1 / 43

หลักการจัดรายการวิทยุกระจายเสียง

หลักการจัดรายการวิทยุกระจายเสียง. รศ. ดร. ชลาภรณ์ สุวรรณสัมฤทธิ์ E-mail: chalaporn.suw@stou.ac.th. หลักการจัดรายการวิทยุ. การทำหน้าที่ของสื่อมวลชนที่ดีนั้น คือ การมีความรับผิดชอบต่อสังคม และหากต้องการเป็น นักจัดรายการที่ดี ก่อนที่จะกระจายเสียงของท่านออกไปทุกครั้ง ต้องยิ้มกับไมโครโฟนเสียก่อน

Download Presentation

หลักการจัดรายการวิทยุกระจายเสียง

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. หลักการจัดรายการวิทยุกระจายเสียงหลักการจัดรายการวิทยุกระจายเสียง รศ. ดร. ชลาภรณ์ สุวรรณสัมฤทธิ์ E-mail: chalaporn.suw@stou.ac.th

  2. หลักการจัดรายการวิทยุหลักการจัดรายการวิทยุ การทำหน้าที่ของสื่อมวลชนที่ดีนั้น คือ การมีความรับผิดชอบต่อสังคม และหากต้องการเป็น นักจัดรายการที่ดี ก่อนที่จะกระจายเสียงของท่านออกไปทุกครั้ง ต้องยิ้มกับไมโครโฟนเสียก่อน มนตรา บุญล้อม 8 พฤศจิกายน 2544

  3. วิทยุกระจายเสียงเป็นสิ่งที่สำคัญในกระบวนการสื่อสารวิทยุกระจายเสียงเป็นสิ่งที่สำคัญในกระบวนการสื่อสาร 1. การให้ข่าวสาร 2. การทำหน้าที่ถ่ายทอดมรดกทางสังคม 3. การทำหน้าที่ประชาสัมพันธ์ 4. การให้การศึกษา 5. การให้ความบันเทิง

  4. หลักการจัดรายการวิทยุหลักการจัดรายการวิทยุ # การจัดรายการวิทยุกระจายเสียง เป็นกิจกรรมที่มีความละเอียดอ่อนที่ต้องอาศัย ทักษะของแต่ละคนและองค์แห่งความรู้ # ผู้จัดรายการที่ดีต้องเป็นผู้มีศิลปะอยู่ในตัวเองการจัดรายการวิทยุต้องทำงานด้วย หลัก 6 T และ 3H

  5. หลักการจัดรายการวิทยุ 6 T 3 H 6 T -TOPIC ที่ชัดเจน แจ่มแจ้ง -TARGET รู้จักกลุ่มเป้าหมาย -TEAM มีทีมงานที่ดี -TACTIC มีกลยุทธ์ในการดึงดูดใจต่อกลุ่มเป้าหมาย -TIME รู้จักเวลา กาลเทศะ -TECHNOLOGY ต้องเสาะแสวงหาความรู้ใหม่อยู่เสมอ

  6. หลักการจัดรายการวิทยุ 6 T 3 H 3 H - HEAD ต้องทำงานด้วยสมอง สติปัญญา รอบคอบรอบรู้ - HAND ต้องทำงานด้วยฝีมือประณีต บรรจง ละเอียด - HEART การทำงานด้วยใจรัก ใส่ใจ มีน้ำใจ อดทนพยายาม

  7. รูปแบบรายการ1. ข่าว เป็นการประชาสัมพันธ์ในรูปแบบเสนอข้อเท็จริงที่ตอบคำถาม ใคร ทำอะไร ที่ไหน เมื่อไหร่และอย่างไร ตามความเป็นจริงไม่สอดแทรกความคิดเห็น โดยเขียนอยู่ในรูปของบทความที่ออกอากาศได้ ม่ส่วนหัวข้อข่าว ความนำข่าว และเนื้อหาอย่างสมบูรณ์

  8. รูปแบบรายการ2. สปอต เป็นรายการสั้นๆ ความยาว 30-60 วินาที เสนอเฉพาะข้อความที่สำคัญและเรียบเรียงด้วยภาษาที่เข้าใจง่าย แต่กินใจ เข้าใจง่าย ชวนจดจำ เสียงที่ใช้ เป็นบทพูดหรือสนทนาก็ได้ มีการใช้เพลงหรือเสียงประกอบร่วมด้วย มักจะใช้สอดแทรกระหว่างรายการ

  9. รูปแบบรายการ 3. จิงเกิ้ล เป็นข้อความประชาสัมพันธ์สั้นๆ ที่นำเสนอพร้อมท่วงทำนองเพลง โดยทั่วไปจะมีความยาว 15-60 วินาที ผลิตขึ้นเพื่อเป็นสัญลักษณ์หรือเอกลักษณ์ขององค์กร หรือรายการ บางครั้งนำเอาสโลแกนขององค์กร มาเป็นจิงเกิ้ล

  10. รูปแบบรายการ4. บรรยาย เป็น รายการที่มีความยาวประมาณ 2-5 นาที หรือไม่เกิน 2หน้ากระดาษ ใช้ภาษาที่เหมาะสม ไม่มุ่งเน้นที่การประชาสัมพันธ์ แต่เป็นการนำเสนอเนื้อหาสาระที่มีประโยชน์ต่อผู้ฟัง

  11. รูปแบบรายการ5. สารคดี เป็นรายการที่ให้สาระ ในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง อย่างละเอียด หลายแง่มุม ด้วยรูปแบบการนำเสนอที่หลากหลาย รวมทั้งการใช้เพลง เสียงประกอบ และอื่นๆเช่น การสัมภาษณ์ การบรรยายนอกสถานที่ ละคร หลักการนำเสนอคือ ความเป็นเหตุเป็นผล ชวนติดตาม มีลำดับเรื่องราว อารมณ์ มักต้องใช้ผู้ผลิตที่ต้องมีความชำนาญ

  12. รูปแบบรายการ6. ข้อความสำหรับประกาศ เป็นข้อความสั้น มีเฉพาะเนื้อหาที่สำคัญ เป็นการบอกกล่าว หรือการประกาศเพื่อทราบ

  13. รูปแบบรายการ7.สัมภาษณ์รูปแบบรายการ7.สัมภาษณ์ เป็นการถามตอบ อาจใช้รายการสดหรือเป็นเทปและนำมาผสมกับรายการสดได้ ผู้จัดจะต้องเตรียมคำถามและแก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้ดี การสัมภาษณ์ ทำได้สองลักษณะคือ เป็นทางการ กับไม่เป็นทางการ ไม่ควรเป็นการคุยเล่นหรือคุยสนุกโดยไม่มีเนื้อหาหรือสาระใดๆเลย

  14. รูปแบบรายการ8. การสนทนาและอภิปราย มีลักษณะที่ชัดคือมีผู้ร่วมรายการ มากกว่า 2 คนขึ้นไป ไม่ควรเกิน3คน เพราะจะทำให้ผู้ฟังสับสนได้ ผู้ดำเนินรายการจะต้องกระตุ้นหรือเร้าให้ ผู้ร่วมรายการอภิปรายหรือแสดงความคิดเห็น อย่างเต็มที่

  15. รูปแบบรายการ9. รายการละครวิทยุ เป็นการประชาสัมพันธ์ในรูปแบบของ ความบันเทิง ที่สอดแทรกการประชาสัมพันธ์ ละครมักจะเป็นการนำเสนอเพื่อความบันเทิงและสอดแทรกสาระเข้าไปได้ รายการละครมักจะใช้การผลิตมาก่อนออกอากาศ โดยใช้เพลงและเสียงประกอบเข้ามาช่วยเพื่อนำเสนอให้น่าสนใจ กระบวนการเล่าเรื่องในละคร มักจะให้ตัวละครตัวใดตัวหนึ่งเป็นตัวดำเนินเรื่อง

  16. รูปแบบรายการ 10. โฟนอินโปรแกรม เป็นรายการที่โทรศัพท์เข้ามาคุยกันได้ เพื่อถามปัญหาหรือตอบคำถามหรือเล่นเกมส์ โดยทั่วไปมักจะมีการนำเสนอที่วางแผนไว้ล่วงหน้า

  17. ขั้นตอนการผลิตรายการวิทยุเพื่อการประชาสัมพันธ์ที่สำคัญมี 3 ขั้น 1. ขั้นการเตรียมการ 2. ขั้นผลิตรายการ 3. ขั้นการออกอากาศหรือนำเสนอ

  18. การเขียนบทวิทยุเพื่อการประชาสัมพันธ์การเขียนบทวิทยุเพื่อการประชาสัมพันธ์ การจัดทำรายการวิทยุมีหลายรูปแบบ การที่จะทำให้รายการได้รับความนิยม หรือน่าสนใจ การเตรียมพร้อมในการผลิตรายการจึงเป็นเรื่องที่สำคัญเช่นกัน คำพูดทุกคำเสียงทุกเสียงที่ใช้ จะต้องมีความหมายและความสำคัญ ให้ผู้ฟังเข้าใจง่าย ไม่สับสน ชัดเจนและสื่อสารง่าย

  19. ความสำคัญของการเขียนบทวิทยุความสำคัญของการเขียนบทวิทยุ 1.เป็นแนวทางในการดำเนินรายการ 2.ทำให้เกิดความรอบคอบ สมบูรณ์ในงาน ดังนั้นการเขียนบท จึงจะต้องชัดเจน ภาษาถูกต้อง มีการขยายความอธิบายเพิ่มเติม ย้ำคำหรือมีการใช้เหตุผลที่น่าเชื่อถือ ลำดับข้อความหรือเหตุการณ์ได้ดี ก่อให้เกิดภาพลักษณ์ที่ชัดเจน รวมทั้งอารมณ์ ความรู้สึก ให้เป็นไปตามที่รายการตั้งจุดมุ่งหมายไว้

  20. ความสำคัญของการเขียนบทวิทยุความสำคัญของการเขียนบทวิทยุ 3. การผลิตรายการวิทยุ มีการทำงานเป็นทีม ดังนั้นจึงจะต้องมีการสื่อสารกันในทีมงานให้ชัดเจน เข้าใจตรงกัน และป้องกันความผิดพลาดที่จะเกิดขึ้นได้

  21. ประเภทของบทวิทยุกระจายเสียงประเภทของบทวิทยุกระจายเสียง 1. บทประเภทเค้าโครงเรื่อง บทที่แสดงองค์ประกอบหรือลำดับการทำงานให้เป็นที่เข้าใจ เฉพาะทีมงาน มักแสดงเพื่อให้รู้ว่ามีอะไร และจะต้องทำอะไร มีใครร่วมบ้าง 2. บทวิทยุประเภทกึ่งสมบูรณ์ บทที่มีรายละเอียดของเนื้อหา ลำดับขั้นตอนและรูปแบบรายการที่ชัดเจน แต่มีเพียงบางส่วนที่ผู้พูดเว้นไว้เพื่อพูดเอง เช่นรายการสนทนา อภิปราย 3.บทประเภทสมบูรณ์ เป็นบทที่มีครบทุกถ้อยความ มีรายละเอียดของรายการ บอกส่วนประกอบที่ชัดเจน เช่นรายการวิทยุประเภท สปอตวิทยุ บทความ ละคร สารคดี

  22. ขั้นตอนของการเขียนบทวิทยุกระจายเสียงขั้นตอนของการเขียนบทวิทยุกระจายเสียง 1. ขั้นเริ่มรายการ เป็นการเปิดรายการ จะต้องดึงดูดความสนใจของผู้ฟังให้มากที่สุด เช่น การเริ่มโดยใช้เสียงเร้าความสนใจ ปัญหา และถ้อยคำที่กระตุ้นและชวนให้ติดตาม 2. ขั้นดำเนินรายการด้วยการพัฒนาเนื้อหา การสร้างความน่าสนใจ เป็นการนำเอาเนื้อหามาขยายให้ชัดเจน และชวนให้ติดตาม

  23. ขั้นตอนของการเขียนบทวิทยุกระจายเสียงขั้นตอนของการเขียนบทวิทยุกระจายเสียง 3.ขั้นสร้างจุดประทับใจ เป็นการชี้ประเด็นสำคัญ เป็นขั้นที่ต้องสร้างจุดที่ทำให้ผู้ฟังประทับใจ หรือเกิดความรู้สึกตามที่ต้องการ 4.ขั้นสรุป หรือย้ำทบทวน เนื้อหาในสามขั้นตอน โดยเรียบเรียงอย่างมีระบบระเบียบ ทำให้ผู้ฟังเข้าใจชัดเจนและจดจำได้ง่าย เอื้อจิตร วิโรจน์ไตรรัตน์ 2535

  24. หลักการเขียนบทวิทยุ 1.ตั้งวัตถุประสงค์ โดยพิจารณาจากจุดมุ่งหมายว่าเขียนเพื่อใคร เพื่ออะไร และเวลาที่กำหนดมาให้ 2.กำหนดรูปแบบของรายการ ให้สอดคล้องกับเนื้อหาวัตถุประสงค์ และกลุ่มเป้าหมาย 3.กำหนดหัวข้อหรือขอบข่ายของเนื้อหา 4.ค้นคว้าหาข้อมูลเพิ่มเติม 5.ลงมือเขียน และแก้ไขปรับปรุงให้สมบูรณ์ 6.ผลิตรายการ 7.ประเมินผล

  25. แผนผังหลักของการเขียนบทวิทยุแผนผังหลักของการเขียนบทวิทยุ

  26. ตัวอย่างเค้าโครงของบทวิทยุ แบบที่ 1 ชื่อรายการ สาระน่ารู้ คู่ มสธ. ชื่อตอน/ชื่อเรื่อง ICT เพื่อการศึกษาของไทย จุดมุ่งหมาย 1.เพื่อให้ประชาชนเข้าใจถึง ICT 2.เพื่อให้ผู้ฟังตระหนักถึงสังคมแห่งการเรียนรู้ ความยาวของรายการ. 30 นาที สถานีที่ออกอากาศ Web casting มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช วันที่/เวลาที่ออกอากาศ 12 สิงหาคม 2547 ผู้ผลิตรายการ นักศึกษาสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ผู้ควบคุมการผลิต รศ. ดร. บุญทิพย์ สิริธรังสี ผู้ประกาศ นักศึกษากลุ่ม ”------”

  27. ตัวอย่างเค้าโครงของบทวิทยุแบบที่ 1(ต่อ) F/I เพลงประจำรายการ หรือเพลงประกอบ เวลา 0.45 วินาที ผู้ประกาศ เวลา 0.15 นาที ........................................................................................................................................ ........................................................................................................................................ ........................................................................................................................................ ........................................................................................................................................ F/I เพลงคั่นรายการ เวลา 0.30 วินาที

  28. ตัวอย่างเค้าโครงของบทวิทยุแบบที่ 1(ต่อ) F/Under Music เวลา 0.45 วินาที ผู้ประกาศ เวลา 0.15 นาที ........................................................................................................................................ ........................................................................................................................................ ........................................................................................................................................ F/I SFX SFX เทปสัมภาษณ์ เวลา 0.10 นาที ........................................................................................................................................ ........................................................................................................................................ ........................................................................................................................................ F/I เพลงประจำรายการ หรือเพลงประกอบจบ เวลา 0.45 วินาที

  29. ชื่อรายการ สาระน่ารู้ คู่ มสธ. ชื่อตอน/ชื่อเรื่อง ICT เพื่อการศึกษาของไทย จุดมุ่งหมาย 1.เพื่อให้ประชาชนเข้าใจถึง ICT 2.เพื่อให้ผู้ฟังตระหนักถึงสังคมแห่งการเรียนรู้ ความยาวของรายการ 30 นาที สถานีที่ออกอากาศ Web casting มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช วันที่/เวลาที่ออกอากาศ 12 สิงหาคม 2547 ผู้ผลิตรายการ นักศึกษา สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ผู้ควบคุมการผลิต รศ. ดร. บุญทิพย์ สิริธรังสี ผู้ประกาศ นักศึกษากลุ่ม ”------” ตัวอย่างเค้าโครงของบทวิทยุแบบที่ 2

  30. ตัวอย่างเค้าโครงของบทวิทยุแบบที่ 2(ต่อ) ลำดับควบคุมเสียง ผู้ประกาศ เวลา 1.F/I เพลงประจำรายการ หรือเพลงประกอบเสร็จแล้ว F/O 45 วินาที 2.ผู้ประกาศ ................................................................................... 15 นาที ................................................................................... ................................................................................... 3.F/I คั่นรายการแล้ว F/Under Music 30 วินาที 4.ผู้ประกาศ ................................................................................... 15 นาที ................................................................................... .................................................................................... ...................................................................................

  31. ตัวอย่างเค้าโครงของบทวิทยุแบบที่ 2(ต่อ) ลำดับควบคุมเสียง ผู้ประกาศ เวลา 5.F/I SFX เทปสัมภาษณ์ 10 นาที ................................................................................... ................................................................................... ................................................................................... ................................................................................... 6.F/I เพลงประจำรายการ หรือเพลงประกอบจบ 45 วินาที

  32. ศัพท์เทคนิคที่ใช้ในการผลิตรายการวิทยุกระจายเสียงศัพท์เทคนิคที่ใช้ในการผลิตรายการวิทยุกระจายเสียง • Format clocks การวางเวลาในการจัดรายการ • Jingle เพลงสั้น เพื่อเป็นตัวบอกช่วงต่าง ๆ เช่น ช่วงเกมส์ ช่วงกลางวัน • I.D. Station จิงเกิ้ลอย่างเป็นทางการประจำสถานี • Drop In เสียงสั้น ๆ ใช้ในวาระต่าง ๆ • Dry Voice เสียงเปล่า ๆ ไม่มีดนตรี และ และ ซาวนด์เอฟเฟ็ค • Fade In เสียงค่อย ๆ ดังขึ้น • Fade Out เสียงค่อย ๆ เบาลง

  33. ศัพท์เทคนิคที่ใช้ในการผลิตรายการวิทยุกระจายเสียงศัพท์เทคนิคที่ใช้ในการผลิตรายการวิทยุกระจายเสียง • Fade Under ลดเสียงให้เบาลงกว่าเสียงอื่น ๆ เช่น คำพูด หรือ เสียงสัมภาษณ์ • Background Music เพลงประกอบ เพลงฉากหลัง • Dead Air ไม่มีเสียงออกอากาศ เสียงเงียบ • On Air ออกอากาศ • Live รายการสด • Vox Pop เสียงสัมภาษณ์สั้น ๆ เพื่อแสดงความ คิดเห็น

  34. ศัพท์เทคนิคที่ใช้ในการผลิตรายการวิทยุกระจายเสียงศัพท์เทคนิคที่ใช้ในการผลิตรายการวิทยุกระจายเสียง • Phone In การโทรเข้าไปในรายการวิทยุ • Talk Back เสียงโต้ตอบ • Prime Time ช่วงเวลาที่มีผู้ฟังมาก ๆ • Radio Spot โฆษณาในรายการวิทยุ • Promo Spot โฆษณา • SFX เสียงประกอบที่มีตามธรรมชาติ เช่น เสียงปรบมือ เสียงรถวิ่ง • Special FX เสียงประกอบที่ไม่มีตามธรรมชาติ เช่น เสียง Robot

  35. ศัพท์เทคนิคที่ใช้ในการผลิตรายการวิทยุกระจายเสียงศัพท์เทคนิคที่ใช้ในการผลิตรายการวิทยุกระจายเสียง • Commercial Spot โฆษณาสินค้า • Feature สารคดี • Single เพลง 1 เพลงที่ส่งมาจากค่ายเพลง • E.P. Extended Play แผ่นที่วางจำหน่ายทั่วไป มีเพลง 5- 7 เพลง • Target Audience กลุ่มผู้ฟัง • Style ลีลาการพูด • Air Time เวลาออกอากาศ • Programme Director ผู้อำนวยการผลิต

  36. ศัพท์เทคนิคที่ใช้ในการผลิตรายการวิทยุกระจายเสียงศัพท์เทคนิคที่ใช้ในการผลิตรายการวิทยุกระจายเสียง Producer ผู้ผลิตรายการ Creative Team กลุ่มนักสร้างสรรค์ Presenter or DJ ผู้ดำเนินรายการ Programme-Co ผู้ช่วยผู้ดำเนินรายการ Announcer ผู้ประกาศ Technician ช่างเทคนิค Specialist or Guest Speaker วิทยากรหรือแขกรับเชิญ

  37. ศัพท์เทคนิคที่ใช้ในการผลิตรายการวิทยุกระจายเสียงศัพท์เทคนิคที่ใช้ในการผลิตรายการวิทยุกระจายเสียง • Radio Studio ห้องจัดรายการวิทยุ • Master Control Room ห้องควบคุมหลัก • Studio Recording ห้องบันทึกเสียง • Editing room ห้องตัดต่อ • Source แหล่งเสียงต่างๆ • Disc Jockey การประกาศในรายการเพลง • Talk Show รายการสนทนา

  38. คำต่าง ๆ ของการจัดอันดับเพลง • New Release, New Comer เพลงที่เพิ่งมาใหม่ • New Entry เข้าอันดับใหม่ สัปดาห์แรก • Hi Position ตำแหน่งสูงสุดในชาร์ต • Highest entry เข้าอันดับสูงสุดประจำ สัปดาห์ • Re entry หลุดจากชาร์ตไปแล้ว เข้ามาใหม่

  39. คำศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับประเภทดนตรี หรือหมวดดนตรี • Acappella (อะคาเปลลา) แต่เดิม หมายถึง เพลงโบสถ์ขับร้องหมู่ สมัยโบราณ ซึ่งไม่ใช้เครื่องดนตรีคลอ ปัจจุบันหมายถึง เพลงขับร้องหมู่ที่ไม่ใช้ เครื่องดนตรีคลอเช่นเดียวกัน แต่ที่ เปลี่ยนไปคือไม่จำกัดว่าจะเป็นเพลง โบสถ์หรือไม่ คำนี้มีรากศัพท์ มาจากคำอิตาเลี่ยน มีความหมายว่า chapel (หมายถึง โบสถ์) • Acoustics วิทยาศาสตร์ที่ว่าด้วยเสียงร้อง การเกิดเสียง การส่งผ่านของเสียง การผันแปรของเสียงธรรมชาติทาง วิทยาศาสตร์ของเสียงดนตรีที่เกี่ยวกับ เสียงและเสียงดนตรี

  40. คำศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับประเภทดนตรี หรือหมวดดนตรี • Background ดนตรีประกอบรวมไปถึงเพื่อโน้มน้าวใจ ช่วยให้เรื่องราวสมจริง หรือเพื่อเพิ่ม ความเพลิดเพลินแก่ผู้ชมและผู้ฟัง • Ballad (แบลลัด) คำว่า ‘แบลลัด’ มาจากภาษาลาติน ballare หมายถึง "เต้นรำ" • Band (แบนด์) กลุ่มนักดนตรี • Bar (บาร์) การกำหนดระยะของจังหวะทางดนตรี

  41. คำศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับประเภทดนตรี หรือหมวดดนตรี • Beat (บีท) จังหวะ หรือจังหวะพื้นฐานในใจ จังหวะ เคาะหรือนับของห้องแต่ละห้อง เช่น 4/4 ประกอบด้วยสี่จังหวะ หรือการนับได้สี่ ครั้งในหนึ่งห้อง • Chorus (คอรัส) 1. กลุ่มนักร้อง 2. ดนตรีสำหรับกลุ่มนักร้อง 3. ส่วนที่ต้องร้องซ้ำในบทเพลง ตามหลัง ส่วนที่เป็นบทร้องกึ่งเจรจา • Concert (คอนเสิร์ต) การแสดงดนตรีต่อหน้าสาธารณชน • Duet (ดูเอ็ด) บทประพันธ์สำหรับผู้เล่นสองคน

  42. คำศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับประเภทดนตรี หรือหมวดดนตรี • Improvisation การเล่นดนตรีอย่างพลิกแพลงโดย ใส่กลเม็ดเด็ดพรายเอาเอง ไม่ได้เตรียมไว้ล่วงหน้ามาก่อน • Lyrics (ไลริกซ์) เนื้อร้อง • Hook (ฮุก) ท่อนสร้อย

  43. เอกสารอ้างอิง • อุบลวรรณ ปิติพัฒนะโฆษิต การเขียนในสื่อต่างๆ เพื่อการประชาสัมพันธ์ • เอื้อจิตร วิโรจน์ไตรรัตน์ 2535 การประชาสัมพันธ์ทางวิทยุกระจายเสียง • มนตรา บุญล้อม 8 พฤศจิกายน 2544 • โชคชัย เจี่ยเจริญ ดี.เจ. จาก 103.5 Modern Love Content provided by Gen-X Academy

More Related