1 / 31

Principle and Education Administration System

Khonkaen University Educational Administration #2012. วิชาหลักการและระบบการบริหารจัดการศึกษา เรื่อง แนวคิด การบริหารเชิงมนุษย สัมพันธ์. Principle and Education Administration System. Human Relation Approach. แนวคิดการบริหารเชิงมนุษยสัมพันธ์ ยุคที่ 2 ของวิวัฒนาการการบริหารการศึกษา.

heinrich
Download Presentation

Principle and Education Administration System

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Khonkaen UniversityEducational Administration #2012 วิชาหลักการและระบบการบริหารจัดการศึกษาเรื่อง แนวคิดการบริหารเชิงมนุษยสัมพันธ์ Principle and Education Administration System Human Relation Approach แนวคิดการบริหารเชิงมนุษยสัมพันธ์ ยุคที่ 2 ของวิวัฒนาการการบริหารการศึกษา

  2. Khonkaen UniversityEducational Administration #2012 วิชาหลักการและระบบการบริหารจัดการศึกษาเรื่อง แนวคิดการบริหารเชิงมนุษยสัมพันธ์ สมาชิก • นายชัชชัย โชมขุนทด รหัส 555050152-2 • นางพรเพ็ญ สมบูรณ์ รหัส 555050164-5 • นางสาวละคร เขียนชานาจ รหัส 555050174-2 • นางสาวยุวดี ไชยนิจ รหัส 555050245-5 • นางสาวบุษกร บุญทศ รหัส 555050161-1 • นายภานุวัฒน์ สิงห์หาญ รหัส 555050168-7 • นางสาวนิชนันทร์ บุญสา รหัส 555050157-2 • นางเพ็ญศรี กัลยาณกิตติ รหัส 555050243-9

  3. Khonkaen UniversityEducational Administration #2012 วิชาหลักการและระบบการบริหารจัดการศึกษาเรื่อง แนวคิดการบริหารเชิงมนุษยสัมพันธ์ ความหมายของมนุษยสัมพันธ์ • อริสโตเติล ( Aristotle ) • มนุษย์เป็นสัตว์สังคม มีปฏิสัมพันธ์ร่วมกัน ทำให้พวกเขารู้สึกปลอดภัย • พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน • ความสัมพันธ์ในทางสังคม ระหว่างมนุษย์ ซึ่งจะก่อให้เกิดความเข้าใจอันดีต่อกัน โดยมีการติดต่อสื่อสารกัน ระหว่างบุคคล ระหว่างกลุ่ม เพื่อให้ทราบความต้องการของแต่ละบุคคล หรือกลุ่ม • อำนวย แสงสว่าง • การแสวงหา เพื่อทำความเข้าใจ การติดต่อสัมพันธ์กัน ระหว่างบุคคล เป็นผลก่อให้เกิดความเชื่อมโยง เพื่อให้ได้ผลสำเร็จตามเป้าหมายขององค์การ ของแต่ละบุคคลที่ได้กำหนดไว้

  4. Khonkaen UniversityEducational Administration #2012 วิชาหลักการและระบบการบริหารจัดการศึกษาเรื่อง แนวคิดการบริหารเชิงมนุษยสัมพันธ์ ความหมายของมนุษยสัมพันธ์ • David, Keith.กระบวนการจูงใจของบุคคลอย่างมีประสิทธิผล และมีประสิทธิภาพ โดยมีความพอใจในทางเศรษฐกิจ • Edwin B. Flippoการรวมคนให้ทำงานร่วมกันในลักษณะที่มุ่งให้เกิดความร่วมมือประสานงานความคิดริเร่มสร้างสรรค์เพื่อให้บังเกิดและบรรลุเป้าหมาย • ชลอธรรมศิริ • เป็นความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล เพื่อยึดเหนี่ยวระหว่างกัน ให้เกิดความรักใคร่ชอบพอ ความร่วมมือร่วมใจในการทำกิจกรรม • ให้บรรลุเป้าหมาย และดำเนินชีวิตให้มีความราบรื่น

  5. Khonkaen UniversityEducational Administration #2012 วิชาหลักการและระบบการบริหารจัดการศึกษาเรื่อง แนวคิดการบริหารเชิงมนุษยสัมพันธ์ ความหมายของมนุษยสัมพันธ์ มนุษยสัมพันธ์ หมายถึง กระบวนการของศาสตร์ที่ใช้ศิลปะสร้างความพอใจ รักใคร่ ศรัทธา เคารพนับถือ โดยแสดงพฤติกรรม ให้เหมาะสมทั้งทางกาย วาจา และใจ เพื่อโน้มนำให้มีความรู้สึกใกล้ชิดเป็นกันเอง จูงใจให้ร่วมมือร่วมใจ ในอันที่จะบรรลุสิ่งซึ่งพึงประสงค์อย่างราบรื่น และอยู่ในสังคมได้อย่างสันติสุข ความหมายในแง่จิตวิทยามนุษยสัมพันธ์ หมายถึง การแสดงพฤติกรรมต่อกันในระบบสังคม เนื่องจากจิตวิทยาเป็นศาสตร์ที่ศึกษาพฤติกรรมของมนุษย์นักจิตวิทยาจึงให้ความหมายของมนุษยสัมพันธ์ในสภาวะของการแสดงพฤติกรรมโต้ตอบกันในสังคม

  6. Khonkaen UniversityEducational Administration #2012 วิชาหลักการและระบบการบริหารจัดการศึกษาเรื่อง แนวคิดการบริหารเชิงมนุษยสัมพันธ์ สรุปความหมายของมนุษยสัมพันธ์ • เป็นความสัมพันธ์ทางสังคม ของบุคคลหรือกลุ่มบุคคล ที่มีการติดต่อสื่อสารและเชื่อมโยงกัน เป็นทั้งศาสตร์และศิลปะเกี่ยวกับพฤติกรรมของมนุษย์เพื่อให้เกิดความสัมพันธ์ที่ดีต่อกันและการบรรลุจุดมุ่งหมายขององค์การเพื่อความราบรื่นในการดำรงชีวิตให้ปลอดภัยหรือปลอดพ้นอุปสรรค

  7. Khonkaen UniversityEducational Administration #2012 วิชาหลักการและระบบการบริหารจัดการศึกษาเรื่อง แนวคิดการบริหารเชิงมนุษยสัมพันธ์ ประวัติความเป็นมาของมนุษย์สัมพันธ์ 1.ยุคบรรพกาล มนุษย์เกิดมาพร้อมกับการรวมกลุ่ม 2.ยุคสังคมเปลี่ยนแปลง -ก่อนปฏิวัติอุตสาหกรรม -หลังปฏิวัติอุตสาหกรรม

  8. ประวัติความเป็นมาของมนุษยสัมพันธ์ประวัติความเป็นมาของมนุษยสัมพันธ์ ประวัติความเป็นมาของมนุษย์สัมพันธ์ สภาพแวดล้อมไม่ดี กดขี่บังคับลูกจ้าง ขาดแคลน ใช้แรงงานคนแบบทาส -ก่อนปฏิวัติอุตสาหกรรม ทำงานหนัก สุขภาพทรุดโทรม ยากจน

  9. Khonkaen UniversityEducational Administration #2012 วิชาหลักการและระบบการบริหารจัดการศึกษาเรื่อง แนวคิดการบริหารเชิงมนุษยสัมพันธ์ ประวัติความเป็นมาของมนุษย์สัมพันธ์ -หลังปฏิวัติอุตสาหกรรม ->ผู้ที่มีบทบาทสำคัญในการปรับปรุงงานด้านมนุษยสัมพันธ์ “และถือกันว่าเป็นปฐมบิดร” คือ โรเบิร์ต โอเวน (Robert Owen) ->ค.ศ. 1835 แอนดรูว์ เออร์ (Andrew Ure) ->ระยะต้นปี ค.ศ. 1900 เฟรเดอริค เทเลอร์ผู้ซึ่งได้รับสมญานามว่า “บิดาแห่งการจัดการแบบวิทยาศาสตร์” ->หลังสงครามโลกจนถึงปัจจุบัน -> ค.ศ. 1910 แมรี่ ฟอลเลทท์ (Mary Follett) ->1920 และปี 1930 เอลตัน เมโย (Elton Mayo)

  10. Khonkaen UniversityEducational Administration #2012 วิชาหลักการและระบบการบริหารจัดการศึกษาเรื่อง แนวคิดการบริหารเชิงมนุษยสัมพันธ์ ความสำคัญของมนุษย์สัมพันธ์ - สร้างความสามัคคีธรรม - สังคมปกติสุข - เป็นการสร้างสรรค์สังคม - งานต่างๆ ประสบความสำเร็จ - ทำให้คนแตกต่างจากสัตว์อื่น - ตระหนักในศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ - งานทุกอย่างบรรลุเป้าหมายตามที่องค์กรต้องการ - ก่อให้เกิดความนิยม ความชอบ ความเชื่อ ความศรัทธา ความปลอดภัย เศรษฐกิจ สังคมการเมือง

  11. Khonkaen UniversityEducational Administration #2012 วิชาหลักการและระบบการบริหารจัดการศึกษาเรื่อง แนวคิดการบริหารเชิงมนุษยสัมพันธ์ องค์ประกอบของมนุษย์สัมพันธ์ แผนภูมิแสดงองค์ประกอบของแนวความคิดมนุษยสัมพันธ์

  12. Khonkaen UniversityEducational Administration #2012 วิชาหลักการและระบบการบริหารจัดการศึกษาเรื่อง แนวคิดการบริหารเชิงมนุษยสัมพันธ์ ทฤษฎีที่สำคัญของแนวคิดมนุษยสัมพันธ์ เป็นยุคที่มีความเชื่อว่างานใด ๆ จะบรรลุผลสำเร็จได้จะต้องอาศัยคนเป็นหลัก นักบริหารกลุ่มนี้จึงหันมาสนใจศึกษาพัฒนาทฤษฎี วิธีการและเทคนิคต่าง ๆ ทางด้านสังคมศาสตร์ พฤติกรรมและกลุ่มคนในองค์การ บุคคลสำคัญในยุคนี้ได้แก่ Abraham Maslow Mary Follette RensisLikert Elton Mayo Douglas McGregor Chris Argyris

  13. Khonkaen UniversityEducational Administration #2012 วิชาหลักการและระบบการบริหารจัดการศึกษาเรื่อง แนวคิดการบริหารเชิงมนุษยสัมพันธ์ Mary Parker Follette(แมรี่ ปาคเกอร์ ฟอลเลท) เป็นชาวอเมริกัน ได้เขียนตำราที่มีแนวคิดในเชิงมนุษยสัมพันธ์ เช่น เขียนเรื่องความขัดแย้ง การประสานความขัดแย้ง กฎที่อาศัยสถานการณ์ และความรับผิดชอบ เสนอแนวทางการแก้ปัญหาความขัดแย้ง(Conflict) ไว้ 3 แนวทาง Domination Integration Compromise คือ ใช้อำนาจอีกฝ่ายสยบลง คือให้อีกฝ่ายแพ้ให้ได้ ไม่ดีนัก คือ คนละครึ่งทาง เพื่อให้เหตุการณ์สงบโดยประนีประนอม คือ การหาแนวทางที่ไม่มีใครเสียหน้า ได้ประโยชน์ทั้ง 2 ทาง (ชนะ ชนะ)

  14. Khonkaen UniversityEducational Administration #2012 วิชาหลักการและระบบการบริหารจัดการศึกษาเรื่อง แนวคิดการบริหารเชิงมนุษยสัมพันธ์ Elton Mayo (เอลตันเมโย) เป็นชาวออสเตรีย นักจิตวิทยาจากมหาวิทยาลัยฮาวาร์ด เริ่มต้นจากคำถามว่า “จะเป็นไปได้หรือไม่ ถ้าหากว่าพนักงานได้รับการดูแลเป็นพิเศษแล้ว ประสิทธิภาพการทำงานก็จะเพิ่มขึ้น” Hawthorn Study

  15. Khonkaen UniversityEducational Administration #2012 วิชาหลักการและระบบการบริหารจัดการศึกษาเรื่อง แนวคิดการบริหารเชิงมนุษยสัมพันธ์ Hawthorn Study การศึกษาทดลองที่ฮอร์ทอร์น Hawthorn Studyมีขึ้นที่บริษัท Western Electric Company ในชิคาโก ระหว่าง ค.ศ.1927-1932 การทดลองดังกล่าวได้เกิดขึ้นภายใต้ควบคุมของ Elton Mayo (เอลตัน เมโย) การศึกษาดังกล่าวนี้เริ่มต้นด้วยการสำรวจความสัมพันธ์ระหว่าง สภาพแวดล้อมทางกายภาพ (Physical Environment) กับประสิทธิภาพในการทำงาน (Productivity)

  16. Khonkaen UniversityEducational Administration #2012 วิชาหลักการและระบบการบริหารจัดการศึกษาเรื่อง แนวคิดการบริหารเชิงมนุษยสัมพันธ์ Hawthorn Study การศึกษาทดลองที่ฮอร์ทอร์น วิธีการศึกษา 1.ศึกษาสภาพของห้องทำงาน (ใช้ระยะเวลา 26 เดือน) มีทั้งสิ้น 13 ขั้นตอนในการทดลองครั้งนี้2.การสัมภาษณ์ (Interview Studies) 3.การสังเกต (Observation Studies) ศึกษาจากคนงานจำนวน 21,000 คน ของโรงงาน Western Electric Company โดยเทคนิคการสัมภาษณ์ ทำให้ทราบว่าโครงสร้างองค์การแบบไม่เป็นทางการมีบทบาทและทำหน้าที่เป็นกลไกทางสังคม ต่อการเรียนรู้และการทำงานของคนงานรวมถึงมีบทบาทเป็นตัวกำหนดคุณภาพของผลงานของคนงานด้วย การสังเกต เพื่อสังเกตการปฏิบัติงานของกลุ่มคนงานพันขดลวดโทรศัพท์ โดยใช้ระบบการตอบแทนตามหลักวิทยาศาสตร์การจัดการ คือทำงานได้มากได้ค่าตอบแทนมาก

  17. Khonkaen UniversityEducational Administration #2012 วิชาหลักการและระบบการบริหารจัดการศึกษาเรื่อง แนวคิดการบริหารเชิงมนุษยสัมพันธ์ Hawthorn Study

  18. Khonkaen UniversityEducational Administration #2012 วิชาหลักการและระบบการบริหารจัดการศึกษาเรื่อง แนวคิดการบริหารเชิงมนุษยสัมพันธ์ Hawthorn Study สรุปผลการศึกษาได้ ดังนี้ ปทัสถานสังคม (ข้อตกลงเบื้องต้นในการทำงาน) เป็นตัวกำหนดปริมาณผลผลิต ไม่ใช้ปัจจัยด้านกายภาพ ความคิดที่ว่าคนเห็นแก่ตัว ต้องการเงินค่าตอบแทนมากๆเป็นการมองแคบๆ พฤติกรรมของคนงานถูกกำหนดโดยความสัมพันธ์ภายในกลุ่ม สนับสนุนให้มีการทำวิจัยด้านผู้นำต่างๆ ผู้นำต้องเปิดโอกาสให้คนในองค์การเข้ามามีส่วนร่วมในการตัดสินใจ

  19. Khonkaen UniversityEducational Administration #2012 วิชาหลักการและระบบการบริหารจัดการศึกษาเรื่อง แนวคิดการบริหารเชิงมนุษยสัมพันธ์ Hawthorn Study การศึกษาทดลองที่ฮอร์ทอร์น การเปรียบเทียบข้อดีข้อเสียตามแนวคิดของ Mayo

  20. Khonkaen UniversityEducational Administration #2012 วิชาหลักการและระบบการบริหารจัดการศึกษาเรื่อง แนวคิดการบริหารเชิงมนุษยสัมพันธ์ Abraham Maslow (อับราฮัม มาสโลว) เสนอทฤษฎีลำดับขั้นของความต้องการโดยตั้งสมมติฐานของการจูงใจไว้ 3 ประการ มนุษย์มีความต้องการอยู่ตลอดเวลา ความต้องการที่รับการตอบสนองแล้วจะไม่เป็นแรงจูงใจหรือเป็นสิ่งกระตุ้น สำหรับพฤติกรรมนั้นอีกต่อไป ความต้องการของคนมีลักษณะเป็นลำดับขั้นจากต่ำไปหาสูงตามลำดับความสำคัญ ประจักษ์ในคุณค่า ยกย่องและยอมรับ ความต้องการทางสังคม ความต้องการความมั่นคง ความต้องการทางกายภาพ

  21. Khonkaen UniversityEducational Administration #2012 วิชาหลักการและระบบการบริหารจัดการศึกษาเรื่อง แนวคิดการบริหารเชิงมนุษยสัมพันธ์ DouglasMcGregorดักกลาส แมคเกรเกอร์ ได้เขียนหนังสือชื่อ The Human Side of Enterprise ได้อธิบายไว้ว่า การจูงใจคนงานมีอยู่ 2 วิธี คือ วิธีเดิม เรียกว่า ทฤษฎี X และวิธีแบบมนุษยสัมพันธ์เรียกว่าทฤษฎี Y

  22. Khonkaen UniversityEducational Administration #2012 วิชาหลักการและระบบการบริหารจัดการศึกษาเรื่อง แนวคิดการบริหารเชิงมนุษยสัมพันธ์ DouglasMcGregorดักกลาส แมคเกรเกอร์ แนวคิดของทฤษฎีX มนุษย์มีสันดานขี้เกียจ พยายามหลีกเลี่ยงงาน มนุษย์เห็นแก่ตัวคิดถึงแต่ตัวเอง มนุษย์มีนิสัยต่อต้านการเปลี่ยนแปลง มนุษย์ไม่ฉลาดนัก ถูกหลอกง่าย แนวคิดของทฤษฎีY • มนุษย์ทุกคนมีความรับผิดชอบ • มนุษย์ไม่เฉื่อยชา • มนุษย์ทุกคนมีพื้นฐานที่ดี

  23. Khonkaen UniversityEducational Administration #2012 วิชาหลักการและระบบการบริหารจัดการศึกษาเรื่อง แนวคิดการบริหารเชิงมนุษยสัมพันธ์ DouglasMcGregorดักกลาส แมคเกรเกอร์ การเปรียบเทียบข้อดีและข้อเสียตามแนวคิดของ McGregor

  24. Khonkaen UniversityEducational Administration #2012 วิชาหลักการและระบบการบริหารจัดการศึกษาเรื่อง แนวคิดการบริหารเชิงมนุษยสัมพันธ์ Frederick Herzbergเฟรดเดอริค เฮิร์ชเบิร์ก ทฤษฎีการจูงใจกับสุขวิทยา Motivation – Hygiene • -ปัจจัยทางสุขวิทยา(Hygiene Factors)-ความเข้าใจในนโยบายและการบริหารของบริษัท • - การบังคับบัญชา • - ความสัมพันธ์กับบุคคลอื่น • - เงินเดือน • - สภาพแวดล้อม • -ปัจจัยจูงใจ(Motivation Factors) - ความสำเร็จในการปฏิบัติงาน • - การได้รับการยอมรับจากคนอื่น • - การมีโอกาสก้าวหน้าในงาน • - การได้ทำงานที่ถนัด • - ความรับผิดชอบที่เหมาะสมกับตำแหน่ง เฮิร์ชเบิร์กได้แนะนำการจูงใจอีก 3 วิธี+1. การปรับปรุงงาน +2. การเพิ่มขยายงาน +3. การหมุนเวียนสับเปลี่ยนตำแหน่งงาน

  25. Khonkaen UniversityEducational Administration #2012 วิชาหลักการและระบบการบริหารจัดการศึกษาเรื่อง แนวคิดการบริหารเชิงมนุษยสัมพันธ์ Chris Argyrisคริส อาร์จิริส ได้เขียนหนังสือชื่อ Personality and Development โดยนำเสนอ ทฤษฎีพัฒนาการด้านบุคลิกภาพ 1. มนุษย์ที่มีสุขภาพจิตดี 2. การจัดองค์การแบบระบบราชการ เป็นอุปสรรค.. 3. การออกแบบองค์การแบบราชการ จะไม่ส่งผลให้องค์การเกิดประสิทธิผล

  26. Khonkaen UniversityEducational Administration #2012 วิชาหลักการและระบบการบริหารจัดการศึกษาเรื่อง แนวคิดการบริหารเชิงมนุษยสัมพันธ์ RensisLikert (เรนสิส ไลเกอท) ศึกษาถึงความจำเป็นในการใช้ทรัพยากรมนุษย์และทุนประเภทอื่นๆ ในฐานะที่ เป็นทรัพย์สินที่มีค่าของกิจการ จุดมุ่งหมายเพื่อหาทางช่วยองค์การให้เปลี่ยนมุมมองจาก x ให้เป็น Y โดยให้ความสำคัญกับปัจจัยสุขวิทยา และพัฒนาไปสู่ปัจจัยจูงใจ

  27. Khonkaen UniversityEducational Administration #2012 วิชาหลักการและระบบการบริหารจัดการศึกษาเรื่อง แนวคิดการบริหารเชิงมนุษยสัมพันธ์ RensisLikert (เรนสิส ไลเกอท) ระบบการจัดการ 4 ระบบ ดังนี้ ระบบที่ 1 ฝ่ายจัดการไม่มีความมั่นใจหรือความไว้วางใจใน ผู้ใต้บังคับบัญชา ระบบที่ 2 ฝ่ายจัดการเริ่มมีความมั่นใจและไว้วางใจในตัวผู้ใต้บังคับบัญชาเพิ่มขึ้นในลักษณะเจ้านายกับคนใช้ ระบบที่ 3 ฝ่ายจัดการมีความมั่นใจและไว้วางใจในตัวผู้ใต้บังคับบัญชามากแต่ก็ยังไม่เต็มที่ ระบบที่ 4 ฝ่ายจัดการมีความมั่นใจและไว้วางใจในตัวผู้ใต้บังคับบัญชาอย่างเต็มที่ การตัดสินใจมีการกระจายไปสู่ทุกๆ ส่วนขององค์การ

  28. Khonkaen UniversityEducational Administration #2012 วิชาหลักการและระบบการบริหารจัดการศึกษาเรื่อง แนวคิดการบริหารเชิงมนุษยสัมพันธ์ แนวคิดทฤษฎีการบริหารบนพื้นฐานของมนุษยสัมพันธ์ 1. ไม่ยึดมั่นในกระบวนการ และผลลัพธ์เพียงอย่างเดียว 2. ให้ความสำคัญกับคนถือว่าคนเป็นทรัพยากรที่มีค่า 3. ความแตกต่างของคน เป็นสิ่งที่ดี และ จำเป็นต่อการบริหารองค์การ 4. ผู้บริหารต้องมีความรู้ด้านการบริหารจัดการ 5. บรรยากาศในการทำงาน เอื้อต่อการปฏิบัติงาน 6. ให้ความสำคัญต่อความหมายในความเป็นมนุษย์ 7. ผู้บริหารต้องเป็นที่ยอมรับของผู้ใต้บังคับบัญชา

  29. Khonkaen UniversityEducational Administration #2012 วิชาหลักการและระบบการบริหารจัดการศึกษาเรื่อง แนวคิดการบริหารเชิงมนุษยสัมพันธ์ การประยุกต์ใช้หลักมนุษยสัมพันธ์ในการบริหารการศึกษา 1. ผู้บริหารควรสร้างมนุษยสัมพันธ์อันดีกับครูเป็นรายบุคคลและเป็นกลุ่ม 2. ปัญหาเรื่องมนุษยสัมพันธ์ ซึ่งในเบื้องต้นไม่ค่อยมีความสำคัญแต่ต่อมาได้รับการยอมรับมากขึ้น 3. ผู้บริหารสามารถสร้างภาวะผู้นำแบบประชาธิปไตยได้มากกว่าเพราะตำแหน่งเอื้ออำนวยให้ 4. ครูทุกคนรวมเป็นกลุ่มสังคมที่ซับซ้อน ผู้บริหารจะต้องร่วมงานกับครูเหล่านี้ด้วยความระมัดระวัง 5. ครูและเจ้าหน้าที่ทุกคนที่ได้รับผลกระทบกระเทือนต่อการตัดสินใจควรจะมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ

  30. Khonkaen UniversityEducational Administration #2012 วิชาหลักการและระบบการบริหารจัดการศึกษาเรื่อง แนวคิดการบริหารเชิงมนุษยสัมพันธ์ หลักการสร้างมนุษยสัมพันธ์ 10 ข้อ สรุปได้ดังนี้ 1. บุคคลย่อมมีความแตกต่างกัน (individual difference) 6. บุคคลมีความรับผิดชอบ (responsibility) 2. การพิจารณาศึกษาบุคคลต้องดูทั้งหมดในฐานะที่บุคคลนั้นเป็นบุคคลคนหนึ่ง 7. บุคคลต้องการเอาใจเขามาใส่ใจเรา (empathy) 3. พฤติกรรมของบุคคลแต่ละคนต้องมีสาเหตุ (caused behavior) 8. บุคคลต้องการผลประโยชน์ซึ่งกันและกัน (mutual interest) 4. บุคคลทุกคนมีศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ (human dignity) เสมอกัน 9. บุคคลต้องการพัฒนาศักยภาพของตนให้ถึงขีดสุด (self development) 5. บุคคลต้องการที่จะติดต่อสื่อสาร (communications) 10. บุคคลต้องการที่จะเรียนรู้และมีความรับผิดชอบ (responsibility)

  31. Khonkaen UniversityEducational Administration #2012 วิชาหลักการและระบบการบริหารจัดการศึกษาเรื่อง แนวคิดการบริหารเชิงมนุษยสัมพันธ์ ขอเชิญร่วมอภิปราย ? ? -ซักถาม ประเด็นที่สนใจ

More Related