1 / 26

การควบคุมการเงินของหน่วยงานย่อย

การควบคุมการเงินของหน่วยงานย่อย. ในหน้าที่ของ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอ. หน่วยงานย่อย หมายถึง. ส่วนราชการที่มีการจัดเก็บและนำส่งเงิน รายได้แผ่นดิน มีการเบิกจ่ายเงินงบประมาณซึ่งมิได้เบิกตรงต่อกรมบัญชีกลาง สำนักงานคลังจังหวัด สำนักงานคลังจังหวัด ณ อำเภอ.

Download Presentation

การควบคุมการเงินของหน่วยงานย่อย

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การควบคุมการเงินของหน่วยงานย่อยการควบคุมการเงินของหน่วยงานย่อย ในหน้าที่ของ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอ

  2. หน่วยงานย่อยหมายถึง • ส่วนราชการที่มีการจัดเก็บและนำส่งเงิน รายได้แผ่นดิน • มีการเบิกจ่ายเงินงบประมาณซึ่งมิได้เบิกตรงต่อกรมบัญชีกลาง สำนักงานคลังจังหวัดสำนักงานคลังจังหวัดณอำเภอ

  3. จะต้องทำอะไรเกี่ยวกับการควบคุมการเงินจะต้องทำอะไรเกี่ยวกับการควบคุมการเงิน *การเบิกเงิน *การรับเงิน *การเก็บรักษาเงินและการนำส่ง *การจ่ายเงิน *การยืมเงิน

  4. สิ่งที่ต้องรู้ในการควบคุมการเงินสิ่งที่ต้องรู้ในการควบคุมการเงิน • กฎหมายระเบียบ • คำสั่ง • อำนาจดำเนินการ

  5. ระเบียบที่เกี่ยวข้อง • ระเบียบกค.ว่าด้วยการเก็บรักษาและนำเงินส่งคลังในหน้าที่ของอำเภอและกิ่งอำเภอพ.ศ.2520และที่แก้ไขเพิ่มเติม • ระเบียบกค. ว่าด้วยเงินรายได้สถานศึกษาของรัฐที่ไม่เป็นนิติบุคคลพ.ศ.2546

  6. ประกาศ ศธ. ว่าด้วยหลักเกณฑ์ อัตรา และวิธีการนำเงินรายได้สถานศึกษาไปจัดสรรเป็นค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาในสถานศึกษาของรัฐที่ไม่เป็นนิติบุคคล ลว. 30 กันยายน 2547 • ระเบียบสป.ศธ.ว่าด้วยการเบิกจ่ายเงินงบประมาณงบเงินอุดหนุน ประเภทเงินอุดหนุนทั่วไป พ.ศ. 2548

  7. คำสั่ง สป.ศธ. ที่ 895/2551 เรื่อง หลักเกณฑ์การเบิกจ่ายเงินอุดหนุนของสำนักงาน กศน. ลว. 14 กรกฎาคม 2551 • ระบบการควบคุมการเงินของหน่วยงานย่อยกำหนดโดยกรมบัญชีกลางกระทรวงการคลัง • ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุพ.ศ.2535และที่แก้ไขเพิ่มเติม

  8. ระเบียบคตง.ว่าด้วยวินัยทางงบประมาณและการคลังพ.ศ.2544ระเบียบคตง.ว่าด้วยวินัยทางงบประมาณและการคลังพ.ศ.2544 • ระเบียบคตง.ว่าด้วยการกำหนดมาตรฐานการควบคุมภายในพ.ศ.2544

  9. คำสั่งที่ต้องใช้อยู่เสมอคำสั่งที่ต้องใช้อยู่เสมอ • สป.ศธ.ที่489 / 2551ลว.21 เมษายน 2551 มอบอำนาจให้ ผอ.กศน.อำเภอ/เขต ปฏิบัติราชการแทน • สป.ศธ.ที่497 / 2551ลว.23 เมษายน 2551 มอบอำนาจอนุมัติจ่ายเงินรายได้ของสถานศึกษา ( ผอ.กศน.อำเภอ/เขต ครั้งละไม่เกิน 100,000 บาท )

  10. วงเงินเก็บรักษาของ กศน. อำเภอ • คำสั่ง สป.ศธ.ที่ 1002 / 2551ลว. 5 สิงหาคม 2551เรื่องวงเงินสำรองจ่ายและวงเงินนำฝากธนาคารของส่วนราชการและสถานศึกษาสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ เงินสด 5,000 บาท เงินฝากธนาคาร 45,000 บาท (กระแสรายวัน/ออมทรัพย์)

  11. สป.ศธ.ที่489 / 2551ลว.21 เมษายน 2551 มอบอำนาจให้ ผอ.กศน.อำเภอ/เขต ปฏิบัติราชการแทน • ปกครองบังคับบัญชาพนักงานราชการ ลูกจ้างในสถานศึกษา • การอนุญาตใช้รถส่วนกลางและการเก็บรักษา • อนุญาตการลาของพนักงานราชการ ลูกจ้าง • การดำเนินการเกี่ยวการพัสดุ • การติดตั้งและการใช้บริการโทรศัพท์ • การรับเงินหรือทรัพย์สินที่ได้รับบริจาคและการใช้จ่ายครั้งหนึ่งไม่เกิน 100,000 บาท

  12. การอนุมัติโครงการและหลักสูตรฝึกอบรม โดยความเห็นชอบของ สำนักงาน กศน.จังหวัด ครั้งหนึ่งไม่เกิน 100.000 บาท • การอนุมัติไปราชการ อนุมัติค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ • การอนุมัติจ่ายเงินงบประมาณ ครั้งละไม่เกิน 100,000 บาท • การอนุมัติจ่ายเงินยืมเงินรายได้ฯ ครั้งละไม่เกิน 100,000 บาท • การรับรองการใช้สิทธิ อนุมัติเงิน การเบิกจ่ายเงินค่ารักษาฯ • การอนุมัติการเบิกจ่ายแก่กรรมการและเจ้าหน้าที่ดำเนินการสอบ • การใช้จ่ายและ การอนุมัติการเบิกจ่ายเงินค่าใช้จ่ายในการบริหารงานส่วนราชการ

  13. การอนุญาตให้ใช้อาคารสถานที่ของสถานศึกษาการอนุญาตให้ใช้อาคารสถานที่ของสถานศึกษา • การอนุญาตพานักศึกษาไปนอกสถานที่

  14. ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วย การเก็บรักษาและการนำเงินส่งคลัง ในหน้าที่ของอำเภอและกิ่งอำเภอพ.ศ.2520และที่แก้ไขเพิ่มเติม

  15. การรับเงิน • ออกใบเสร็จรับเงินทุกครั้งที่รับเงิน • ให้สรุปจำนวนเงินที่รับในวันหนึ่งๆไว้หลังสำเนาใบเสร็จรับเงินใบสุดท้ายของวันนั้น • ให้นำเงินฝากธนาคาร / นำฝากส่วนราชการผู้เบิก • ทุกสิ้นวันจัดให้มีการตรวจสอบเงินรับกับทะเบียนคุมเงินนอกงบประมาณและลงลายมือชื่อกำกับ

  16. ใบเสร็จรับเงิน • มีหลักฐานการเบิกจากส่วนราชการผู้เบิก • จัดทำทะเบียนคุมใบเสร็จรับเงินเพื่อควบคุม การเบิกการใช้และจำนวนคงเหลือ • รายงานการใช้ใบเสร็จรับเงินเมื่อสิ้นปีงบประมาณไม่เกินวันที่ 15 ตุลาคมของปีงบประมาณถัดไป • เสนอหัวหน้าส่วนราชการผู้เบิกทราบ

  17. การนำส่งเงิน • เงินรายได้สถานศึกษาส่วนที่เกินวงเงินเก็บรักษา จำนวน 45,000 บาท ให้นำฝากส่วนราชการผู้เบิก • เงินบริจาค/เงินอุดหนุนจากส่วนราชการท้องถิ่นให้นำฝากส่วนราชการผู้เบิก • เงินภาษีเงินได้หักณที่จ่ายให้นำส่งสรรพากรภายในวันที่7ของเดือนถัดไป • เงินประกันสังคมให้นำส่งสำนักงานประกันสังคมทุกเดือน

  18. การจ่ายเงิน • รายจ่ายที่มี กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ คำสั่ง มติ ครม. อนุญาตให้จ่ายได้ • ต้องได้รับอนุมัติจากผู้มีอำนาจ • การจ่ายเงินจะต้องมีหลักฐานการจ่ายไว้เพื่อประโยชน์ในการตรวจสอบ

  19. หลักฐานการจ่ายเงิน • ชื่อ สถานที่อยู่ / ที่ทำการของผู้รับเงิน • วัน เดือน ปี ที่รับเงิน • รายการแสดงการรับเงินระบุว่าจ่ายเป็นค่าอะไรบ้าง • จำนวนเงินทั้งตัวเลข และตัวอักษร • ลายมือชื่อผู้รับเงิน

  20. หลักฐานการจ่ายทุกฉบับหลักฐานการจ่ายทุกฉบับ • ให้ผู้จ่ายเงินประทับตรา“จ่ายเงินแล้ว” • ลงลายมือชื่อรับรองการจ่ายพร้อมชื่อตัวบรรจง • ลงวันเดือนปีที่จ่ายเงิน • บันทึกรายการจ่ายเงินไว้ในทะเบียนคุมฯ • ทุกสิ้นวันจัดให้มีการตรวจสอบรายการจ่ายเงินที่บันทึกไว้ในทะเบียนคุมเงินนอกงบประมาณ พร้อมลงลายมือชื่อกำกับ

  21. การจ่ายเงินรายได้ของสถานศึกษาการจ่ายเงินรายได้ของสถานศึกษา • หมวดค่าตอบแทนใช้สอยและวัสดุ • หมวดค่าสาธารณูปโภค • หมวดค่าครุภัณฑ์เฉพาะที่จำเป็นแก่สถานศึกษาวงเงินต่อหน่วยต่ำกว่า 500,000บาท • จ่ายให้ยืมทดรองจ่ายในการปฏิบัติงาน *ห้ามนำรายได้ไปใช้เป็นค่าใช้จ่ายของสถานศึกษาอื่น

  22. ภาษีเงินได้หักณที่จ่ายภาษีเงินได้หักณที่จ่าย • กรณีการชื้อ/เช่า/จ้างทำของหักภาษี1 % บุคคลธรรมดา/ร้านค้า10,000บาทขึ้นไป นิติบุคคล/บริษัท/ห้างหุ้นส่วน500บาทขึ้นไป • ใช้ราคาสินค้าก่อนรวมภาษีมูลค่าเพิ่มมาคำนวณภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย • ออกใบรับรองการหักภาษีเงินได้ณที่จ่ายให้ผู้มีสิทธิรับเงิน1ฉบับและเก็บไว้เป็นหลักฐาน 1ฉบับ

  23. การเขียนเช็คสั่งจ่าย • กรณีจ่ายเงินให้เจ้าหนี้/บุคคลธรรมดา ให้สั่งจ่าย “ นามเจ้าหนี้ ” ขีดฆ่า ตามคำสั่ง/ผู้ถือ ออก จะขีดคร่อมหรือไม่ก็ได้ • กรณีขอรับเงินสดมาจ่าย ให้สั่งจ่าย“นามเจ้าหน้าที่”ขีดฆ่าตามคำสั่ง / ผู้ถือ ออก

  24. การจ่ายเงินยืม • ผู้ยืมทำสัญญายืมยื่นต่อผู้มีอำนาจอนุมัติ • แสดงประมาณการค่าใช้จ่ายเท่าที่จำเป็นและกำหนดเวลาใช้คืน • ห้ามอนุมัติให้ยืมใหม่หากผู้ยืมยังมิได้ชำระหนี้รายเก่า

  25. การส่งใช้เงินยืม • ยืมไปราชการภายใน15วันนับจากวันกลับมาถึง • ยืมเพื่อปฏิบัติราชการอื่นภายใน30วันนับจาก วันรับเงิน • บันทึกรายการรับคืนเงินยืมไว้ด้านหลังสัญญายืม • ออกใบเสร็จรับเงินใบรับใบสำคัญให้เป็นหลักฐาน • กรณีไม่ส่งใช้คืนตามกำหนดเวลาให้เรียกชดใช้ตาม เงื่อนไขในสัญญายืมไม่เกิน30วันนับแต่วันครบกำหนด

  26. การเก็บรักษาเงิน ตู้นิรภัย – กำปั่น หรือตู้เหล็กหรือหีบเหล็กอัน มั่นคงซึ่งใช้สำหรับเก็บรักษาเงิน กรรมการเก็บรักษาเงิน รายงานเงินคงเหลือประจำวัน

More Related