1 / 48

เทคโนโลยีสำหรับการพัฒนาสื่อประสม I

เทคโนโลยีสำหรับการพัฒนาสื่อประสม I. โดย ศุภกฤษฏิ์ นิวัฒนากูล สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ สำนักวิชาเทคโนโลยีสังคม. วัตถุประสงค์. เมื่อจบบทเรียนนี้แล้ว นักศึกษาสามารถ ทราบถึงเทคโนโลยีที่ใช้ในการผลิตสื่อประสมได้อย่างถูกต้อง เลือกใช้เทคโนโลยีในการผลิตสื่อประสมได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม. เนื้อหา.

harsha
Download Presentation

เทคโนโลยีสำหรับการพัฒนาสื่อประสม I

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. เทคโนโลยีสำหรับการพัฒนาสื่อประสม I โดย ศุภกฤษฏิ์ นิวัฒนากูล สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ สำนักวิชาเทคโนโลยีสังคม

  2. วัตถุประสงค์ เมื่อจบบทเรียนนี้แล้ว นักศึกษาสามารถ • ทราบถึงเทคโนโลยีที่ใช้ในการผลิตสื่อประสมได้อย่างถูกต้อง • เลือกใช้เทคโนโลยีในการผลิตสื่อประสมได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม

  3. เนื้อหา • คอมพิวเตอร์สำหรับการพัฒนาสื่อประสม • ระบบสีของคอมพิวเตอร์ • ประเภทของภาพในงานคอมพิวเตอร์กราฟิก • รูปแบบของไฟล์กราฟิกแบบต่าง ๆ • ซอฟต์แวร์สำหรับการพัฒนาสื่อประสม

  4. คอมพิวเตอร์สำหรับการพัฒนาสื่อประสมคอมพิวเตอร์สำหรับการพัฒนาสื่อประสม • คอมพิวเตอร์กราฟิก • ประวัติโดยย่อของคอมพิวเตอร์กราฟิก • การประยุกต์ใช้งานของคอมพิวเตอร์กราฟิก

  5. คอมพิวเตอร์กราฟิก • เป็นการสร้างและจัดการกับภาพกราฟิกโดยใช้คอมพิวเตอร์ • มีจุดเริ่มต้นมาจากการนำเสนอข้อมูลที่เป็นตัวเลขจำนวนมาก ๆ ให้อยู่ในรูปที่เข้าใจได้ง่ายขึ้น เช่น การใช้แผนภูมิ แผนภาพ เป็นต้น • ปัจจุบันมีการนำไปใช้ในทุก ๆ ด้าน ไม่ว่าจะเป็นทางด้านธุรกิจ โรงงานอุตสาหกรรม งานศิลปะ การบันเทิง งานโฆษณา การศึกษา การวิจัย การฝึกอบรม และทางการแพทย์

  6. ประวัติโดยย่อของคอมพิวเตอร์กราฟิกประวัติโดยย่อของคอมพิวเตอร์กราฟิก • ปี 1940 มีการแสดงภาพกราฟิกโดยใช้เครื่องพิมพ์ โดยรูปภาพที่ได้จะเป็นการนำตัวอักษรมาประกอบกัน • ปี 1950 สถาบันเทคโนโลยีแห่งแมสซาชูเซตส์ (MIT) ได้พัฒนาคอมพิวเตอร์ที่มีหลอดภาพ CRT (Cathode Ray Tube) เป็นส่วนแสดงผลแทนเครื่องพิมพ์ • ปี 1950 ระบบ SAGE ของกองทัพอากาศสหรัฐอเมริกา สามารถแปลงสัญญาณจากเรดาร์ให้เป็นภาพบนจอคอมพิวเตอร์ได้

  7. ปี 1950-1960 มีงานวิจัยเพื่อเป็นต้นแบบเกี่ยวกับระบบคอมพิวเตอร์กราฟิก มากมาย เช่น • ระบบการวาดเส้นโดยการกำหนดจุดบนจอภาพโดยใช้ปากกาแสง • ระบบการวาดภาพซ้ำในระบบหลอดภาพ CRT • ปี 1968 บริษัท เทคโทรนิกส์ (Tectronix) ผลิตจอภาพแบบเก็บภาพไว้ได้จนกว่าจะต้องการลบ (Storage – Tube CRT) โดยไม่ต้องการหน่วยความจำ และการวาดซ้ำ

  8. การประยุกต์ใช้งานของคอมพิวเตอร์กราฟิกการประยุกต์ใช้งานของคอมพิวเตอร์กราฟิก • การออกแบบ • โปรแกรมจำพวก CAD (Computer-Aided Design) เพื่อช่วยการออกแบบทางวิศวกรรม • การออกแบบวงจรทางด้านวิศวกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ • การออกแบบพาหนะต่าง ๆ • การออกแบบโครงสร้างทางวิศวกรรมโยธา และสถาปัตยกรรม

  9. การแสดงกราฟและแผนภาพ • การนำเสนอข้อมูลเพื่อการบริหาร • การนำเสนอข้อมูลในระบบข้อมูลทางภูมิศาสตร์ หรือ GIS (Geographical Information System) • การสร้างภาพศิลป์ • การวาดรูป • การตกแต่งรูป

  10. การสร้างภาพเคลื่อนไหวการสร้างภาพเคลื่อนไหว • การสร้างภาพยนตร์การ์ตูน ภาพยนตร์นิยายวิทยาศาสตร์ หรือภาพยนตร์ที่ใช้เทคนิคต่าง ๆ • ใช้ในระบบการศึกษา การอบรม การวิจัย และการจำลองการทำงาน เช่น การจำลองการขับเครื่องบิน เป็นต้น • ใช้ในเกม เพื่อเป็นการพักผ่อนหย่อนใจ

  11. อิมเมจโปรเซสซิง • คือ การแสดงภาพที่เกิดจากการถ่ายรูป หรือจากการสแกนภาพให้ปรากฏบนจอภาพคอมพิวเตอร์ โดยจะมีการแปลงข้อมูลภาพให้อยู่ในรูปดิจิตอล • มีประโยชน์ในการแสดงภาพของวัตถุที่ไม่สามารถเห็นได้โดยตรง เช่น ภาพถ่ายดาวเทียม เป็นต้น

  12. พิกเซล (Pixel) • คือจุดเล็ก ๆ ที่รวมกันทำให้เกิดเป็นภาพขึ้น • ความหนาแน่นหรือจุดของพิกเซลจะเป็นตัวบอกความละเอียด (Resolution) ของภาพ โดยมีหน่วยเป็น ppi (Pixel Per Inch) • จุดแต่ละจุดหรือพิกเซลสามารถแสดงคุณสมบัติทางสีให้แก่ภาพด้วย • การแสดงผลของเครื่องพิมพ์ จะเป็นการแสดงผลแบบ Raster Devices โดยอาศัยการรวมกันของพิกเซลออกมาเป็นรูป

  13. ระบบสีของคอมพิวเตอร์ • จอคอมพิวเตอร์สร้างสีโดยการเปล่งแสงออกมาจากหลอดภาพโดยตรง และใช้ระบบสี RGB (Red, Green, Blue) ซึ่งทำให้มองดูเป็นธรรมชาติ • ในการพิมพ์ออกมายังเครื่องพิมพ์จะใช้ระบบสี CMYK(Cyan, Magenta, Yellow, Black) จึงต้องมีการแปลงสีจาก RGB ไปเป็น CMYK • ในการแปลงสีจาก RGB ไปเป็น CMYK มีปัญหา คือ การที่สีเปลี่ยนจากสีหนึ่งไปเป็นอีกสีหนึ่ง

  14. โมเดลสี (Color Models) • Bitmap • Indexed Color • Grayscale • RGB Color • Duotone • CMYK Color • Multichannel • Lab Color

  15. Bitmap • เก็บข้อมูลของสี 1 บิตต่อพิกเซล • สามารถแสดงได้เพียงสีขาวและสีดำ ไม่มีการไล่เฉดสี • ได้ไฟล์รูปภาพขนาดเล็ก • เหมาะสำหรับใช้เก็บภาพลายเส้น

  16. Indexed Color • ใช้ตารางในการเทียบสี โดยใช้ข้อมูลจำนวน 8 บิตต่อพิกเซล • สามารถแสดงสีได้สูงสุดเพียง 256 สีต่อพิกเซล • ข้อเสีย มีเลเยอร์ได้เพียงเลเยอร์เดียว ทำให้ภาพขาดรายละเอียด

  17. Grayscale • เป็นโหมดสีสำหรับภาพขาวดำ • สามารถไล่เฉดสีได้ถึง 256 ลำดับ

  18. RGB Color • ใช้สีจำนวน 3 สี คือ ได้แก่ แดง เขียน น้ำเงิน • แต่ละสีจะมีการไล่ลำดับสีได้ถึง 256 ลำดับ • เมื่อรวมกันทั้ง 3 สี จะสามารถแสดงสีได้สูงถึง 16.7 ล้านสี • เหมาะสำหรับใช้ในการตกแต่งสี เพราะสามารถแทนสีได้มาก

  19. Duotone • ใช้สำหรับภาพแบบโมโนโทน ดูโอโทน ไตรโทน ควอดโทน • รูปภาพจะเป็นแบบเกรย์สเกลที่มีสีเพียงแชนแนลเดียว ซึ่งจะมีการแบ่งลำดับสีขนาด 8 บิตต่อพิกเซล

  20. CMYK Color • ใช้สีจำนวน 4 สี คือ ฟ้า บานเย็น เหลือง ดำ • แต่ละสีเก็บข้อมูล 8 บิต • ใช้ในกระบวนการพิมพ์ • ข้อเสีย ไม่สามารถแสดงสีทั้งหมดที่มีในธรรมชาติได้

  21. Multichannel • เก็บข้อมูลสีจำนวน 8 บิตต่อพิกเซล ทำให้มีสีได้สูงสุดเพียง 256 สี • ถูกใช้ในการพิมพ์สีในกรณีพิเศษ

  22. Lab Color • เป็นโหมดสีที่ให้สีเหมือนจริงที่สุด • ใช้ค่า L (Lightness) แทนความสว่างโดยมีค่าตั้งแต่ 0-100 ค่า a แทนสีเขียวถึงแดง และค่า b แทนสีน้ำเงินถึงเหลือง ค่าทั้งสองจะมีค่าตั้งแต่ +120 ถึง -120

  23. ประเภทของภาพในงานคอมพิวเตอร์กราฟิกประเภทของภาพในงานคอมพิวเตอร์กราฟิก • ภาพแบบบิตแมป (Bitmap) • เป็นภาพแบบ Resolution Dependent • ภาพจะประกอบด้วยจุดสีต่าง ๆ ที่มีจำนวนคงที่ตายตัว • ข้อดี : เหมาะสำหรับภาพที่ต้องการระบายสี สร้างสี หรือกำหนดสีที่ต้องละเอียด สวยงามได้ง่าย • ข้อเสีย : ถ้านำภาพมาขยาย ความสวยงามจะลดลง แต่ถ้าเพิ่มความละเอียด จะทำให้ภาพมีขนาดใหญ่ • ตัวอย่างไฟล์ : .BMP, .PCS, .TIF, .GIF, .JPG, .PCD

  24. ภาพแบบเวกเตอร์ (Vector) หรือ Object-Oriented Graphics • เป็นรูปภาพประเภท Resolution-Independent • เป็นภาพที่สร้างจากคอมพิวเตอร์ที่มีการสร้างให้แต่ละส่วนของภาพเป็นอิสระต่อกัน แยกชิ้นส่วนของภาพทั้งหมดออกเป็นเส้นตรง รูปทรง หรือส่วนโค้ง โดยอ้างอิงตามความสัมพันธ์ทางคณิตศาสตร์ หรือการคำนวณ • ข้อดี : สามารถเปลี่ยนแปลงขนาดโดยที่ความละเอียดไม่ลดลง มีขนาดของไฟล์ที่เล็กกว่าพวกบิตแมป • ตัวอย่างไฟล์ : .EPS, .WMF, .CDR, .AI, .CGM, .DRW, .PLT

  25. รูปแบบของไฟล์กราฟิกแบบต่าง ๆ • ไฟล์ที่มีการจัดเก็บแบบบิตแมป • Windows Bitmap • Graphic Interchange Format • GEM Bitmap Image • Joint Photographic Experts Group • Microsoft Paint • Z-Soft PC Paintbrush Format • Tragged Image File Format

  26. Windows Bitmap

  27. Graphic Interchange Format

  28. GEM Bitmap Image

  29. Joint Photographic Experts Group

  30. Microsoft Paint

  31. Z-Soft PC Paintbrush Format

  32. Tagged Image File Format

  33. ไฟล์ที่มีการจัดเก็บแบบเวกเตอร์ไฟล์ที่มีการจัดเก็บแบบเวกเตอร์ • Drawing Interchange Format • Lotus 1-2-3 Picture • Hewlett Packard Graphic Language

  34. Drawing Interchange Format

  35. Lotus 1-2-3 Picture

  36. Hewlett Packard Graphic Language

  37. ไฟล์ที่มีการจัดเก็บแบบบิตแมปและแบบเวกเตอร์ไฟล์ที่มีการจัดเก็บแบบบิตแมปและแบบเวกเตอร์ • Computer Graphic Metafile • Encapsulated PostScript • PICT / Macintosh QuickDraw Picture Format • Portable Document Format • Windows Metafile

  38. Computer Graphic Metafile

  39. Encapsulated PostScript

  40. PICT / Macintosh QuickDraw Picture Format

  41. Portable Document Format

  42. Windows Metafil

  43. ซอฟต์แวร์สำหรับการพัฒนาสื่อประสมซอฟต์แวร์สำหรับการพัฒนาสื่อประสม • Paint program or bitmapped graphics • Draw program or vector graphics • 3D Modeling programs • Image-Editing Programs • Image enhancement plug-ins

  44. Paint program or bitmapped graphics • Geometric figures • Edit • Add color and patterns • Cut and paste • Rotate and Stretch

  45. Draw program or vector graphics • Fully editable shapes • Bezier curves • Gradient fill • Blending --> morphing • Grouping objects • Rasterize --> refresh rate

  46. 3D Modeling programs • Modeling • Arranging and deforming objects • Shading • Setting lights and cameras • Rendering

  47. Image-Editing Programs • Cropping • Brightness, contrast, and color correction • Filters • Layering • File format conversion

  48. คำถาม ?

More Related