1 / 105

ในการเดินทางไปราชการ

ค่าใช้จ่าย. ในการเดินทางไปราชการ. การเดินทางไปราชการ. การเดินทางไปราชการในราชอาณาจักร การเดินทางไปราชการต่างประเทศ. กฎ / ระเบียบที่เกี่ยวข้อง. ก่อนเดินทาง ขออนุมัติเดินทางไปราชการ – ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการอนุมัติให้เดินทางไปราชการ และการจัดประชุมราชการ พ.ศ. 2524 ข้อ 11

hasad-dean
Download Presentation

ในการเดินทางไปราชการ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ค่าใช้จ่าย ในการเดินทางไปราชการ

  2. การเดินทางไปราชการ • การเดินทางไปราชการในราชอาณาจักร • การเดินทางไปราชการต่างประเทศ

  3. กฎ / ระเบียบที่เกี่ยวข้อง ก่อนเดินทาง • ขออนุมัติเดินทางไปราชการ –ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการอนุมัติให้เดินทางไปราชการ และการจัดประชุมราชการ พ.ศ. 2524 ข้อ 11 • ขออนุมัติยืมเงินราชการ –ระเบียบการเบิกจ่ายเงินจากคลัง การเก็บรักษาเงินและการนำเงินส่งคลัง พ.ศ. 2551 หมวด 5

  4. หลังเดินทาง • ขออนุมัติเบิกค่าใช้จ่ายเดินทางไปราชการ– เบิกตรง • ขออนุมัติเบิกค่าใช้จ่ายเดินทางไปราชการและส่งคืนเงินยืม - พระราชกฤษฎีกาค่าใช้จ่ายเดินทางไปราชการ พ.ศ. 2526 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ถึงฉบับ 8 พ.ศ. 2553 - ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการเบิกค่าใช้จ่ายเดินทางไปราชการ พ.ศ. 2550 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ถึง ฉบับ 2 พ.ศ. 2554

  5. บุคคลที่มีสิทธิ 1. ข้าราชการตาม พรฎ.ค่าใช้จ่ายเดินทางไปราชการฯ 2. ลูกจ้าง (หมายถึง ลูกจ้างซึ่งได้รับค่าจ้างจากเงินงบประมาณรายจ่าย เว้นแต่ลูกจ้างชาวต่างประเทศที่มีสัญญาจ้าง) 3. พนักงานราชการ 4. บุคคลภายนอก 5. บุคคลในครอบครัว (คู่สมรส บุตร บิดา มารดา ผู้ติดตาม)

  6. ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการในราชอาณาจักรค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการในราชอาณาจักร

  7. ขั้นตอนการใช้สิทธิ 1. อนุมัติให้เดินทาง 2. ยืมเงินราชการ 3. เดินทาง 4. อนุมัติเบิกค่าใช้จ่าย

  8. การอนุมัติให้เดินทางไปราชการการอนุมัติให้เดินทางไปราชการ • ผู้ที่มีสิทธิเบิกค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการได้ ต้องได้รับอนุมัติให้เดินทางไปราชการ จากผู้มีอำนาจอนุมัติ ตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วย การอนุมัติให้เดินทางไปราชการ พ.ศ. 2524 ข้อ 11

  9. ผู้มีอำนาจอนุมัติการเดินทางฯผู้มีอำนาจอนุมัติการเดินทางฯ ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ผู้ว่าราชการจังหวัด อนุมัติ ปทจ. ผู้ว่าราชการจังหวัด อนุมัติ ข้าราชการ/ ลูกจ้าง คำสั่งจังหวัด..... ที่ .......... มอบอำนาจให้ ปทจ. ปฏิบัติราชการแทน • ปลัดกระทรวง อนุมัติลธก. ส.ป.ก. • ลธก.ส.ป.ก.อนุมัติ ข้าราชการ / พนักงานราชการ /ลูกจ้างฯ คำสั่ง ส.ป.ก. ที่ 274 /2554 ลว. 27 พค. 2554 มอบอำนาจให้ รธก. หัวหน้าผู้ตรวจราชการ ผอ.สำนัก/กอง ปฏิบัติราชการแทน

  10. ผู้มีอำนาจอนุมัติเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายเดินทางฯผู้มีอำนาจอนุมัติเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายเดินทางฯ ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ปฏิรูปที่ดินจังหวัด อนุมัติ ข้าราชการ / ลูกจ้าง • ลธก.ส.ป.ก.อนุมัติ ข้าราชการ / พนักงานราชการ /ลูกจ้างฯ คำสั่ง ส.ป.ก. ที่ 274 /2554 ลว. 27 พค. 2554 มอบอำนาจให้ รธก. หัวหน้าผู้ตรวจราชการ ผอ.สำนัก/กอง ปฏิบัติราชการแทน รธก.ส.ป.ก.อนุมัติ ลธก. คำสั่ง ส.ป.ก. ที่ 558/2552

  11. การเดินทางไปราชการ ถ้าผู้เดินทางหยุดอยู่ที่ใดโดยไม่มีเหตุอันควร ไม่มีสิทธิได้รับค่าใช้จ่ายในการเดินทางสำหรับระยะเวลาที่หยุด นั้น (ม. 11)

  12. ลักษณะการเดินทาง ♫ ไปราชการประจำ ♫ ไปราชการชั่วคราว ♫ กลับภูมิลำเนา

  13. ลักษณะการเดินทาง ชั่วคราว ระยะเวลาสั้น มีกำหนดแน่นอน เนื้องานเสร็จสิ้น เมื่อครบกำหนดเวลา ประจำ มีอัตรา ณ สำนักงานแห่งใหม่ ปฏิบัติงานตามที่ได้รับบรรจุ/แต่งตั้ง /ย้าย /โอน ลักษณะประจำ เจตนาให้ไปอยู่นาน / ตลอดไป ไม่มีอัตราว่าง ลักษณะงานไม่สิ้นสุด / มีระยะเวลานาน

  14. การเดินทาง ไปราชการชั่วคราว

  15. เดินทางไปราชการชั่วคราว (มาตรา 13) ปฏิบัติราชการชั่วคราวนอกที่ตั้งสำนักงานตามคำสั่ง ผู้บังคับบัญชา / ตามหน้าที่ราชการปกติ  สอบคัดเลือก รับการคัดเลือก  ช่วยราชการ รักษาการในตำแหน่งรักษาราชการแทน  ข้าราชการประจำต่างประเทศระหว่างอยู่ในไทย  เดินทางข้ามแดนชั่วคราวตามข้อตกลงระหว่างประเทศ

  16. สิทธิได้รับค่าใช้จ่ายเกิดขึ้นตั้งแต่วันที่วันได้รับอนุมัติเดินทาง / ออกจากราชการ • ผู้มีอำนาจอนุมัติ : อนุมัติระยะเวลา ก่อน/หลังตามความจำเป็น ผู้ได้รับอนุมัติให้ลากิจ / ลาพักผ่อน ต้องขออนุมัติระยะเวลาดังกล่าวในการเดินทางด้วย

  17. ค่าใช้จ่ายในการเดินทางชั่วคราว (มาตรา 14) - เบี้ยเลี้ยงเดินทาง - ค่าเช่าที่พัก - ค่าพาหนะ - ค่าใช้จ่ายอื่นที่จำเป็นต้องจ่าย เนื่องในการเดินทางไปราชการ

  18. ค่าเบี้ยเลี้ยง (ม. 15) เบิกได้ในลักษณะเหมาจ่าย ภายในวงเงินและเงื่อนไขที่กระทรวงการคลังกำหนด

  19. อัตราค่าเบี้ยเลี้ยง (เหมาจ่าย) ของกระทรวงการคลัง ประเภท : ระดับ • ทั่วไป :ปฏิบัติงาน , ชำนาญงาน , อาวุโส • วิชาการ :ปฏิบัติการ , ชำนาญการ , ชำนาญการพิเศษ • อำนวยการ : ต้น 240 บาท/วัน ทั่วไป : ทักษะพิเศษ วิชาการ: เชี่ยวชาญ , ทรงคุณวุฒิ อำนวยการ : สูง บริหาร : ต้น , สูง 270 บาท/วัน

  20. หัวหน้าส่วนราชการอาจออกหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการบริหารงานงบประมาณรายจ่ายเพื่อควบคุมค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการให้มีการใช้จ่ายเท่าที่จำเป็นและประหยัดก็ได้ (มาตรา 6)

  21. เบี้ยเลี้ยงเดินทางของ ส.ป.ก. อัตราที่ 1 ข้ามเขตจังหวัด จาก อ. อื่น ไป อ.เมือง ใน จ. เดียวกัน อัตราที่ 2 ไปต่าง อ. ใน จ. เดียวกัน ยกเว้น อ. เมือง ใน อ. ที่ตั้งสำนักงาน ใน กทม. ที่ตั้งสำนักงาน

  22. คำนวณเบี้ยเลี้ยงอย่างไร (ม. 16) - ออกจากที่อยู่หรือที่ทำงานปกติจนกลับถึงที่อยู่หรือที่ทำงานปกติ - กรณีพักแรม 24 ชม. เป็น 1 วัน เศษเกิน 12 ชม. นับเป็น 1 วัน • กรณีไม่พักแรม เศษเกิน 12 ชม. เป็น 1 วัน เกิน 6 ชม. นับเป็นครึ่ง วัน - กรณีลากิจ / พักผ่อนก่อนปฏิบัติราชการ ให้นับตั้งแต่ เริ่มปฏิบัติราชการ - กรณีลากิจ / พักผ่อน หลัง เสร็จสิ้นปฏิบัติราชการ ให้นับถึง สิ้นสุดเวลาปฏิบัติราชการ

  23. ระยะเวลาการเบิกเบี้ยเลี้ยงระยะเวลาการเบิกเบี้ยเลี้ยง  ไปราชการเรื่องหนึ่งเรื่องใดในที่แห่งเดียวกัน เบิกได้ไม่เกิน 120 วัน นับแต่วันออกเดินทาง ถ้าเกิน 120 วัน : ต้องได้รับอนุมัติจาก ปลัดกระทรวงเจ้าสังกัดก่อน ( ม.18 ) กรณีเจ็บป่วยระหว่างเดินทาง ต้องพักเพื่อ รักษาพยาบาล ให้เบิกเบี้ยเลี้ยง ได้แต่ต้อง ไม่เกิน 10 วัน (ต้องมีใบรับรองแพทย์ที่ทางราชการรับรอง) หากไม่มีต้องชี้แจงประกอบ ( ม. 21)

  24. ค่าเช่าที่พัก(มาตรา 17) ค่าเช่าที่พัก หมายถึง ค่าใช้จ่ายในการเช่าห้องพักในโรงแรม หรือที่พักแรม * จำเป็นต้องพักแรม ห้ามเบิก กรณี * พักในยานพาหนะ * ทางราชการจัดที่พักให้

  25. กรณีผู้เดินทางไม่เลือกจ่ายจริง กรณีผู้เดินทางไม่เลือกจ่ายจริง ให้เลือกเบิกค่าที่พักเหมาจ่ายได้ • กรณีเดินทางเป็นหมู่คณะ ให้เลือกเบิกค่าเช่า ที่พักในลักษณะเดียวกัน ทั้งคณะ

  26. ระยะเวลาการเบิกค่าที่พัก • การเดินทางไป - กลับ ระหว่างที่ปฏิบัติราชการ กับ สถานที่อยู่ หากไม่สะดวก ให้เบิกค่าเช่าที่พักได้ ไม่เกิน 120 วัน นับแต่วันออกเดินทาง • ถ้าเกิน 120 วัน : ต้องได้รับอนุมัติจาปลัดกะทรวงเจ้าสังกัดก่อน (ม.18) กรณีเจ็บป่วยระหว่างเดินทาง ต้องพักเพื่อรักษาพยาบาล ให้เบิกค่าที่พักได้แต่ต้องไม่เกิน 10 วัน  หาก ต้องเข้าพักรักษาตัวในสถานพยาบาล ให้งดเบิกค่าเช่าที่พัก เว้นแต่ กรณีจำเป็น ( ม. 21 ) ท้องที่ที่มีค่าครองชีพสูง / เป็นแหล่งท่องเที่ยว หัวหน้าส่วนราชการอนุมัติ ให้เบิกเพิ่มได้ไม่เกิน 25 %

  27. อัตราค่าเช่าที่พัก ของ กระทรวงการคลัง

  28. หรือ เบิกในลักษณะเหมาจ่าย

  29. การเดินทางฯ เป็นหมู่คณะซึ่งมีผู้บริหารระดับสูง หรือระดับ 10 ขึ้นไปเป็นหัวหน้าคณะ หากจำเป็นต้องใช้สถานที่เดียวกับที่พักเป็นที่ประสานงาน ให้เบิกที่พักได้อีก 1 ห้อง หรือเบิกเป็นห้องชุดแทน (ม.17) • หลักจ่ายจริง ระดับ 8 ลงมา หรือตำแหน่งประเภททั่วไป ปฏิบัติงาน ชำนาญการงาน อาวุโส ประเภทวิชาการ ปฏิบัติการ ชำนาญการ ชำนาญการพิเศษ ประเภทอำนวยการ ต้นลงมาให้พักคู่ เว้นแต่ไม่เหมาะสม หรือมีเหตุจำเป็น

  30. เหตุไม่เหมาะสมจะพักร่วมกันเหตุไม่เหมาะสมจะพักร่วมกัน เช่น ต่างเพศมิได้เป็นคู่สมรส • เหตุจำเป็น เช่น เป็นโรคติดต่ออันตรายต่อผู้พักรวมด้วย

  31. ค่าพาหนะ • ค่าโดยสาร ค่าเช่ายานพาหนะ • ค่าเชื้อเพลิง ค่าระวางบรรทุก • ค่าจ้างคนหาบหามสิ่งของ ของผู้เดินทาง

  32. ยานพาหนะเดินทาง แบ่งเป็น • พาหนะประจำทาง • พาหนะรับจ้าง • พาหนะส่วนตัว • เครื่องบิน

  33. ค่าพาหนะ (ม. 22) • ในการเดินทางไปราชการ โดยปรกติให้ใช้ยานพาหนะประจำทาง และให้เบิกค่าพาหนะได้เท่าที่จ่ายจริง โดยประหยัด และไม่เกินสิทธิที่จะได้รับ • ในกรณีที่ไม่มียานพาหนะประจำทาง หรือมี แต่ต้องการความรวดเร็ว เพื่อประโยชน์ของทางราชการ ให้ใช้พาหนะอื่นได้ แต่ผู้เดินทางไปราชการต้องชี้แจงเหตุผล และความจำเป็นไว้ในหลักฐานการขอเบิกค่าพาหนะ นั้น

  34. นิยามยานพาหนะประจำทางนิยามยานพาหนะประจำทาง รถไฟรถโดยสารประจำทาง เรือกลประจำทาง และ ยานพาหนะอื่น ที่ให้บริการขนส่งเป็นประจำ โดย บริการบุคคลทั่วไป มีเส้นทางที่แน่นอน อัตราค่าโดยสาร และค่าระวางที่ แน่นอน

  35. การเดินทางโดยยานพาหนะประจำทาง( เบิกเท่าที่จ่ายจริงโดยประหยัด ไม่เกินสิทธิ ( ม.23) ) • รถโดยสารประจำทาง • ทุกระดับเบิกได้เท่าที่จ่ายจริง ไม่เกินอัตรา ที่คณะกรรมการขนส่งทางบกกลางกำหนด

  36. ยานพาหนะประจำทาง (ต่อ) • การเดินทางโดยรถไฟ • เบิกได้เท่าที่จ่ายจริง • รถด่วน/รถด่วนพิเศษ ชั้น 1 นั่งนอนปรับอากาศ เบิกได้ เฉพาะ ทั่วไป : ชำนาญงาน , อาวุโส , ทักษะพิเศษ วิชาการ : ชำนาญการ , ชำนาญการพิเศษ , เชี่ยวชาญ , ทรงคุณวุฒิ อำนวยการ : ต้น , สูง บริหาร : ต้น , สูง

  37. ผู้ดำรงตำแหน่ง • ประเภทบริหาร : ต้น สูง • ประเภทอำนวยการ : ต้น สูง • ประเภทวิชาการ : ชำนาญการ ชำนาญการพิเศษ เชี่ยวชาญ ทรงคุณวุฒิ • ประเภททั่วไป : ชำนาญงาน อาวุโส ทักษะพิเศษ ให้เบิกค่าพาหนะรับจ้างได้ สำหรับกรณี ดังต่อไปนี้ • ไป – กลับระหว่างที่อยู่ ที่พัก หรือที่ปฏิบัติงาน กับ สถานียานพาหนะประจำทาง / สถานที่จัดพาหนะเดินทางไปยังสถานที่ปฏิบัติราชการ ภายในเขตจังหวัดเดียวกัน • ไป – กลับระหว่างที่อยู่ ที่พัก หรือที่ปฏิบัติงาน กับสถานที่ปฏิบัติราชการ ภายในเขตจังหวัดเดียวกัน วันละไม่เกิน 2 เที่ยว • การเดินทางไปราชการในเขตกรุงเทพมหานคร

  38. กรณีการเดินทาง ไป – กลับระหว่าง ที่อยู่ ที่พัก หรือที่ปฏิบัติงาน กับ สถานียานพาหนะประจำทาง / สถานที่จัดพาหนะเดินทางไปยังสถานที่ปฏิบัติราชการ ข้ามเขตจังหวัด (ที่ กค 0409.6/ว 78 ลว. 15 ก.ย. 2549) ให้เบิกค่าพาหนะรับจ้างได้เท่าที่จ่ายจริง ในอัตรา • เขตติดต่อ หรือ ผ่าน กทม. เที่ยวละไม่เกิน 600 บาท • เขตติดต่อจังหวัดอื่น เที่ยวละไม่เกิน 500 บาท

  39. ผู้ไม่มีสิทธิเบิกค่าพาหนะรับจ้าง เช่น ระดับปฏิบัติงาน ปฏิบัติการ ลูกจ้าง หากมีสัมภาระ หรือสิ่งของเครื่องใช้ของทางราชการ และเป็นเหตุไม่สะดวกที่จะใช้ยานพาหนะประจำทาง ให้เบิกค่าพาหนะรับจ้างได้ • การเดินทางไปสอบคัดเลือกหรือรับการคัดเลือก เบิกค่าพาหนะรับจ้างไม่ได้

  40. พาหนะส่วนตัว • พาหนะส่วนตัว หมายถึงรถยนต์ส่วนบุคคล หรือรถจักรยานยนต์ส่วนบุคคล ซึ่งไม่ใช่ของทางราชการ ทั้งนี้ ไม่ว่าจะเป็นกรรมสิทธิของผู้เดินทางไปราชการหรือไม่ก็ตาม • จะมีสิทธิเบิกเงินชดเชยในลักษณะเหมาจ่ายได้ ต้องได้รับอนุมัติจาก - ส่วนกลาง : ลธก. / ผู้ได้รับมอบหมาย - ภูมิภาค : ปทจ. • เบิกจ่ายในประเภทค่าพาหนะ

  41. เบิกเงินชดเชยค่าพาหนะส่วนตัวเบิกเงินชดเชยค่าพาหนะส่วนตัว • เบิกตามระยะทาง สั้น และตรง • ตามเส้นทางของกรมทางหลวง (ซึ่ง สะดวก ปลอดภัย) • ไม่มีเส้นทางของกรมทางหลวง ให้ใช้เส้นทางของหน่วยงานอื่นที่ตัดผ่าน เช่น เส้นทางของเทศบาล • ไม่มี ให้ผู้เดินทางรับรองระยะทาง

  42. อัตราค่าพาหนะส่วนตัว ( ที่ กค 0409.6/ ว.42 ลว. 26 ก.ค. 2550) - รถยนต์ กม. ละ 4 บาท - รถจักรยานยนต์ กม. ละ 2 บาท

  43. การเดินทางโดยเครื่องบินการเดินทางโดยเครื่องบิน อัตราชั้นธุรกิจ อัตราชั้นประหยัด อำนวยการ ต้น ชำนาญการ ชำนาญการพิเศษ ชำนาญงาน อาวุโส (หรือระดับ 6 – 8) กรณีจำเป็นเร่งด่วน เพื่อประโยชน์แก่ทางราชการ สำหรับผู้ที่ระดับ ชั้น ยศที่ต่ำกว่า • หัวหน้าคณะผู้แทนรัฐบาล • ประธาน/รอง ศาลฎีกา • ประธาน /รอง รัฐสภา • ประธาน/รอง วุฒิสภา • ประธาน/รอง สภาผู้แทนราษฎร • รัฐมนตรี • ผู้บริหารระดับต้น – สูง • อำนวยการสูง เชี่ยวชาญ ทรงคุณวุฒิ ทักษะพิเศษ (หรือระดับ 9 ขึ้นไป)

  44. การเดินทางที่ไม่เข้าหลักเกณฑ์ จะเบิกค่าใช้จ่ายได้ไม่เกินค่าพาหนะในการเดินทางภาคพื้นดิน ระยะเดียวกันตามสิทธิซึ่งผู้เดินทางจะพึงเบิกได้ • ในกรณีที่ผู้เดินทาง มีความจำเป็นต้องโดยสารเครื่องบินชั้นที่สูงกว่าสิทธิ จะเบิกชั้นที่สูงกว่าสิทธิได้ เมื่อได้รับความตกลงจากกระทรวงการคลัง

  45. หลักฐานการเบิกค่าเครื่องบินหลักฐานการเบิกค่าเครื่องบิน (ตามหนังสือกระทรวงการคลัง ด่วนที่สุด ที่ กค 0409.6/ว 101 ลว. 9 ก.ย. 2547) 1. กรณีมีหนังสือให้บริษัทออกบัตรโดยสารให้ก่อน ให้ใช้ใบแจ้งหนี้เป็นหลักฐานในการเบิกเงิน 2. กรณีจ่ายเป็นเงินสด ให้ใช้หลักฐาน ใบเสร็จรับเงิน และ กากบัตรโดยสาร 3. กรณีซื้อ E-Ticket ให้ใช้ใบรับเงินที่แสดงรายละเอียดการเดินทาง (Itinerary Receipt)

  46. ค่าพาหนะ กรณีเดินทางล่วงหน้า หรือไม่เดินทางกลับที่ตั้งเมื่อปฏิบัติงานเสร็จ เพราะมีเหตุส่วนตัว (ม 8/1) ให้เบิกค่าพาหนะได้เท่าที่จ่ายจริง ตามเส้นทางที่ได้รับคำสั่งให้เดินทาง กรณีเดินทางนอกเส้นทางในระหว่างการลา (ลาล่วงหน้า หรือลาหลังปฏิบัติราชการเสร็จ) ให้เบิกค่าพาหนะได้เท่าที่ จ่ายจริงไม่เกินเส้นทางที่ได้รับคำสั่งให้เดินทาง

  47. กรณีทำหน้าที่เลขานุการ (ม. 28) • ทำหน้าที่เลขานุการ หัวหน้าคณะระดับ 9 ขึ้นไป • จำเป็นต้องเดินทางพร้อมกัน * เบิกค่าพาหนะได้เท่ากับผู้บังคับบัญชา * พักแรมที่เดียวกัน เบิกได้ตามสิทธิที่ตนเองได้รับ หรือตามจ่ายจริงในอัตราต่ำสุดของที่พักนั้น แต่ไม่เกินสิทธิของผู้บังคับบัญชา • เลขานุการมีหลายคน เบิกตามอัตราข้างต้นได้เพียงคนเดียว นอกนั้นเบิกตามสิทธิ

More Related