1 / 28

เมืองสุขภาพดี

เมืองสุขภาพดี. นายแพทย์สันทิต บุณยะส่ง นายแพทย์เชี่ยวชาญ หัวหน้ากลุ่มพัฒนาการส่งเสริมสุขภาพ ศูนย์อนามัยที่ 3. นโยบายปลัดกระทรวงฯ. นโยบายรัฐมนตรี. เป้าหมายการทำงาน กลยุทธ์ในการทำงาน ภารกิจงานเร่งด่วน. Basic Package. Specific Issue. Strategic Focus.

helena
Download Presentation

เมืองสุขภาพดี

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. เมืองสุขภาพดี นายแพทย์สันทิต บุณยะส่ง นายแพทย์เชี่ยวชาญ หัวหน้ากลุ่มพัฒนาการส่งเสริมสุขภาพ ศูนย์อนามัยที่ 3

  2. นโยบายปลัดกระทรวงฯ นโยบายรัฐมนตรี เป้าหมายการทำงาน กลยุทธ์ในการทำงาน ภารกิจงานเร่งด่วน Basic Package Specific Issue Strategic Focus ประชาชนแข็งแรง เศรษฐกิจเติบโต ความเชื่อมโยงระหว่างนโยบายรัฐบาล นโยบายรัฐมนตรี นโยบายปลัดกระทรวงฯ โครงการสำคัญกรมอนามัย นโยบายสำคัญรัฐบาล(ด้านการพัฒนาสุขภาพของประชาชน) โครงการสำคัญ กรมฯ โครงการพระราชดำริและโครงการ เฉลิมพระเกียรติ กลุ่มสตรีและทารก 4.3.3 จัดให้มีมาตรการสร้างสุขภาพฯลฯ กลุ่มเด็กปฐมวัย กลุ่มเยาวชนและวัยรุ่น 4.3.5 พัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนฯลฯ กลุ่มวัยทำงาน กลุ่มผู้สูงอายุ ผู้พิการ กลุ่มพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม AEC

  3. วิสัยทัศน์ : ภายในทศวรรษต่อไป คนไทยทุกคนจะมีสุขภาพแข็งแรงเพิ่มขึ้นเพื่อสร้างความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศทั้งทางตรงและทางอ้อมอย่างยั่งยืน เป้าหมาย ระยะ 10 ปี เด็กปฐมวัย 1. เด็กไทยมีความฉลาดทางสติปัญญาเฉลี่ย (ไม่น้อยกว่า 100) 2. อัตราการป่วยด้วยโรคหัด (ไม่เกิน 0.5 ต่อประชากรแสนคน) วัยทำงาน 1. จำนวนผู้ติดเชื้อเอชไอวีรายใหม่(ลดลงร้อยละ 67) 2. อัตราตายจากอุบัติเหตุทางถนน (ไม่เกิน 13 ต่อประชากรแสนคน) 3. อัตราตายจากโรคหลอดเลือดหัวใจ (ไม่เกิน 15 ต่อประชากรแสนคน) 4. อัตราตายจากโรคมะเร็งตับ (ไม่เกิน 15 ต่อประชากรแสนคน ผู้สูงอายุ ผู้พิการ 1. ร้อยละของผู้สูงอายุที่เป็นโรคสมองเสื่อม (ไม่เกิน 10) เป้าหมายระยะ 3-5 ปี ระดับกระทรวง 15 ตัวชี้วัด เป้าหมายระยะ 1-2 ปี (เขตสุขภาพ/ จังหวัด) 22 ตัวชี้วัด การมีส่วนร่วมของภาคประชาชน 1. ร้อยละของ อสม. ที่ได้รับการพัฒนาศักยภาพเป็น อสม. เชี่ยวชาญ (ไม่น้อยกว่า 48) 2. ร้อยละของอำเภอที่มี District Health System (DHS) ที่เชื่อมโยง ระบบบริการปฐมภูมิกับชุมชนและท้องถิ่นอย่างมีคุณภาพ ใช้SRM หรือเครื่องมืออื่นๆในการทำแผนพัฒนาสุขภาพ (ไม่น้อยกว่า 50) เป้าหมายระยะ 1 ปี (เขตสุขภาพ/จังหวัด) 22 ตัวชี้วัด สาธารณภัย/ฉุกเฉิน 1.ร้อยละของอำเภอที่มีทีม DMAT, MCATT, SRRT คุณภาพ (เท่ากับ 80) 2.ร้อยละของ ER EMS คุณภาพ (ไม่น้อยกว่า 70) 3.จำนวนทีม MERT ที่ได้รับการพัฒนา (เท่ากับ 24 ทีม) ความรอบรู้ด้านสุขภาพ (Health Literacy) 1. ร้อยละของประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงที่มีการปรับพฤติกรรม 3 อ 2 ส และลดเสี่ยง (ไม่น้อยกว่า 50)

  4. วิสัยทัศน์ : ภายในทศวรรษต่อไป คนไทยทุกคนจะมีสุขภาพแข็งแรงเพิ่มขึ้นเพื่อสร้างความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศทั้งทางตรงและทางอ้อมอย่างยั่งยืน เป้าหมาย ระยะ 10 ปี(2) เป้าหมายระยะ 3-5 ปี ระดับกระทรวง 3 ตัวชี้วัด เป้าหมายระยะ 1-2 ปี (เขตสุขภาพ/ จังหวัด) 8 ตัวชี้วัด เป้าหมายระยะ 1 ปี (เขตสุขภาพ/จังหวัด) 5 ตัวชี้วัด

  5. โครงการพระราชดำริและโครงการเฉลิมพระเกียรติโครงการพระราชดำริและโครงการเฉลิมพระเกียรติ

  6. ฟันเทียมพระราชทานและการส่งเสริมสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุฟันเทียมพระราชทานและการส่งเสริมสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ โครงการพระราชดำริและโครงการเฉลิมพระเกียรติ - ผู้สูงอายุมีฟันเคี้ยวอาหารอย่างเหมาะสม พัฒนาคุณภาพน้ำบริโภคในชุมชนและครัวเรือนภายใต้แผนการบริหารจัดการ และฟื้นฟูนิเวศลุ่มน้ำปากพนัง - ประชาชนในพื้นที่โครงการ ลุ่มน้ำปากพนังมีน้ำบริโภคที่ปลอดภัย

  7. พัฒนาราษฎรชาวไทยภูเขาฯ เพื่อความมั่นคงพื้นที่ชายแดน และหมู่บ้านยามชายแดน โครงการรักษ์น้ำเพื่อพระแม่ของแผ่นดิน โครงการพระราชดำริและโครงการเฉลิมพระเกียรติ - ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีและสามารถพึ่งพาตนเองได้ - ประชาชนมีน้ำบริโภคที่ปลอดภัยและสุขอนามัยที่ดี ลดความเสี่ยงการเจ็บป่วยจากโรคที่เกิดจากน้ำเป็นสื่อ

  8. สายใยรักแห่งครอบครัว - โรงพยาบาลสายใยรักฯ - ตำบลนมแม่สายใยรักฯ ส่งเสริมโภชนาการและสุขภาพเด็กและเยาวชนในถิ่นทุรกันดาร (กพด.) โครงการพระราชดำริและโครงการเฉลิมพระเกียรติ - ลดอัตราการตายของมารดา - ส่งเสริมพัฒนาการเด็กให้สมวัย - เด็กและเยาวชนในถิ่นทุรกันดารที่เป็นกลุ่มเสี่ยง เช่น ขาดสารอาหาร การเจ็บป่วย เป็นต้น ได้รับการส่งเสริมด้านโภชนาการ อนามัยสิ่งแวดล้อม

  9. ควบคุมและป้องกันโรคขาดสารไอโอดีนควบคุมและป้องกันโรคขาดสารไอโอดีน โครงการพระราชดำริและโครงการเฉลิมพระเกียรติ - ควบคุมและป้องกันการขาดสารไอโอดีนทุกกลุ่มวัย

  10. กรมอนามัยส่งเสริมให้คนไทยสุขภาพดีมีอายุยืนกรมอนามัยส่งเสริมให้คนไทยสุขภาพดีมีอายุยืน 1. MMR = 18 : 100,000 LB 2. BA ไม่เกิน 25 : 1000 LB 3. หญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ ครั้งแรกก่อนอายุครรภ์ 12 สัปดาห์ 60% 4. เด็กปฐมวัยที่พัฒนาการ ไม่สมวัยได้รับการกระตุ้นพัฒนาการ 80 % 1. เด็กวัยเรียนมีส่วนสูง ระดับดีและรูปร่างสมส่วน 70 % 2. รร. ระดับเพชร 154 แห่ง 3. ส่งเสริมสุขภาพเด็ก ในถิ่นทุรกันดาร 2,500 คน 1. ร้อยละ 80 สตรีตรวจเต้านมด้วยตนเอง 80 % 2. สัดส่วนของผู้ป่วยมะเร็ง เต้านมระยะที่ 1 และ 2 ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 70 3. รพ.สส. 24 แห่ง 1. ผู้สูงอายุได้รับการพัฒนาทักษะทางกายแลกใจ 80 % 2. 80 ปียังแจ๋ว 76 อำเภอ 3. LTC 175 แห่ง 4. วัด สส. 20 % . ร.ร. ส่งเสริมสุขภาพ . ทักษะชีวิตในโรงเรียน . ส่งเสริมโภชนาการและ สุขภาพอนามัยเด็กและเยาวชนในถิ่นทุรกันดาร(กพด.) 1. Every Woman Every Child - เฝ้าระวังมะเร็งเต้านม ในสตรี 2. ร.พ. ส่งเสริมสุขภาพ 3. ส่งเสริมสุขภาพวัยทอง 4. ส่งเสริมสุขภาพ ในสถานประกอบการ 1. ส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ - อำเภอ 80 ปียังแจ๋ว - LTC - วัดส่งเสริมสุขภาพ - ชมรมผู้สูงอายุ 1. Every Woman Every Child - โครงการส่งเสริมสุขภาพ มารดาและทารก - โครงการส่งเสริมสุขภาพ เด็กปฐมวัย 2. สายใยรักแห่งครอบครัว - รพ. สายใยรักฯ - ตำบลนมแม่ 3. การป้องกัน HIV จากแม่สู่ลูก

  11. เสริมสร้างสุขภาพเพื่อสตรีไทย มะเร็งเต้านม มะเร็งปากมดลูก กลุ่มสตรีและทารก - สร้างความตระหนัก และ คัดกรอง รวมทั้งเฝ้าระวัง เพื่อค้นหาความผิดปกติระยะเริ่มต้นของมะเร็ง เต้านม และมะเร็ง ปากมดลูก

  12. พัฒนาศูนย์เด็กเล็กในชุมชนฯพัฒนาศูนย์เด็กเล็กในชุมชนฯ ค่ายเด็กไทย สุขภาพดี ลดโรคเพิ่มสุข พัฒนาเด็กปฐมวัย กลุ่มเด็กปฐมวัย - เด็กปฐมวัยมีพัฒนาการสมวัย - เด็กที่สงสัยพัฒนาการล่าช้าได้รับการกระตุ้นพัฒนาการ - พัฒนาศูนย์เด็กเล็กให้เป็นศูนย์เด็กเล็ก น่าอยู่และมีคุณภาพ - สร้างความตระหนักรู้เชิงรุก - พัฒนาเด็กไทยให้เติบโต เต็มวัย ตามศักยภาพ

  13. โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ลดปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น กลุ่มเยาวชนและวัยรุ่น - บูรณาการงานโภชนาการ ออกกำลังกาย ทันตสุขภาพ อนามัยการเจริญพันธุ์ สุขภาพจิต และอนามัยสิ่งแวดล้อม โดยมีโรงเรียนและนักเรียนเป็นศูนย์กลาง - ลดการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควรและการมีเพศสัมพันธ์ที่ไม่ปลอดภัย รวมทั้งวางแผนการตั้งครรภ์อย่างมีคุณภาพ

  14. คนไทยไร้พุง ออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ กลุ่มวัยทำงาน - ส่งเสริมให้คนไทยไร้พุง เพื่อลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง - สร้างกระแสความตระหนักให้ประชาชนออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ

  15. “80 ปี สุขภาพยังดี” (สุขภาพดี พึ่งตนเอง ช่วยเหลือสังคม) กลุ่มผู้สูงอายุ และผู้พิการ - เตรียมความพร้อมผู้สูงอายุให้เป็นผู้สูงอายุที่มีคุณภาพอย่างองค์รวม - ท้องถิ่น ชุมชน มีส่วนร่วมในการดูแลผู้สูงอายุแบบบูรณาการ

  16. สิ่งแวดล้อมกับสุขภาพ สิ่งแวดล้อมกับเขตเมือง สุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม

  17. การขับเคลื่อนงานอนามัยสิ่งแวดล้อมการขับเคลื่อนงานอนามัยสิ่งแวดล้อม แผนยุทธศาสตร์อนามัยสิ่งแวดล้อมแห่งชาติฉบับที่ 2 พ.ศ.2554-2559 20 กระทรวง ผู้รับบริการ รพ.สต. จังหวัด ชมรมสา'สุข แห่งประเทศไทย สสอ. อำเภอ. อปท.คุณภาพ สายงานอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมคพ. กรมสถ. ประชาสังคม

  18. กรอบแนวคิดในการกำหนดประเด็นยุทธศาสตร์กรอบแนวคิดในการกำหนดประเด็นยุทธศาสตร์ การเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อม สังคม เศรษฐกิจของโลก ลดความเสี่ยง - ประเด็น - พื้นที่ การเปลี่ยนแปลง สิ่งแวดล้อม สังคม เศรษฐกิจของประเทศ ลดผลกระทบต่อสุขภาพ การคุ้มครองสิทธิทางสุขภาพของประชาชนด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม การพัฒนาสุขาภิบาลที่ยั่งยืน สู่วิถีพอเพียง การลดความเสี่ยงจากการจัดบริการ

  19. คุ้มครองสิทธิสุขภาพชุมชนจากผลกระทบสิ่งแวดล้อม การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม สิ่งแวดล้อมกับสุขภาพ - ประเมินผลกระทบต่อสุขภาพในกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ เช่น โรงไฟฟ้า เหมืองแร่ เป็นต้น - การป้องกันและลดผลกระทบต่อสุขภาพจากปัญหาหมอกควัน

  20. รวมพลังอาหารปลอดภัย ส่งเสริม ครัวไทยเป็นครัวโลก พัฒนาและส่งเสริมยกระดับการรับรองสถานที่จำหน่ายอาหาร ส่งเสริมพัฒนาคุณภาพน้ำปลอดภัย การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม สิ่งแวดล้อมกับเขตเมือง - สร้างระบบการควบคุม กำกับ ดูแล ความปลอดภัยด้านอาหาร เพื่อสร้างความเชื่อมั่นให้กับชาวต่างชาติต่อระบบการจัดการด้านอาหารของประเทศไทย - ประชาชนได้รับการบริโภคอาหารที่ปลอดภัย - ประชาชนได้รับการบริโภคน้ำที่สะอาด ปลอดภัย - ลดความเสี่ยงการเจ็บป่วยจากโรคที่เกิดจากน้ำเป็นสื่อ

  21. พัฒนาส้วมสาธารณะ สาธารณสุขรวมใจ รณรงค์ลดโลกร้อน การพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม สุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม - พัฒนาส้วมสาธารณะได้มาตรฐาน HAS ในสถานที่ต่างๆ โดยเฉพาะ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ ได้แก่ โรงเรียนปอเนาะ - เพิ่มความครอบคลุมส้วมห้อยขามากขึ้น - พัฒนาสถานบริการสาธารณสุขต้นแบบลดโลกร้อน

  22. เตรียมความพร้อมเข้าสู่ประชาคมอาเซียน AEC - มุ่งเน้นยุทธศาสตร์การดำเนินงานด้านอนามัยแม่และเด็ก ให้รองรับการดำเนินงานร่วมกับประเทศในภูมิภาคอาเซียน

  23. โครงการเมืองสุขภาพดี ในเขตพื้นที่สาธารณสุขที่ 3 และ 9

  24. องค์ประกอบสู่ “เมืองสุขภาพดี”

  25. ประชาชนทุกกลุ่มวัยมีทักษะในการส่งเสริมสุขภาพของตนเอง สามารถมีชีวิตที่ยืนยาวอย่างมีคุณภาพ แนวคิด เมืองสุขภาพดี แม่และเด็ก ● การขาดออกซิเจนในทารกแรกเกิดไม่เกิน 30 ต่อพันการเกิดมีชีพ ● ทารกแรกเกิดมีน้ำหนักตัวน้อยกว่า 2,500 กรัมไม่เกินร้อยละ 7 ● ทารกกินนมแม่อย่างเดียวอย่างน้อย 6 เดือนเพิ่มขึ้นร้อยละ 2.5 ● อัตราการตายของมารดาไม่เกิน 18 ต่อแสนการเกิดมีชีพ อปท.: สิ่งแวดล้อม Clean & Green ● พ.ร.บ. การสาธารณสุข พ.ศ. 2535 เด็ก 0-5 ปี มีพัฒนาการทางสติปัญญาสมวัย ร้อยละ 90 เด็กอายุ 3 ปี ปราศจากโรคฟันผุไม่น้อยกว่าร้อยละ 41 ชุมชน โรงเรียน ● ร้านอาหาร ตลาดสด สวนสาธารณะ สุขา ● ศูนย์เด็กเล็ก ● โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ● วัด/ศาสนสถาน วัยทำงาน ● รอบเอวปกติในผู้ชายร้อยละ 80 , ผู้หญิงร้อยละ 50 ● กลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน ป่วยเป็นเบาหวานไม่เกินร้อยละ 5 วัยเรียน ● ตั้งแต่ ป.1 มีส่วนสูงตามเกณฑ์ร้อยละ 80 มีรูปร่างสมส่วนร้อยละ 77 ● นักเรียน อายุ 12 ปีขึ้นไป ปราศจากโรคฟันผุไม่น้อยกว่าร้อยละ 45 สาธารณสุข ● รพ.ส่งเสริมสุขภาพ ● รพ.สายใยรักแห่ง ครอบครัว ● คลินิกวัยรุ่น ● DPAC วัยสูงอายุ ● มีฟันใช้เคี้ยวอาหารได้ อย่างเหมาะสมไม่น้อย กว่าร้อยละ 52 วัยรุ่น แม่อายุน้อยกว่า 20 ปีลดลง

  26. เมืองสุขภาพดี กรอบการพัฒนาสู่ “ เมืองสุขภาพดี ” ศูนย์อนามัยที่ 3 หน่วยงานภาครัฐ ท้องถิ่น ภาคประชาชน เครือข่ายสุขภาพ เสริมสร้างความเข้มแข็ง เยี่ยมเสริมพลัง ติดตามประเมินรับรองฯ พัฒนาเกณฑ์มาตรฐาน

  27. ร้อยเรียง ทุกเรื่อง ทุกกลุ่มวัย ร่วมกันขับเคลื่อน ก้าวสู่เป้าหมายร่วมกัน

More Related