1 / 16

หัวข้อที่น่าอภิปราย แนวคิดของระบบเป็นอย่างไร องค์ประกอบการประเมินผลเป็นอย่างไร ผู้ใดเป็นผู้ประเมิน

แนวทางการประเมินผล การปฏิบัติงานของบุคลากรทุกระดับ. หัวข้อที่น่าอภิปราย แนวคิดของระบบเป็นอย่างไร องค์ประกอบการประเมินผลเป็นอย่างไร ผู้ใดเป็นผู้ประเมิน ผลการประเมินใช้หลักใด. ระบบการบริหารผลการปฏิบัติราชการ – กพ. วางแผน (Plan). ระบบการบริหาร ผลการปฏิบัติราชการ. ติดตาม (Monitor).

haig
Download Presentation

หัวข้อที่น่าอภิปราย แนวคิดของระบบเป็นอย่างไร องค์ประกอบการประเมินผลเป็นอย่างไร ผู้ใดเป็นผู้ประเมิน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. แนวทางการประเมินผล การปฏิบัติงานของบุคลากรทุกระดับ หัวข้อที่น่าอภิปราย แนวคิดของระบบเป็นอย่างไร องค์ประกอบการประเมินผลเป็นอย่างไร ผู้ใดเป็นผู้ประเมิน ผลการประเมินใช้หลักใด

  2. ระบบการบริหารผลการปฏิบัติราชการ – กพ. วางแผน (Plan) ระบบการบริหาร ผลการปฏิบัติราชการ ติดตาม (Monitor) ให้รางวัล (Reward) ประเมิน (Appraise) พัฒนา (Develop) อิงแผนงานและผลงาน

  3. องค์ประกอบการประเมินผล – กพ.

  4. องค์ประกอบการประเมิน – จุฬาฯ พนง.ม. ปริมาณงาน คุณภาพงาน คุณลักษณะส่วนบุคคล ผลสัมฤทธิ์ของงาน พฤติกรรม

  5. องค์ประกอบการประเมิน • พนักงานมหาวิทยาลัยสายวิชาการ • การเรียนการสอน ๔๐ คะแนน (%) • งานพัฒนานิสิต ๑๐ คะแนน • งานวิจัย ๑๐ คะแนน • งานบริหาร/งานบริการวิชาการ ๑๐ คะแนน • ความสามารถในการทำงาน ๑๕ คะแนน • พฤติกรรมในการทำงาน ๑๕ คะแนน • รวม ๑๐๐ คะแนน

  6. การประเมินอาจารย์ตามภาระงานการประเมินอาจารย์ตามภาระงาน อยู่ในระบบการประเมินด้วยไหม ? ใช้ประโยชน์ในระบบการประเมินบุคลากรสายวิชาการอย่างไร น่าจะ = ปริมาณ

  7. องค์ประกอบการประเมิน พนักงานมหาวิทยาลัยระดับจัดการ ระดับปฏิบัติการ และระดับแรงงาน • ผลงาน ๔๐ % เกณฑ์ผ่าน ๒๔ % • ความรู้ความสามารถ ในการปฏิบัติงาน ๓๐ %เกณฑ์ผ่าน ๑๘ % • พฤติกรรม ๓๐ % เกณฑ์ผ่าน ๑๘ % • รวม ๑๐๐ % เกณฑ์ผ่าน ๓๓.๕ %

  8. ผู้รับบริการ ก ผลผลิต บริการ หน่วยงาน/ ตำแหน่งงาน ผลผลิต บริการ ผลผลิต บริการ ผู้รับบริการ ง ผู้รับบริการ ข ผลผลิต บริการ ผู้รับบริการ ค • ใครคือผู้รับบริการ? • ผู้รับบริการต้องการ/คาดหวังอะไร? • จะตั้งเป้าหมายในการให้บริการอย่างไร? • จัดทำข้อตกลงการให้บริการ (Service Level Agreement) • ประเมินผลตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ คุณภาพ ? ใครเก็บข้อมูล เก็บอย่างไร

  9. ใครประเมิน ? น้ำหนักผู้ประเมิน ใครพิจารณาสรุป หัวหน้า ส่วนราชการ รองหัวหน้า ส่วนราชการ ผู้อำนวยการ สำนัก/กอง/ศูนย์ หัวหน้าหน่วยงานภายใต้ สำนัก/กอง ผู้ปฏิบัติราชการที่ไม่มีผู้ใต้บังคับบัญชา

  10. สรุปขั้นตอนการประเมินผลการปฏิบัติงาน-จุฬาฯสรุปขั้นตอนการประเมินผลการปฏิบัติงาน-จุฬาฯ • ส่วนงานจัดทำเป้าหมาย วัตถุประสงค์ และเกณฑ์การประเมิน • ผู้บังคับบัญชาชั้นต้นแจ้งให้พนักงานมหาวิทยาลัยทราบ ล่วงหน้าถึงเป้าหมาย วัตถุประสงค์ หลักเกณฑ์และวิธีการ ประเมิน สัดส่วนน้ำหนักคะแนน • คณะกรรมการ (แต่งตั้งโดยคณะกรรมการบริหารส่วนงาน ประกอบด้วยประธานและกรรมการ จำนวน ๒ ถึง ๔ คน โดยเป็นบุคคลภายนอกส่วนงานนั้น อย่างน้อย ๑ คน) รับผิดชอบการประเมิน

  11. คณะกรรมการบริหารส่วนงานพิจารณาอนุมัติ แจ้งคณะกรรมการบริหารเพื่อทราบ • ผู้บังคับบัญชาชั้นต้นแจ้งผลการประเมิน ข้อดีและข้อควรปรับปรุงแก่ผู้รับการประเมิน ตกลงกันเกี่ยวกับวิธีการและระยะเวลาในการปรับปรุงการปฏิบัติงาน

  12. ผลการประเมิน – กพ.

  13. ผลการประเมิน ดีเยี่ยม (คะแนนร้อยละ ๘๗.๖-๑๐๐.๐) ปรับไม่เกินร้อยละ ๙ ดีมาก (คะแนนร้อยละ ๗๔.๑๐-๘๗.๕) ปรับไม่เกินร้อยละ ๗ ดี (คะแนนร้อยละ ๖๐.๖-๗๔.๐) ปรับไม่เกินร้อยละ ๕ ปานกลาง (คะแนนร้อยละ ๔๗.๑๐-๖๐.๕) ปรับไม่เกินร้อยละ ๓ ต้องปรับปรุง (คะแนนร้อยละ ๓๓.๖-๔๗.๐) ไม่ปรับอัตราเงินเดือน ต่ำ (คะแนนต่ำกว่าร้อยละ ๓๓.๕๐) อาจพิจารณาไม่ต่อสัญญาจ้าง

  14. ปัญหาที่พบ : การออกแบบระบบ คำนึงถึงผลงาน อิง KPI ของหน่วยงานด้วย จริงไหม- องค์ประกอบของการประเมินของแต่ละสายงานบางสายงาน ยังไม่เหมาะสม- ผู้ประเมินแต่ละกลุ่มให้คะแนนโดยมาตรฐานต่างกัน ถ้าจะนำมาเปรียบเทียบกัน ต้อง calibrate- การพิจารณาสรุป ต้องอยู่ในรูปคณะกรรมการ- ต้องแสดงผลการประเมินอย่างเปิดเผย และ รับฟังความคิดเห็น

  15. แนวทางการประเมินผล การปฏิบัติงานของบุคลากรทุกระดับ หัวข้อที่น่าอภิปราย แนวคิดของระบบเป็นอย่างไร องค์ประกอบการประเมินผลเป็นอย่างไร ผู้ใดเป็นผู้ประเมิน ผลการประเมินใช้หลักใด

  16. - Alternatives ??? - ประโยชน์ / การนำผลการประเมินไปใช้เพื่อพิจารณาเลื่อนขั้นเงินเดือนเพื่อพัฒนาบุคคลระยะยาว???

More Related