1 / 72

สาขาวิชา เกษตรศาสตร์และสหกรณ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

แนวทางการสร้างเครือข่ายขับเคลื่อน เมืองเกษตรสีเขียว ( Green Agriculture City ). สาขาวิชา เกษตรศาสตร์และสหกรณ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. Green City การพัฒนาเกษตร อาหาร เพื่อคุณภาพชีวิต ของเกษตรกร ผู้บริโภค และสิ่งแวดล้อม.

harvey
Download Presentation

สาขาวิชา เกษตรศาสตร์และสหกรณ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. แนวทางการสร้างเครือข่ายขับเคลื่อนแนวทางการสร้างเครือข่ายขับเคลื่อน เมืองเกษตรสีเขียว (Green Agriculture City) สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

  2. Green Cityการพัฒนาเกษตร อาหาร เพื่อคุณภาพชีวิตของเกษตรกร ผู้บริโภค และสิ่งแวดล้อม

  3. คำถามเจ้าหน้าที่ ???????จะทำได้หรือ?ทำที่ไหนดี หาเกษตรกรทำไม่ได้ ?จะแนะนำอะไร? อย่างไร?ขายอยู่ที่ไหน?มีปัญหาแก้ไม่ตกใครจะช่วย?ถามใคร?งบที่ไหน?ประสานกับใครไม่มีข้อมูล?ฯลฯ

  4. คำถามผู้ปลูก??????????ไม่เชื่อว่าทำได้?ผลผลิตได้น้อย?ราคาเท่ากับเกษตรทั่วไปทำทำไม?ทำแล้วไม่คุ้มทุน ขาดทุน?เสียเวลา? ยุ่งยาก?ขั้นตอนเยอะ?ปลูกแล้วไม่มีที่ขาย?ฯลฯ

  5. คำถามผู้กระจายสินค้าตลาด??????ผลผลิตมีน้อยไม่พอรวบรวม?ใครทำบ้างอยู่ที่ไหน?ใครรับรอง?ผลผลิตไม่ต่อเนื่อง ?ตรวจสอบย้อนกลับอย่างไร?ฯลฯ

  6. คำถามผู้บริโภค????????หาซื้อที่ไหน?ไม่สะดวก?ติดต่อใคร? อย่างไร?ราคาแพง?เชื่อได้อย่างไรว่าปลอดภัยจริง?สินค้าไม่หลากหลายอยากกินหลายอย่าง?ฯลฯ

  7. หากจะคลี่คลายปัญหา สิ่งที่ต้องก้าวข้าม • การมองมุมเดียว • ทำด้านเดียว • ทำหน่วยงานเดียว • ทำวิธีการเดียว • ทำช่วงเดียว • ทำแบบเดียว • ทำเดี๋ยวเดียว

  8. หัวใจการพัฒนา เมืองเกษตรสีเขียว • พัฒนาพื้นที่ ให้ปลอดภัย ไร้มลพิษ มีการจัดการของเสีย • พัฒนาสินค้า ให้มีคุณภาพ ได้มาตรฐาน ปลอดภัย ใช้ภูมิปัญญา • พัฒนาคน ให้มีความเป็นอยู่ที่ดี มีรายได้ ผลิตยั่งยืนอยู่ในพื้นที่ได้

  9. การขับเคลื่อน.....เมืองเกษตรสีเขียวการขับเคลื่อน.....เมืองเกษตรสีเขียว • ต้องทำทุกระบบ • ระบบการเรียนรู้(เกษตรกร ผู้บริโภค จนท.)และระบบฐานข้อมูล • ระบบมาตรฐานความปลอดภัย • ระบบการผลิต • ระบบการจัดการกลุ่ม เครือข่าย • ระบบการกระจายสินค้า • ระบบเชื่อมโยงผู้บริโภค การสื่อสารและประชาสัมพันธ์

  10. ระบบการเรียนรู้ และระบบฐานข้อมูล

  11. การเรียนรู้(ของทุกกลุ่ม)การเรียนรู้(ของทุกกลุ่ม) • เนื้อหา ครบถ้วน ทำได้จริง ปรับทัศนะก่อน • กระบวนการไม่น่าเบื่อ เห็นของจริง ได้ลองทำ ผสมผสานวิธี หลายช่องทาง ต่อเนื่อง ผู้เรียนมีโอกาสจัดการเองได้ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ต่อเนื่อง • วิทยากรตัวจริง รู้จริง ปรึกษาได้ • กระบวนกร ออกแบบได้ดี เชื่อมโยงได้ หาแหล่งความรู้ได้ แนะนำได้

  12. ระบบฐานข้อมูลใคร ทำอะไร ที่ไหน เท่าไร ต้นแบบต่างๆ แหล่งตลาด ความรู้

  13. เรียนรู้ On line

  14. ระบบการผลิต

  15. การผลิต • วิธีการสอดคล้อง บริบท พื้นที่ สินค้า คน • จัดการปัจจัยพึ่งตนเองให้มากที่สุด • ลดต้นทุน เพิ่มมูลค่าด้วยคุณค่า • เพิ่มศักยภาพทุกขั้นตอน ก่อน ระหว่าง หลังการผลิต • ผสมผสานภูมิปัญญาท้องถิ่นกับ ความรู้ภายนอก

  16. ระบบการจัดการกลุ่ม เครือข่าย เพราะการผลิตต้องปราณีต มีผลผลิตมากพอ สามารถจัดการได้และรวมกันจัดการตลาด

  17. กลุ่ม เครือข่าย • เริ่มจากกลุ่มเล็ก • กลุ่มจัดการได้จริง • กลุ่มดูแล ควบคุมสมาชิกได้ • เรียนรู้ พบปะกันเสมอ • เชื่อมโยงเครือข่าย • มีกลไกประสาน • กิจกรรมต่อเนื่อง หลายด้าน

  18. ระบบรับรองมาตรฐาน ความปลอดภัย

  19. มาตรฐานความปลอดภัย • หลากหลาย (องค์กรรับรอง มีส่วนร่วมPGS) • อธิบายได้ ยืนยันได้ พิสูจน์ได้ ผู้ซื้อมั่นใจ • ตามความจำเป็น เห็นประโยชน์ • ไม่กีดกัน แต่เป็นเครื่องมือพัฒนา • รู้แหล่งที่มา ตรวจสอบย้อนกลับ

  20. ระบบการกระจายสินค้า

  21. การกระจายสินค้า • สร้างหลายช่องทาง มีสินค้าหลากหลาย วัตถุดิบ แปรรูป • เริ่มใกล้ตัว..หน้าฟาร์ม...ท้องถิ่น....เมือง....ส่งออก • จัดการเหมาะสมตั้งแต่เกษตรกร....ผู้กระจาย • รณรงค์ หน่วยงาน บริษัท สถาบันเข้าร่วมจัดการ • ผู้ซื้อสะดวก เข้าถึงง่าย ประหยัดเวลา • จนท.ลดบทบาท • เกษตรกรและกลุ่มได้ประโยชน์ ไม่ใช่ปัจเจก ธุรกิจใหญ่

  22. ผู้บริโภคสนับสนุนผู้ผลิต CSA

  23. การจัดการตลาดในระบบสมาชิกกล่องผักการจัดการตลาดในระบบสมาชิกกล่องผัก ระบบสมาชิกกล่องผัก หรือ ระบบซีเอสเอ(CSA :Community Supported Agriculture) เป็นระบบที่มุ่งเน้นการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างผู้ผลิตและผู้บริโภคโดยมีการตกลงกันล่วงหน้าและแผนการผลิตร่วมกันโดยผู้บริโภคที่สมัครเป็นสมาชิกอาจต้องจ่ายเงินล่วงหน้าเพื่อเป็นเงินทุนในการผลิต ซึ่งผู้บริโภคจะได้รับผลผลิตซึ่งจะเป็นผักสด ผลไม้ตามฤดูกาลเป็นการตอบแทนในแต่ละสัปดาห์

  24. รายการชุดผัก

  25. ระบบเชื่อมโยงผู้บริโภค การสื่อสาร และการประชาสัมพันธ์

  26. เชื่อมโยงผู้บริโภค การสื่อสารและการประชาสัมพันธ์ • สร้างความเข้าใจผู้บริโภค สังคม • รณรงค์ให้ทุกฝ่ายร่วมรับผิดชอบ ร่วมหนุน • สร้างความสัมพันธ์ ผูกพันผู้ผลิต ผู้บริโภค • ปชส.หลายช่องทาง หลายวิธีการ เหมาะและเจาะกลุ่มเป้าหมายได้ • สื่อสารต่อเนื่อง • ส่งเสริมให้เห็นคุณค่าของผู้ผลิต ชุมชน สินค้า ผลิตภัณฑ์

  27. แนวทางการดำเนินงาน GC. • เชื่อมโยงกับโครงการ บริหารจัดการเขตเกษตรเศรษฐกิจ วิเคราะห์พื้นที่ โครงการ สมาร์ทฟาร์มเมอร์ • เริ่มต้นจากพื้นที่ที่สามารถบูรณาการได้ (หมู่บ้าน ตำบล อำเภอ) • มีความพร้อมในการพัฒนาสินค้าเกษตรที่สำคัญ • สู่กระบวนการผลิต ปลอดภัย ผลผลิตดีมีคุณภาพ เพิ่มมูลค่า แปรรูป ใช้เทคโนโลยี่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

  28. แล้วเราจะเริ่มกันอย่างไร?????แล้วเราจะเริ่มกันอย่างไร?????

  29. แนวคิดการพัฒนาของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวแนวคิดการพัฒนาของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

  30. 1. ภูมิสังคม การพัฒนาจะต้องคำนึงถึงความสอดคล้องกับสภาพความเป็นอยู่ ภูมิประเทศ และสภาพทางสังคมวิทยาของชุมชนนั้นๆ

  31. 2. ทำงานแบบบูรณาการ ทรงเน้นการสร้างความรู้ รัก สามัคคีและการร่วมมือ ร่วมแรง ร่วมใจกัน ด้วยการปรับลดช่องว่างระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ที่มักจะต่างคนต่างทำและยึดติดกับการเป็นเจ้าของเป็นสำคัญ

  32. 3. พัฒนาและอนุรักษ์ทรัพยากรอย่างยั่งยืน

  33. การขับเคลื่อนต้องทำทุกระบบ • ระบบการเรียนรู้และฐานข้อมูล • ระบบมาตรฐานความปลอดภัย • ระบบการผลิตและ • ระบบการจัดการกลุ่ม เครือข่าย • ระบบการกระจายสินค้า • ระบบเชื่อมโยงผู้บริโภค สื่อสารและประชาสัมพันธ์ จึงต้องหาภาคี และสร้างเครือข่าย

  34. การขับเคลื่อนเมืองเกษตรสีเขียวเกี่ยวข้องกับหลายเรื่อง หลายระดับ

  35. จักรวาล โลก ภูมิภาค กลุ่มประเทศ ภาค ประเทศ อำเภอ จังหวัด กลุ่มจังหวัด ระดับหมู่บ้าน ภูมินิเวศ องค์กร เครือข่าย กลุ่มพวกญาติ ครอบครัวเกษตรกร เกษตรกร ปัจจัยที่เกี่ยวข้องต้องเชื่อมโยงหลายระดับ

  36. การพึ่งตนเอง ของชาวบ้าน • ระดับครัวเรือน • เกษตรผสมผสาน ประมง ยั่งยืน • หัตถกรรมครัวเรือน • แปรรูปผลิตภัณฑ์ • เพิ่มมูลค่า ด้วยคุณค่า • ระดับชุมชนหมู่บ้าน • องค์กรชาวบ้าน • กิจกรรมกลุ่ม สตรี เยาวชน • ทุนหมุนเวียน • วิสาหกิจชุมชน • ระดับท้องถิ่น • รักษานิเวศ ทรัพยากรธรรมชาติ • เครือข่ายชาวบ้าน ภาคี • การเรียนรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลง • ตลาด การจัดการ

  37. สร้างความร่วมมือประสานภาคีสร้างความร่วมมือประสานภาคี ขยายเครือข่าย ระดับเครือข่าย • วัตถุประสงค์ร่วม เชื่อมโยง กิจกรรมสนองสมาชิกส่วนร่วม • สร้างแกนนำ ขยายกิจกรรม • ทำความเข้าใจตระหนัก ระดับกลุ่ม ชุมชน ตรวจตรา • กฎระเบียบดูแลน้ำป่าทรัพยากร • กรรมการ ทำแผนดำเนินการ การตลาด • ดูแล ใช้ถูกวิธี การจัดการ ระดับครัวเรือน ลดละเลิกการทำลาย • ระบบผลิตยั่งยืน การเพิ่มมูลค่า รักษาความอุดมสมบูรณ์ • ใช้อย่างรู้คุณค่า • รักษาความหลากหลาย รูปแบบการจัดการระดับต่างๆ

  38. พลังพร้อมขับเคลื่อน

  39. พลังหน่วยงาน • มีบุคลากรรับผิดชอบระดับพื้นที่ • เจ้าหน้าที่หลายส่วนเป็นคนรุ่นใหม่มีพลัง • มีช่องทางสื่อสารใหม่ๆ • มีหน่วยงานองค์กรวิจัย พัฒนา ส่งเสริมกระจายทุกพื้นที่ • มีตัวอย่างการทำงานที่ดี • มีทรัพยากร พลังเกษตรกร มีภูมิปัญญา วัฒนธรรม มีต้นแบบรูปธรรมตัวอย่าง มีศูนย์เรียนรู้ที่ดี มีกลุ่ม มีเครือข่าย ยังพอมีทรัพยากรดิน น้ำ ป่า ความหลากหลายเป็นทุน

  40. พลังสังคม • มีภาคี หน่วยงาน รัฐ เอกชน ประชาชนหลายหลายทำงานด้านเกษตรและอาหาร • ผู้บริโภคต้องการอาหารดี มีคุณภาพ แสวงหาทางเลือก • ภาคสื่อเป็นช่องทางกระตุ้น จุดกระแส ช่องทางเรียนรู้และเชื่อมต่อได้ • เริ่มตระหนักความมั่นคงทางอาหาร การถูกผูกขาด

  41. สร้างเครือข่ายในการขับเคลื่อนอาหารปลอดภัยสร้างเครือข่ายในการขับเคลื่อนอาหารปลอดภัย

  42. เครือข่ายคืออะไร?? การประสานความร่วมมือ ระหว่างบุคคล กลุ่มและองค์กรที่มีกิจกรรมคล้ายคลึงกันและเชื่อมโยงขยายผลการทำงานไปสู่กลุ่ม องค์กรอื่นๆเพื่อเสริมสร้างพลัง ในการแก้ไขปัญหาโดยผ่านกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างกัน ที่จะนำไปสู่ การปฎิบัติ การเปลี่ยนแปลงตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายร่วมกันของทุกฝ่าย

  43. เครือข่าย(NETWORK) NETคือตาข่ายที่โยงใยถึงกันและพร้อมที่จะ WORK ทำงานเมื่อต้องการใช้งาน

  44. พื้นที่หลากหลาย แน่น ใจเดียวกัน รูปแบบ ระดับหลากหลาย เนื้อหา ไม่ใช่แค่จับมารวม การก่อตัว กิจกรรม หลัก-ย่อยหลากหลาย เครือข่าย กลุ่ม องค์กร ถักทอ • หลายรูปแบบ • หลายลักษณะ • หลายระดับ • แต่มีเป้าหมายรวมกันและแลกเปลี่ยนแบ่งปัน

  45. ความจำเป็นในการสร้างเครือข่ายความจำเป็นในการสร้างเครือข่าย 1. สถานการณ์ปัญหาและสภาพแวดล้อม เกิดปัญหาซ้ำซ้อน หลากหลายและขยายตัว เกินความสามารถของกลุ่ม 2. สร้างโอกาสและให้โอกาสในการพัฒนา ศักยภาพของฝ่ายต่างๆ 3. เกิดการประสานผลประโยชน์อย่างเท่าเทียม

  46. องค์ประกอบของเครือข่ายองค์ประกอบของเครือข่าย 1. สมาชิกของเครือข่าย 2. มีจุดมุ่งหมายร่วมกัน 3. การทำหน้าที่ต่อกันของสมาชิกอย่างมีจิตสำนึก 4. การมีส่วนร่วมในกิจกรรมและการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 5. การมีปฏิสัมพันธ์และการสื่อสารร่วมกัน 6. กระบวนการเสริมสร้างซึ่งกันและกัน 7. ความเท่าเทียมของฝ่ายต่างๆ 8. การแบ่งปันผลประโยชน์ที่เกิดจากการทำงานร่วมกัน

  47. เป็นเครือข่ายแล้วได้อะไร???เป็นเครือข่ายแล้วได้อะไร??? 1. เกิดกระบวนการเรียนรู้ 2. การเพิ่มโอกาสในการแก้ไขปัญหา 3. เกิดการพึ่งพาตนเอง 4. เกิดการจัดการทรัพยากรในท้องถิ่น 5. เกิดกระบวนการผลักดันเชิงนโยบาย 6. เกิดพลังอำนาจในการต่อรอง

  48. วิธีการสร้างเครือข่ายวิธีการสร้างเครือข่าย • พบปะกัน คุยกัน • กำหนดเป้าหมายร่วมกัน • ออกแบบ วางแผนร่วม • สร้างข้อตกลงร่วม • ช่วยกันทำ ช่วยกันกำกับ ติดตาม ประเมิน • มีผู้ประสาน ฯลฯ

  49. กระบวนการทำงานของเครือข่ายกระบวนการทำงานของเครือข่าย 1. กระบวนการทำงานที่เชื่อมประสานจากจุดเล็กและขยายไปสู่หน่วยใหญ่ - หาแนวร่วม - ประสานความร่วมมือ - สร้างความพร้อมในเรื่องข้อมูล การจัดการ และแนวร่วมที่หลากหลาย - รักษาพันธกรณี ความสัมพันธ์และการสื่อสารที่เป็น ระบบเพื่อให้เครือข่ายมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง

  50. กระบวนการทำงานของเครือข่ายกระบวนการทำงานของเครือข่าย 2. การรักษาสัมพันธภาพที่สร้างความรู้ ความหมาย และโลกทัศน์ร่วมกัน - การสื่อสารระหว่างสมาชิกและภาคีเพื่อให้ฝ่ายต่างๆ ได้มีโอกาสเรียนรู้และทำงานร่วมกัน 3. การเสริมสร้างกระบวนการเรียนรู้และการปรับตัวเข้าหากัน ทั้งแนวคิดและวิธีปฏิบัติ โดยใช้เทคนิควิธีการต่างๆ เช่น การดูงาน การฝึกอบรม การพัฒนาผู้นำ การถอดบทเรียนร่วมกัน 4. การพัฒนากิจกรรมและการเคลื่อนไหวทางสังคม เช่นการกำหนดนโยบาย มาตรการทางกฎหมาย ฯลฯ

More Related