธิที่อยู่ในเส้นเลือด เช่นพยาธิใบไม้เลือด

guglielmo
Download Presentation

โรคพยาธิในเลือด

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. โรคพยาธิในเลือด • โรคพยาธิในเลือดส่วนใหญ่จะหมายความถึงเชื้อโปรโตซัวที่อยู่ในเลือด ไม่ได้รวมถึงหนอนพยาธิที่อยู่ในเส้นเลือด เช่นพยาธิใบไม้เลือด • พยาธิในเลือดมักทำให้เกิดโรคที่มีความร้ายแรงกว่าพยาธิในทางเดินอาหารมาก แต่ความรุนแรงของโรคขึ้นกับพันธุ์สัตว์และเป็นความไวต่อโรคของสัตว์แต่ละตัวด้วย และโดยทั่วไปพยาธิในเลือดจะมีความรุนแรงในสัตว์อายุมาก > สัตว์อายุน้อย โรคพยาธิในเลือด

  2. ระบาดวิทยา • เป็นโรคประจำถิ่นที่เกิดกับโคในประเทศไทย โดยเฉพาะในโคเลือดยุโรป (Bos taurus)จะมีความต้านทานโรคน้อยกว่าโคเลือดอินเดีย (Bos indicus) และโคพื้นเมืองจะมีความต้านทานโรคมากที่สุด • โคพื้นเมืองอาจจะป่วยด้วยโรคนี้ได้เมื่ออยู่ในภาวะ immunocompromise เช่น เครียดจากการขาดอาหาร การออกกำลังมากเกินไป โรคพยาธิในเลือด

  3. การติดต่อ • มีสัตว์ที่ดูดเลือดเป็นพาหะนำโรคแล้วแต่ชนิดของโรค เช่น เห็บจะเป็นตัวนำโรคไข้เห็บ (Babesiosis) เหลือบจะเป็นพาหะที่สำคัญของ Trypanosomiasis แมลงวันคอกเป็นพาหะได้หลายโรค อาการ • ระยะฟักตัวของโรคคือ 2-3 อาทิตย์ • สัตว์มีอาการไข้สูง (106-107F) ไม่กินอาหาร ซึม กระเพาะรูเม็นหยุดทำงาน ช่วงที่มีไข้เยื่อบุต่างๆ มีเลือดคั่ง แต่เมื่อเม็ดเลือดแดงแตกมากขึ้น เยื่อบุจะซีดและมีอาการอื่นร่วมด้วย โรคพยาธิในเลือด

  4. โรคไข้เห็บโค (Babesiosis) โคอายุ ~ 4-5 ปี แสดงอาการไข้สูง ซึม หยุดเคี้ยวเอื้อง ปัสสาวะสีโคลา (ในถุงพลาสติก) และ B.bovisจะทำให้เกิดอาการทางประสาทร่วมด้วย เห็บที่เป็นพาหะของโรคในประเทศไทย(Boophilus microplus) ระยะดูดเลือดเต็มที่ ที่มาภาพwww.au.merial.com/producers/dairy/disease/boo.html เห็บระยะนำโรค

  5. การวินิจฉัยโรค โดยการฟิล์มเลือดบางแล้วย้อมสียิมซ่า Babesia bigeminaมีขนาดใหญ่ ความยาวเกินรัศมีของเม็ดเลือดแดงและทำมุมแหลม Classical form Babesia bovisมีขนาดเล็กกว่า ความยาวเกินรัศมีของเม็ดเลือดแดงและทำมุมป้าน โรคพยาธิในเลือด

  6. การรักษา Babesiosis • ใช้ยาฉีดเข้ากล้าม เช่น • Diaminazene aceturate (BerenilR ) • Imidocarb (ImizolR) • Quinuronium sulfate (AcaprinR) โรคพยาธิในเลือด

  7. โรคอนาพลาสโมซีส • เกิดจากเชื้อริคเก็ทเซียที่ต้องมีแมลงดูดเลือดเป็นพาหะนำโรค อาการ • ใกล้เคียงกับโรคไข้เห็บ แต่จะไม่พบอาการปัสสาวะสีโคล่า และในรายที่ป่วยจาก Anaplasmosis มักพบว่าสัตว์มีอาการดีซ่านร่วมด้วย • อาการรุนแรงในโคที่มีสายเลือดยุโรปเช่นเดียวกับไข้เห็บ • โดยทั่วไปแล้วมักทำให้เกิดโรคอย่างเรื้อรัง คือ แคระแกร็น ซีด การวินิจฉัย • ทำฟิล์มเลือดบางจะพบลักษณะจุดที่ขอบเม็ดเลือดแดง การรักษา • ให้ยาฉีดเข้ากล้ามเนื้อ เช่น Oxytetracycline หรือ ImizolR โรคพยาธิในเลือด

  8. Trypanosomiosis • พบการระบาดประปรายในทุกภาคของประเทศไทย ยกเว้นในภาคใต้มีการระบาดน้อยมาก • มักเกิดการระบาดในสัตว์ในฟาร์มที่เลี้ยงใกล้กับฟาร์มเลี้ยงม้า โดยมีแมลงดูดเลือดเป็นพาหะนำโรค (โดยเฉพาะเหลือบ) • เป็นพยาธิในเลือดชนิด flagellates ที่อยู่นอกเม็ดเลือด มีขนาดใหญ่กว่าพยาธิในเลือดชนิดอื่นๆ • สัตว์ป่วยมีอาการไข้สูง โลหิตจาง แท้ง เดินขาแข็งๆ นัยน์ตาอักเสบ • สามารถรักษาได้ด้วย SuraminR โรคพยาธิในเลือด

  9. Theileriosis • พบการระบาดมากในภาคใต้ของประเทศไทย แต่ไม่เป็นปัญหาให้เกิดโรคที่รุนแรง • ยังไม่ทราบชนิดของพาหะที่แน่ชัด เข้าใจว่าแมลงดูดเลือดเป็นพาหะนำโรค • เป็นพยาธิที่อยู่ในเม็ดเลือด มีรูปร่างแตกต่างกันได้หลายชนิด • สัตว์ป่วยมีอาการไข้สูง โลหิตจาง ต่อมน้ำเหลืองบวม (superficial lymph nodes) • สามารถรักษาได้ด้วย AcaprinR โรคพยาธิในเลือด

  10. Anaplasma marginaleเป็นจุดอยู่ที่ขอบของเม็ดเลือดแดง Trypanosoma evansi (flagellate) Theileria spp. (pleomorphic) เชื้อโปรโตซัวในเลือด

  11. การควบคุมและป้องกันโรคพยาธิในเลือดการควบคุมและป้องกันโรคพยาธิในเลือด • 1. กำจัดพาหะนำโรค • ให้ยาฆ่าแมลงบนตัวสัตว์และบริเวณโรงเรือน ตลอดจนแหล่งเพาะพันธุ์ • พักแปลงหญ้าก่อนปล่อยสัตว์ที่กำจัดพยาธิแล้วลงไป • 2. ให้ยาต้านโปรโตซัวแก่สัตว์ในระดับป้องกันโรคเป็นโปรแกรมประจำ โรคพยาธิในเลือด

More Related