1 / 32

การศึกษาค่าใช้จ่ายต่อหน่วยของสถาบันอุดมศึกษา : แนวทางการศึกษาและประโยชน์ที่ได้รับ

การศึกษาค่าใช้จ่ายต่อหน่วยของสถาบันอุดมศึกษา : แนวทางการศึกษาและประโยชน์ที่ได้รับ. 4 มีนาคม 2551 ณ โรงแรมเรดิสัน กรุงเทพฯ สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา. ดร.เกษรา วามะศิริ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี. สาระการนำเสนอ.

Download Presentation

การศึกษาค่าใช้จ่ายต่อหน่วยของสถาบันอุดมศึกษา : แนวทางการศึกษาและประโยชน์ที่ได้รับ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การศึกษาค่าใช้จ่ายต่อหน่วยของสถาบันอุดมศึกษา: แนวทางการศึกษาและประโยชน์ที่ได้รับ 4 มีนาคม 2551 ณ โรงแรมเรดิสัน กรุงเทพฯ สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ดร.เกษรา วามะศิริ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี

  2. สาระการนำเสนอ • เปรียบเทียบแนวทางการศึกษาค่าใช้จ่ายต่อหน่วยระยะที่หนึ่ง และระยะที่สอง • ผลการการศึกษาค่าใช้จ่ายต่อหน่วย • ประโยชน์ที่ได้รับและการวางแผนบริหารทรัพยากรของมหาวิทยาลัยในอนาคต

  3. ประเด็นเปรียบเทียบ ระยะที่หนึ่ง ระยะที่สอง ม.รัฐ 24 แห่ง ม.รัฐ 24 แห่ง ม.ราชภัฏ 41 แห่ง ส.เทคโนโลยีราชมงคล ส.เทคโนโลยีปทุมวัน มหาวิทยาลัยสงฆ์ 2542  2543 – 2545 เปรียบเทียบแนวทางการศึกษาค่าใช้จ่ายต่อหน่วยระยะที่หนึ่ง และระยะที่สอง 1. จำนวนม.ที่เข้าร่วม  2. ปีที่ศึกษา

  4. ประเด็นเปรียบเทียบ ระยะที่หนึ่ง ระยะที่สอง เหมือนกัน  3. หลักการและแนวคิด เหมือนกัน เปรียบเทียบแนวทางการศึกษาค่าใช้จ่ายต่อหน่วยระยะที่หนึ่ง และระยะที่สอง (ต่อ) 3.1) ใช้ข้อมูลรายจ่ายจริงทั้งเงินงบประมาณแผ่นดินและเงินรายได้ 3.2) ข้อมูลงบประมาณเฉพาะงานจัดการศึกษา ไม่รวม งานวิจัย งานบริการวิชาการโครงการพิเศษ และ งบลงทุน 3.3) ข้อมูลงบประมาณ ใช้งบดำเนินการรวม ประกอบด้วย ค่าใช้จ่ายบุคลากร ค่าใช้จ่ายดำเนินการอื่น

  5. ประเด็นเปรียบเทียบ ระยะที่หนึ่ง ระยะที่สอง เหมือนกัน  3. หลักการและแนวคิด เหมือนกัน เปรียบเทียบแนวทางการศึกษาค่าใช้จ่ายต่อหน่วยระยะที่หนึ่ง และระยะที่สอง (ต่อ) 3.4) ข้อมูลรายจ่ายรวมทั้งค่าใช้จ่ายทางตรง และทางอ้อม ในที่นี้ค่าใช้จ่ายทางตรงหมายถึง ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นในคณะ ค่าใช้จ่ายทางอ้อมหมายถึงค่าใช้จ่ายส่วนกลาง ได้แก่ สำนักงานอธิการบดี สำนักหอสมุด สำนักคอมพิวเตอร์ ฯลฯ เป็นต้น

  6. ประเด็นเปรียบเทียบ ระยะที่หนึ่ง ระยะที่สอง เหมือนกัน  3. หลักการและแนวคิด เหมือนกัน เปรียบเทียบแนวทางการศึกษาค่าใช้จ่ายต่อหน่วยระยะที่หนึ่ง และระยะที่สอง (ต่อ) 3.5) รูปแบบการกระจายค่าใช้จ่ายส่วนกลางไปสู่คณะ - กระจายตามหัวนักศึกษา - กระจายตามบุคลากร - กระจายตามพื้นที่ - กระจายแบบผสม

  7. ประเด็นเปรียบเทียบ ระยะที่หนึ่ง ระยะที่สอง เหมือนกัน  3. หลักการและแนวคิด เหมือนกัน เปรียบเทียบแนวทางการศึกษาค่าใช้จ่ายต่อหน่วยระยะที่หนึ่ง และระยะที่สอง (ต่อ) 3.6) ข้อมูลนักศึกษาจริง เฉพาะ โครงการปกติ 3.7) ข้อมูลนักศึกษา FTES ปรับน้ำหนักบัณฑิตศึกษาเท่ากับ ปริญญาตรี โดยบัณฑิตศึกษา คูณ 1.5 3.8) วิเคราะห์แยกตามสาขา / กลุ่มสาขา

  8. ประเด็นเปรียบเทียบ ระยะที่หนึ่ง ระยะที่สอง เหมือนกัน เหมือนกัน 4. แนวการวิเคราะห์ผล เปรียบเทียบแนวทางการศึกษาค่าใช้จ่ายต่อหน่วยระยะที่หนึ่ง และระยะที่สอง (ต่อ) ตัวอย่างการเปรียบเทียบค่าใช้จ่ายต่อหน่วย • มิติสัดส่วนเงินรัฐ : เงินรายได้ • มิติค่าใช้จ่ายบุคลากร : ค่าใช้จ่ายดำเนินงานอื่น • มิติค่าใช้จ่ายทางตรง : ค่าใช้จ่ายทางอ้อม

  9. ประเด็นเปรียบเทียบ ระยะที่หนึ่ง ระยะที่สอง เหมือนกัน เหมือนกัน 4. แนวการวิเคราะห์ผล เปรียบเทียบแนวทางการศึกษาค่าใช้จ่ายต่อหน่วยระยะที่หนึ่ง และระยะที่สอง (ต่อ) ตัวอย่างการเปรียบเทียบค่าใช้จ่ายต่อหน่วย • มหาวิทยาลัยเก่า ปานกลาง ใหม่ • มหาวิทยาลัยภูมิภาค มหาวิทยาลัยส่วนกลาง • มหาวิทยาลัยเปิด กับมหาวิทยาลัยปิด • มหาวิทยาลัยในกำกับ กับมหาวิทยาลัยของรัฐ • แยกกลุ่มสาขาวิชา (6 Cluster)

  10. 2. ผลการศึกษาระยะที่สอง (24มหาวิทยาลัย) • มหาวิทยาลัยเก่ามีค่าใช้จ่ายต่อหัวสูงกว่า มหาวิทยาลัยใหม่ • มหาวิทยาลัยใหม่และขนาดกลางได้รับผลกระทบจากงบประมาณภาครัฐลดลงมากกว่ามหาวิทยาลัยเก่า • มหาวิทยาลัยขนาดกลางมีสัดส่วนค่าใช้จ่ายบุคลากรสูงกว่ามหาวิทยาลัยใหม่และเก่า • มหาวิทยาลัยใหม่จะใช้งบส่วนกลางมากกว่ามหาวิทยาลัยเก่าและมหาวิทยาลัยกลาง

  11. 2. ผลการศึกษาระยะที่สอง (24มหาวิทยาลัย) ต่อ • มหาวิทยาลัยเปิดมีค่าใช้จ่ายต่อหัวน้อยกว่าม.ปิดกว่า 10 เท่า และได้รับงบประมาณจากรัฐน้อยลงอย่าง ต่อเนื่องเช่นกัน • มหาวิทยาลัยเปิดมีค่าใช้จ่ายทางอ้อมสูง ในขณะที่ ม.ปิดต่ำ • มหาวิทยาลัยในระบบและในกำกับมีค่าใช้จ่ายต่อหัว ที่ไม่ต่างกันนัก • มหาวิทยาลัยส่วนกลางมีค่าใช้จ่ายต่อหัวสูงกว่าม.ภูมิภาค

  12. 3. ประโยชน์ที่ได้รับจากการศึกษาค่าใช้จ่ายต่อหน่วย หน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้อง ส่วนของมหาวิทยาลัย • สำนักงบประมาณ • สกอ. • สมศ. • กพร. • อื่นๆ

  13. 3. ประโยชน์ที่ได้รับจากการศึกษาค่าใช้จ่ายต่อหน่วย (ต่อ) ส่วนของมหาวิทยาลัย • การทราบค่าใช้จ่ายต่อหน่วย จะทำให้สามารถบริหารทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัดได้อย่างคุ้มค่า เช่น • การบริหารต้นทุนด้านบุคลากร • การบริหารขนาดห้องเรียน / พื้นที่การใช้สอย • การบริหารค่าสาธารณูปโภค • การนำเทคโนโลยีช่วยในการเรียนการสอน

  14. 3. ประโยชน์ที่ได้รับจากการศึกษาค่าใช้จ่ายต่อหน่วย (ต่อ) ส่วนของมหาวิทยาลัย • นโยบายการบริหารต้นทุนทางตรงและทางอ้อมที่เหมาะสม • ได้ระบบฐานข้อมูลการคิดค่าใช้จ่ายต่อหน่วยและ มีการปรับฐานข้อมูลให้ทันสมัยอย่างต่อเนื่อง (แบบรวมศูนย์ / กระจายอำนาจ)

  15. ขอบคุณค่ะ

  16. กราฟวิเคราะห์ค่าใช้จ่ายต่อหัวนักศึกษาแยกกลุ่มอายุมหาวิทยาลัย ปีงบประมาณ 2543–2545

  17. กราฟสัดส่วนการพึ่งพางบประมาณจากรัฐแยกกลุ่มอายุมหาวิทยาลัย ปีงบประมาณ 2543–2545

  18. กราฟสัดส่วนค่าใช้จ่ายบุคลากรต่องบดำเนินการรวม แยกตามกลุ่มอายุมหาวิทยาลัย ปีงบประมาณ 2543 – 2545 เทียบค่าใช้จ่ายต่อหัว

  19. กราฟค่าใช้จ่ายบุคลากรต่อนักศึกษา FTESแยกตามกลุ่มอายุมหาวิทยาลัย ปีงบประมาณ 2543 – 2545 หน่วย : บาทต่อ FTES หมายเหตุ 1. ไม่รวมมหาวิทยาลัยเปิด 2. ม.อายุเก่า หมายถึงมหาวิทยาลัยที่มีอายุเกินกว่า 50 ปี ,ม.อายุปานกลาง หมายถึง มหาวิทยาลัยที่มีอายุมากกว่าหรือเท่ากับ 30 ปี แต่ไม่เกิน 50 ปี, มอายุใหม่ หมายถึง มหาวิทยาลัยที่มีอายุน้อยกว่า 30 ปี ค่าใช้จ่ายดำเนินงานต่อ FTES

  20. กราฟค่าใช้จ่ายดำเนินงานต่อนักศึกษา FTESแยกตามกลุ่มอายุมหาวิทยาลัย ปีงบประมาณ 2543 – 2545 หน่วย : บาทต่อ FTES หมายเหตุ 1. ไม่รวมมหาวิทยาลัยเปิด 2. ม.อายุเก่า หมายถึงมหาวิทยาลัยที่มีอายุเกินกว่า 50 ปี ,ม.อายุปานกลาง หมายถึง มหาวิทยาลัยที่มีอายุมากกว่าหรือเท่ากับ 30 ปี แต่ไม่เกิน 50 ปี, มอายุใหม่ หมายถึง มหาวิทยาลัยที่มีอายุน้อยกว่า 30 ปี สัดส่วนเงินรัฐ

  21. กราฟสัดส่วนการพึ่งพางบประมาณจากรัฐแยกกลุ่มอายุมหาวิทยาลัย ปีงบประมาณ 2543–2545

  22. กราฟสัดส่วนค่าใช้จ่ายทางตรงต่องบดำเนินการรวม แยกตามกลุ่มอายุมหาวิทยาลัย ปีงบประมาณ 2543 – 2545

  23. กราฟการวิเคราะห์ค่าใช้จ่ายต่อหัวนักศึกษาแยกกลุ่มมหาวิทยาลัยเปิดและปิด ปีงบประมาณ 2543 – 2545 สัดส่วนการพี่งพา

  24. กราฟสัดส่วนการพึ่งพางบประมาณจากรัฐ แยกตามกลุ่มมหาวิทยาลัยเปิดและปิด ปีงบประมาณ 2543 – 2545

  25. กราฟสัดส่วนค่าใช้จ่ายบุคลากรต่องบดำเนินการรวมแยกตามกลุ่มมหาวิทยาลัยเปิดและปิด ปีงบประมาณ 2543-2545

  26. กราฟสัดส่วนค่าใช้จ่ายทางตรงต่องบดำเนินการรวม แยกตามกลุ่มมหาวิทยาลัยเปิดและปิด ปีงบประมาณ 2543–2545

  27. กราฟการวิเคราะห์ค่าใช้จ่ายต่อหัวนักศึกษาแยกกลุ่มมหาวิทยาลัยในสังกัดและในกำกับ ปีงบประมาณ 2543–2545 ค่าใช้จ่ายบุคลากรต่องบดำเนินการ

  28. กราฟสัดส่วนค่าใช้จ่ายบุคลากรต่องบดำเนินการรวม แยกตามกลุ่มมหาวิทยาลัยในสังกัดและในกำกับ ปีงบประมาณ 2543–2545

  29. กราฟการวิเคราะห์ค่าใช้จ่ายต่อหัวนักศึกษา แยกกลุ่มมหาวิทยาลัยส่วนกลางและส่วนภูมิภาคปีงบประมาณ 2543–2545 ค่าใช้จ่ายบุคลากรต่องบดำเนินการ

  30. กราฟสัดส่วนการพึ่งพางบประมาณจากรัฐ แยกตามกลุ่มมหาวิทยาลัยส่วนกลางและส่วนภูมิภาค ปีงบประมาณ 2543–2545

  31. ข้อสังเกตจากการศึกษาผลการศึกษาระยะที่สองข้อสังเกตจากการศึกษาผลการศึกษาระยะที่สอง • ข้อสังเกตจากการศึกษา เนื่องจาก 24 มหาวิทยาลัยได้ทำข้อมูลมาสองระยะ ทำให้มีฐานข้อมูลในการสืบค้นได้ง่ายระดับหนึ่ง • สำหรับมหาวิทยาลัยราชภัฏ ค่าใช้จ่ายต่อหัวนักศึกษาไม่ค่อยมีความแตกต่างในแต่ละสถาบัน และการศึกษาระยะที่สองขึ้นอยู่กับความพร้อมของข้อมูลของแต่ละมหาวิทยาลัย บางปีมีข้อมูลไม่ครบ • สำหรับมหาวิทยาลัยราชมงคล ใช้ข้อมูลนักศึกษาหัวจริง และยังไม่แยกเป็น 9 แห่งเหมือนปัจจุบัน ความพร้อม ประโยชน์

  32. ข้อมูลที่ใช้วิเคราะห์ 1. มหาวิทยาลัย 24 แห่ง ข้อมูลที่ศึกษาตั้งแต่ ปี 2543 – 2545 2.ราชภัฏ 41 แห่ง ข้อมูลที่ศึกษาตั้งแต่ ปี 2542 – 2546 แบ่งเป็น ปี 2542 - 25 แห่ง ปี 2543 - 29 แห่ง ปี 2544 - 30 แห่ง ปี 2545 - 33 แห่ง ปี 2546 - 22 แห่ง 3. ราชมงคล ศึกษาภาพรวมของสถาบัน ตั้งแต่ปี 2542 – 2545 4. ปทุมวัน ศึกษาตั้งแต่ปี 2542 – 2546 5. มหาวิทยาลัยสงฆ์ ศึกษาตั้งแต่ปี 2542 – 2546 6. วิทยาลัยชุมชน ศึกษาตั้งแต่ปี 2542 – 2546

More Related