1 / 39

โรคอ้วนลงพุง

Metabolic syndrome. โรคอ้วนลงพุง. ทีมดูแลเบาหวานโรงพยาบาลอุดรธานี. โรคอ้วนลงพุง. คืออะไร? สาเหตุ? การวินิจฉัย? พบมากน้อย? เป้าหมาย และ แนว ทางการรักษา. โรคอ้วนลงพุง. กลุ่มความผิดปกติที่เป็นปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจและ หลอดเลือดสมอง อ้วนลงพุง

hope
Download Presentation

โรคอ้วนลงพุง

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Metabolic syndrome โรคอ้วนลงพุง ทีมดูแลเบาหวานโรงพยาบาลอุดรธานี

  2. โรคอ้วนลงพุง • คืออะไร? • สาเหตุ? • การวินิจฉัย? • พบมากน้อย? • เป้าหมายและ แนวทางการรักษา

  3. โรคอ้วนลงพุง กลุ่มความผิดปกติที่เป็นปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจและ หลอดเลือดสมอง • อ้วนลงพุง • ระดับไขมันในเลือดสูง • ความดันโลหิตสูง • ระดับน้ำตาลในเลือดสูง • ปัจจัยที่เพิ่มความเสี่ยง หลอดเลือดอุดตันและอักเสบ

  4. ชื่อเรียกต่างๆของ Metabolic Syndrome โรคอ้วนลงพุง • 2531 Syndrome X ( Reaven ) • 2532 Deadly quartet ( Kaplan ) • 2535 Insulin resistance syndrome ( Defronzo ) • 2537 Metabolic syndrome ( Alberti ) • 2541 Metabolic syndrome (WHO ) • 2544 Metabolic syndrome (NCEP III ) • 2548 Metabolic syndrome (IDF/AHA ) • 2549 Metabolic syndrome (IDF) โรคอ้วนลงพุง

  5. สาเหตุของ Metabolic Syndrome โรคอ้วนลงพุง • น้ำหนักเกิน หรือ อ้วน • ไม่ออกกำลังกาย • กรรมพันธุ์ • ภาวะดื้ออินซูลิน • สาเหตุของเบาหวาน • ไขมันชนิดดีHDL-C ต่ำ • ไขมัน Triglyceride สูง • ความดันโลหิตสูง • อ้วนลงพุง NCEP ATP III. Circulation. 2002;106:3143-3421.

  6. ภาวะดื้อต่ออินซูลิน: แกนหลักของสาเหตุ Metabolic Syndrome โรคอ้วนลงพุง Hypertension Dysfibrinolysis Hyperglycemia ภาวะดื้อต่อ อินซูลิน Macrovascular Disease Glucose Intolerance Dyslipidemia Obesity Endothelial Dysfunction Adapted from McFarlane SI, et al. J Clin Endocrinol Metab. 2001;86:713-718; Reusch JEB. Am J Cardiol. 2002;90(suppl):19G-26G.

  7. โรคอ้วนลงพุง:เริ่มจากอ้วนลงพุงโรคอ้วนลงพุง:เริ่มจากอ้วนลงพุง อ้วนลงพุง • FFA, • cytokines, adipokines Triglycerides  HDL ภาวะ ดื้อต่ออินซูลิน ความดันโลหิต น้ำตาลในเลือด เบาหวาน โรคหลอดเลือดหัวใจ

  8. โรคอ้วน • Android obesity ( apple shape ) visceral fat (ไขมันในช่องท้อง) • Gynoidobesity ( pear shape ) Subcutaneous fat (ไขมันใต้ผิวหนัง)

  9. ไขมันในช่องท้อง ไขมันใต้ผิวหนัง

  10. เส้นวัดรอบพุงช่วยบอกไขมันในช่องท้องเส้นวัดรอบพุงช่วยบอกไขมันในช่องท้อง ผู้ชาย > 40 นิ้ว> 36 นิ้วหรือ 90 ซม. (เอเชีย) ผู้หญิง > 35 นิ้ว> 32 นิ้วหรือ 80 ซม. (เอเชีย) inch

  11. เกณฑ์การวินิจฉัยต่างๆเกณฑ์การวินิจฉัยต่างๆ • WHO2542 • EuropeanGroupfortheStudyofInsulinResistance (EGIR) 2542 • NCEPATPIII2544 • AmericanCollegeofEndocrinology (ACE) 2545 • InternationalDiabetesFederation (IDF) 2548 • AmericanHeartAssociation (AHA) ร่วมกับ NationalHeartLungandBloodInstitutes (NHLBI) 2548 • InternationalDiabetesFederation (IDF) 2549

  12. เกณฑ์ของ NCEPATPIII การวินิจฉัย metabolicsyndrome จะต้องมีความผิดปกติอย่างน้อย 3 ข้อใน 5 ข้อต่อไปนี้ 1.  อ้วนลงพุง (เส้นรอบเอว≥ 102 ซม.หรือ 40 นิ้วในผู้ชาย หรือ ≥ 88 ซม.หรือ 35 นิ้วในผู้หญิง) 2.  ระดับไตรกลีเซอไรด์ในเลือด ≥ 150 มก./ดล. 3.  ระดับ เอช-ดี-แอลโคเลสเตอรอล ≤ 40 มก./ดล.ในผู้ชาย หรือ ≤ 50 มก./ดล.ในผู้หญิง 4.  ความดันโลหิต ≥ 130/85 มม.ปรอท หรือรับประทานยาลดความดันโลหิตอยู่ 5.  ระดับน้ำตาลในเลือดขณะอดอาหาร ≥ 110 มก./ดล.

  13. IDF/AHA 2549Metabolic Syndrome อ้วนลงพุง (วัดรอบเอว ผู้ชาย >90 ซม.ผู้หญิง >80 ซม. )บวกกับมีปัจจัยเสี่ยงอื่นอีก≥2 ใน 4อย่างต่อไปนี้ 1. Triglyceride ≥ 150 mg/dl 2. HDL-C <40 mg/dl (ผู้ชาย) <50 mg/dl (ผู้หญิง) 3. ความดันโลหิต≥ 130 /85 mm/Hg 4. ระดับน้ำตาลในเลือดขณะอดอาหาร≥ 110 mg/dl หรือรู้ว่าเป็นเบาหวาน

  14. ระบาดวิทยาของMetabolic Syndromeโรคอ้วนลงพุง

  15. ความชุกของส่วนประกอบต่างๆความชุกของส่วนประกอบต่างๆ *US adults age 20 and over (NHANES III,1988-94) • อ้วนลงพุง 39% • ไขมันTriglycerideสูง30% • ไขมัน HDL cholesterol ต่ำ37% • ความดันโลหิตสูง หรือกำลังรักษา34% • น้ำตาลในเลือดสูง หรือกำลังรักษา13% • > 1 71% • >2 44% • >3 24% (~45% of people age 50-70 years) Ford et al. JAMA;287:356-9,2545

  16. โรคอ้วนลงพุง ในประเทศไทย

  17. ความชุกของส่วนประกอบต่างๆความชุกของส่วนประกอบต่างๆ • โรคอ้วน (BMI > 30 kg/m2)ร้อยละ 38.2 • โรคความดันโลหิตสูงร้อยละ 34.2 • ภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ (TG>200 มก./ดล. หรือHDL< 40 มก./ดล.)ร้อยละ 29.4 • ผู้ที่มีประวัติเป็นโรคเบาหวานขณะตั้งครรภ์หรือ เคยคลอดบุตรมีน้ำหนักเกิน 4 กิโลกรัมร้อยละ 17.9 • ผู้ที่มีประวัติครอบครัวสายตรงเป็นโรคเบาหวาน ร้อยละ 14.1 การศึกษาในผู้ที่มีความเสี่ยงในการเกิดโรคเบาหวานที่อายุมากกว่า 20 ปีขึ้นไป จำนวน 1623 คนทั่วประเทศ อายุเฉลี่ย 43 ปี

  18. ความชุกของ โรคอ้วนลงพุง • NCEP ATPIII ความชุกของ Metabolic Syndrome ในคนไทยกลุ่มเสี่ยงสูง = 24.1 % (ผู้ชาย22.2% and ผู้หญิง24.7% ) • WHO Asian Guideline( Male > 90 cm, Women > 80 cm ) ความชุกของ Metabolic Syndrome ในคนไทยกลุ่มเสี่ยงสูง = 33.3 % ( ผู้ชาย36.0% and ผู้หญิง32.6% ) การศึกษาในผู้ที่มีความเสี่ยงในการเกิดโรคเบาหวานที่อายุมากกว่า 20 ปีขึ้นไป จำนวน 1623 คนทั่วประเทศ อายุเฉลี่ย 43 ปี

  19. ความชุกของ โรคอ้วนลงพุง • NCEP ATPIII พบความชุก= 21.9 % • WHO Asian Guideline( Male > 90 cm, Women > 80 cm ) พบความชุก= 29.3 % การศึกษา Interasia ในประชากรไทยทั่วประเทศที่อายุตั้งแต่ 35 ปีขึ้นไปจำนวน 5,091 ราย

  20. ความชุกของ โรคอ้วนลงพุง • NCEP ATPIII ความชุกของ Metabolic Syndrome = 16.4 % (ชาย18.2 % and หญิง9.4 % ) • NCEP ATPIII Asian Guideline( Male > 90 cm, Women > 80 cm ) ความชุกของ metabolic syndrome = 21.5 % ( ชาย21.5 % and หญิง13.7 % ) การศึกษาในพนักงานการไฟฟ้าฝ่ายผลิตในกรุงเทพ ปี พ.ศ.2538 อายุ 35-54 ปี จำนวน 3499 ราย

  21. Pongchaiyakul et al: 2005

  22. โรคอ้วนลงพุงและอัตราตายโรคอ้วนลงพุงและอัตราตาย • Population based, prospective 1209 Finnish men aged 42-60 year at baseline (1984-9), follow-up through December 1998 • ความเสี่ยงNCEP III WHO โรคหลอดเลือดหัวใจ 2.9 (1.2-7.2)4.2(1.6-10.8) โรคหลอดเลือดสมอง 2.6 (1.4-5.1)3.0 (1.5-5.7) อัตราตายรวม 1.9 (1.2-3.0)2.1(1.3-3.3) Lakka. JAMA 2002;288:2709-16

  23. เป้าหมายการรักษา โรคอ้วนลงพุง • ป้องกันโรคหลอดเลือดหัวใจและ โรคหลอดเลือดสมองอุดตัน • ป้องกันการเป็นเบาหวาน

  24. หลักการการรักษา โรคอ้วนลงพุง • ลดสาเหตุที่ทำให้เกิด อ้วน และ ภาวะดื้อต่ออินซูลิน • รักษาปัจจัยเสี่ยงร่วมต่างๆ ความดันโลหิตสูง ระดับน้ำตาลในเลือดสูง ระดับไขมันในเลือดสูง

  25. หลักการการรักษา โรคอ้วนลงพุง • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม - การควบคุมอาหาร - การออกกำลังกายสม่ำเสมอ • การใช้ยา -ยาเพิ่มความไวต่ออินซูลิน - ยาลดน้ำหนัก - ยาลดความดัน - ยาลดไขมัน - ยาต้านเกล็ดเลือด

  26. การลดน้ำหนัก • ให้ลดพลังงานจากอาหารที่รับประทาน ประมาณวันละ 500-1,000 แคลอรี่ • เป้าหมายการลดน้ำหนัก ให้ลดอย่างน้อยร้อยละ 5-10 ในช่วง 6-12 เดือน • ทำให้ปัจจัยเสี่ยงต่างๆของโรคหัวใจและหลอดเลือดได้แก่ ระดับน้ำตาลในเลือด ความดันโลหิต ระดับไตรกลีเซอไรด์ ระดับเอช-ดี-แอลดีขึ้น • ในผู้ป่วยโรคอ้วนลงพุง ที่มีเบาหวานแฝงพบว่าการลดน้ำหนักโดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเป็นเวลาประมาณ 3 ปี สามารถป้องกันการเกิดโรคเบาหวานได้

  27. การออกกำลังกาย • ช่วยลดน้ำหนักตัวและทำให้ปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดดีขึ้น • การรักษาน้ำหนักให้คงเดิม ควรออกกำลังกายชนิดที่ชื่นชอบ สัปดาห์ละ 3 วัน วันละไม่น้อยกว่า 30 นาที • การลดน้ำหนัก ควรออกกำลังกายแบบแอโรบิกต่อเนื่อง ไม่น้อยกว่า 45 นาที อย่างน้อยสัปดาห์ละ 5 วัน ด้วยความแรงของการออกกำลังกายที่เหมาะสม (moderateintensity) • การลดไขมันหน้าท้อง ซิทอัพ วันละไม่น้อยกว่า 150 ครั้ง

  28. ขอบคุณครับ

More Related