1 / 10

ปัญหาการวิจัย - การใช้สื่อการเรียนการสอนที่ไม่เพียงพอ - การบริหารงานด้านการ เรียน การสอน

ศึกษาประสิทธิภาพการผลิตสื่อ จานรับสัญญาณดาวเทียมแบบเคลื่อนที่ ระบบเค ยู แบนด์ ประกอบการสอนวิชาสายส่งสายอากาศ ชาติชาย สุวรรณ ชัญ Chartchai Suwanachan วิทยาลัยเทคโนโลยีลำปาง( แลมป์ - เทค ) Lampang Techonlogy College ( Lamp-Tech ) ถนน วชิราวุธดำเนิน ตำบลพระบาท อำเภอเมือง จังหวัดลำปาง.

Download Presentation

ปัญหาการวิจัย - การใช้สื่อการเรียนการสอนที่ไม่เพียงพอ - การบริหารงานด้านการ เรียน การสอน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ศึกษาประสิทธิภาพการผลิตสื่อ จานรับสัญญาณดาวเทียมแบบเคลื่อนที่ ระบบเคยูแบนด์ประกอบการสอนวิชาสายส่งสายอากาศ ชาติชาย สุวรรณชัญ ChartchaiSuwanachan วิทยาลัยเทคโนโลยีลำปาง(แลมป์-เทค) LampangTechonlogy College (Lamp-Tech) ถนน วชิราวุธดำเนิน ตำบลพระบาท อำเภอเมือง จังหวัดลำปาง

  2. ปัญหาการวิจัย - การใช้สื่อการเรียนการสอนที่ไม่เพียงพอ - การบริหารงานด้านการเรียนการสอน - ขั้นตอนการดำเนินงานด้านต่างๆที่เกี่ยวข้อง

  3. วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาประสิทธิภาพของการผลิตสื่อจานรับสัญญาณดาวเทียมแบบเคลื่อนที่ ระบบเคยูแบนด์โดยใช้กระทะหรือฝาหม้อหุงข้าวประกอบการเรียนการสอนวิชาสายส่งสายอากาศ ขอบเขตของการศึกษาวิจัย

  4. ตาราง แสดงประสิทธิภาพของการใช้สื่อ จานรับสัญญาณดาวเทียมแบบเคลื่อนที่ ระบบเคยูแบนด์ โดยใช้กระทะหรือฝาหม้อหุงข้าว โดยผู้บริหารหัวหน้าและนักศึกษา

  5. สรุป พบว่าผลการประเมินสื่อเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน เรื่อง “ ชุดติดตั้งจานรับสัญญาณดาวเทียมแบบเคลื่อนที่ ระบบเคยูแบนด์โดยภาพรวมสื่อมีระดับคุณภาพดีมาก ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.49 คะแนน เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า ครูเป็นผู้สร้างสื่อประกอบการเรียนการสอนด้วยตนเองสื่อช่วยให้เข้าใจในบทเรียนได้ง่ายขึ้นสื่อสร้างความสนใจให้กับผู้เรียนสื่อสะท้อนให้เห็นความพยายามและความตั้งใจของครูผู้สอนสื่อสะท้อนให้เห็นความคิดสร้างสรรค์ของครูผู้สอนอยู่ในระดับดีมากค่าเฉลี่ยอยู่ในช่วง 4.40 – 5.00 คะแนน และสื่อยังสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่จะสอนและมีการประเมินผลงานโดยผู้บริหารหัวหน้าแผนกและผู้เรียน

  6. -4- ข้อดีของสื่อชิ้นนี้ 1. ช่วยให้ผู้เรียนเรียนรู้ได้ง่ายและเข้าใจได้ชัดเจน 2. เป็นสื่อประกอบการเรียนการสอนให้ผู้เรียนได้เห็นของจริงและสามารถ ปฏิบัติตาม ขั้นตอนต่างๆ ได้อย่างถูกต้อง 3. สามารถนำสื่อที่ผลิตได้ไปประยุกต์ใช้งานร่วมกับรายวิชาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องได้ 4. ผู้เรียนเรียนรู้เองและปฏิบัติได้ด้วยตนเอง นวัตกรรมการเรียนการสอน จานรับสัญญาณดาวเทียมแบบเคลื่อนที่ ระบบ KU-BAND โดย... นายชาติชาย สุวรรณชัญ ครูผู้สอน สาขาช่างอิเล็กทรอนิกส์และเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ วิทยาลัยเทคโนโลยีลำปาง (แลมป์-เทค) ข้อควรระวังในการใช้สื่อ ด้านโครงสร้างของสื่อยังไม่แข็งแรงพอ เมื่อมีการเคลื่อนย้ายต้องระมัดระวัง หากโครงสร้างเปลี่ยนไปจากเดิม จะทำให้การรับสัญญาณภาพคุณภาพด้อยลง หรืออาจจะรับสัญญาณภาพไม่ได้เลย ข้อเสนอแนะนำต่อยอด มีแนวทางการพัฒนารูปแบบด้านโครงสร้างให้มีรูปแบบที่กะทัดรัด พับเก็บได้ ง่ายต่อการใช้งาน และสามารถพกพาไปในที่ต่าง ๆ ได้สะดวก

  7. -3- -2- ขั้นตอนการสร้างสื่อ หลักการและเหตุผล กระทรวงศึกษาธิการได้ให้ความสำคัญ และส่งเสริมให้ครูผู้สอนจะต้องมีการค้นคว้า เพื่อหาความรู้หรือวิธีการใหม่ ๆ ที่นำไปประยุกต์ใช้กับสภาพการณ์ของการเรียนการสอนและพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอน รวมทั้งการแก้ปัญหาการเรียนการสอน สื่อการสอนเป็นตัวกลางซึ่งมีความสำคัญในกระบวนการเรียนการสอน ครูผู้สอนจะต้องมีการสร้างสรรค์สื่อ ทำหน้าที่นำความต้องการของครูไปสู่ผู้เรียนอย่างถูกต้องและรวดเร็ว เป็นผลให้ผู้เรียนเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมไปตามจุดมุ่งหมายการเรียนการสอนได้อย่างถูกต้องเหมาะสม และยังช่วยส่งเสริมให้ผู้เรียนได้ทำกิจกรรมอย่างหลากหลาย เป็นการเปิดโอกาสให้ได้เรียนรู้ตามความความสามารถของตนเอง และสามารถช่วยพัฒนาการเรียนการสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพ เจาะรูตรงกลางที่ก้นกระทะ เพื่อล็อกให้เข้ากับฐานด้วยน้อตเบอร์ 10 วิธีการล็อกปรับมุมก้มเงยและมุมส่าย วัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาประสิทธิภาพการผลิตสื่อ จานรับสัญญาณดาวเทียมแบบเคลื่อนที่ระบบ KU-BAND โดยใช้กระทะหรือฝาหม้อหุงข้าว 2. เพื่อพัฒนารูปแบบการใช้สื่อจานรับสัญญาณดาวเทียมแบบเคลื่อนที่ ระบบ KU-BAND โดยใช้กระทะหรือฝาหม้อหุงข้าว การปรับระยะโฟกัสระหว่าง LNB กับก้นกระทะคำนวณจากสูตรระยะโฟกัส = เส้นผ่าศูนย์กลาง * ส้นผ่าศูนย์กลาง 16*ความลึกของหน้าจาน หมายเหตุ ทิศการปรับหัว LNB ให้ปรับหัว F-type ไปที่ 4.30 น. ใช้เหล็กรูรัดประกบระหว่างเสากับเหล็กฉาก และใช้เหล็กรูอีก1อันปรับมุมก้มเงยเพื่อให้การปรับเลื่อนขึ้นลงได้อย่างอิสระ จนสามารถรับสัญญาณได้หลังจากนั้นจึงทำการล็อกให้แน่น อุปกรณ์ที่ใช้ในการผลิตสื่อ 1. กระทะ หรือ ฝาหม้อ 2. หัว LNB 3. รีซีพเวอร์ 4. สาย RG 6 5. หัว F-type 6. เหล็กรู 7. เหล็กฉาก 8. น้อต 9. สายรัด การตั้งค่าความถี่ 1. ค่า LNB แบบ single 11300 และแบบ universal 10600 – 10750 – 09750 2. ค่า ความถี่ 12123/30000/Hและ 12164/30000/Hและ12206/30000/H 3. ค่าความถี่ 12272/30000/Hและ 12355/30000/Hและ 12323/30000/H สำหรับมุมก้มเงยประมาณ 50 องศา มุมส่าย ประมาณ 231 องศา โดยการสังเกตแถบค่า Strength ถ้าเป็นสีเขียว ไม่ขึ้นแสดงว่ามีปัญหาที่หัว LNBหรือเป็นที่สายต่อ F-type ถ้ามีค่าขึ้นแล้วให้สังเกตค่า Quality ของสัญญาณ จะต้องขึ้นถ้าไม่ขึ้นให้ปรับมุมส่ายและมุมก้มเงยจนกว่าค่า Quality ของสัญญาณ จะขึ้นซึ่งจะมีระดับสัญญานอยู่ 3 ระดับ 1. ระดับสัญญาณต่ำ จะเป็นสีแดง 2. ระดับสัญญาณที่รับได้ จะเป็นสีเหลือง3. ระดับสัญญาณที่รับได้ดีมาก จะเป็นสีเขียว

  8. http://www.youtube.com/watch?v=wLiYMnPloq4

More Related